งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Service Plan สาขาโรคมะเร็ง.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Service Plan สาขาโรคมะเร็ง."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Service Plan สาขาโรคมะเร็ง

2 10 อันดับมะเร็งรายใหม่ เขต 2
Total Male Female ข้อมูลจาก TCB จะยังไม่ 100% เนื่องจากบางจังหวัดยังบันทึกข้อมูลไม่ครบ แหล่งที่มาข้อมูลจาก

3 10 อันดับโรคมะเร็งสาเหตุการเสียชีวิต เขต 2
แหล่งที่มาข้อมูลจาก สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ปี 2559

4 การดำเนินงานปี 2560 Quick win เป้าประสงค์
ลดระยะรอคอยการรักษา มะเร็ง 5 โรคหลัก ลดอัตราตายมะเร็งตับ ปอด เป้าประสงค์ พัฒนาสารสนเทศโรคมะเร็ง Quick win ผ่าตัดหลังได้ผลชิ้นเนื้อภายใน 4 wks ได้เคมีบำบัด ภายใน 6 wks ได้รังสีรักษาภายใน 6 wks การดำเนินงาน -โครงการลดบุหรี่และสุราเพื่อลดอุบัติการณ์มะเร็งตับและปอดรายใหม่ -รณรงค์คัดกรองเพิ่มศักยภาพการตรวจคัดกรองด้วยวิธี CBE ในมะเร็งเต้านม ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพสถานบริการในการดูแลผู้ป่วยมะเร็ง โดยจัดหาครุภัณฑ์และบุคลากรเพื่อลดระยะรอคอยการรักษา โครงการอบรมหลักสูตรการจัดทำทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล โดยใช้โปรแกรม Thai Cancer Based (TCB)

5

6 MAPPING

7 MAPPING ลำปาง ขอนแก่น พิจิตร ลพบุรี พื้นที่บริการ (Area Based)
Competency Based การวางแผนระบบส่งต่อผู้ป่วยโรคมะเร็ง ลำปาง ขอนแก่น พิจิตร ลพบุรี

8 โรงพยาบาลนเรศวร /อุตรดิตถ์/ และโรงพยาบาลพุทธชินราช
Hepatectomy Biliary Bypass Whipple’s Operation Radical Choleystectomy Abdominal Pelvic Extenteration Radical gastrectomy Esophagectomy Radical neck dissection Laryngectomy การผ่าตัดที่มีความซับซ้อนของมะเร็งลำไส้และทวารหนัก เนื่องจากโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นโรงพยาบาลแห่งเดียวในภาคเหนือตอนล่าง ที่มีแพทย์เฉพาะทางในการผ่าตัดลำไส้ใหญ่ และ ทวารหนัก

9 จังหวัดที่รับส่งต่อผู้ป่วยโรคมะเร็งนรีเวชวิทยา
โรงพยาบาล จังหวัดที่รับส่งต่อผู้ป่วยโรคมะเร็งนรีเวชวิทยา พุทธชินราช พิษณุโลก, ตาก, สุโขทัย, เพชรบูรณ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร กำแพงเพชร, อุทัยธานี อุตรดิตถ์ การผ่าตัดทางนรีเวช ปัจจุบันผู้ป่วยมะเร็งนรีเวชวิทยามาจากในเขตจังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดเขต 2 ที่ไม่มีแพทย์มะเร็งนรีเวชวิทยา เช่น พิษณุโลก สุโขทัย ตาก เพชรบูรณ์ ยกเว้นอุตรดิตถ์ที่มีแพทย์มะเร็งนรีเวชวิทยา

10 Gyne-Onco Nuclear-MED

11 รพ.ลูกข่าย Single Pathway Fax Start Treatment At First Visit

12 ระดับความสำเร็จของการทำทะเบียนมะเร็ง (Cancer Registry)
1. Thai Cancer Based ในพื้นที่ 3 จังหวัดจังหวัดสุโขทัย ตากและเพชรบูรณ์ (ส่วนจังหวัดอุตรดิตถ์ ละพิษณุโลก จะจัดอบรมให้ครบ 100 % ในปี 2560)

13 Cancer Informatics อบรมการทำทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล โดยใช้โปรแกรม TCB ครบ 100 % (จัดอบรม 1-2 มีนาคม 2560)

14 ฐานข้อมูลเดียวกกัน ทั้งประเทศ

15 2. มีการทำทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล และมีข้อมูลขึ้น web ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก

16 ผลการดำเนินงานตาม Service Plan สาขาโรคมะเร็ง
ไตรมาสที่ 2 ปี 2560 (1 ตุลาคม มีนาคม 60) เป้าประสงค์ ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด พิษณุโลก รวม เป้าประสงค์ที่2 ลดอัตราป่วย สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะ ที่ 1 และ ระยะที่ 2 รวมกัน 70% เป้าหมาย 83 311 ผลงาน 53 158 ร้อยละ 66.87 57.52 สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกระยะ ที่ 1 และ ระยะที่ 2 รวมกัน  70% 69 123 39 68.65 56.10 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ร้อยละของการจัดกิจกรรมตามแผนป้องกันและรณรงค์ เพื่อหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่อโรคมะเร็ง 80% 157 498 486 100 92.66 ยุทธศาสตร์ที่2 2.1 ร้อยละของประชากรสตรีกลุ่มเป้าหมาย (อายุ ปี) ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านม (80%) 181,372 725,109 ผลงาน (ราย) 120,776 433,022 66.60 61.62 2.2 ร้อยละของประชากรสตรีกลุ่มเป้าหมาย(อายุ ปี) ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (สะสม40%) 149,361 591,135 60,771 247,286 40.70 43.33

17 เป้าประสงค์ ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด พิษณุโลก รวม ยุทธศาสตร์ที่ 3
พิษณุโลก รวม ยุทธศาสตร์ที่ 3 3.ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา ≤ 2 สัปดาห์ (≥80%) เป้าหมาย 685 1,486 ผลงาน (ราย) 499 1,285 ร้อยละ 65.55 91.43 4.ร้อยละของผู้ป่วยที่ Refer ออกนอกเขตสุขภาพ เพื่อทำการตรวจวินิจฉัย (Cancer Diagnosis) โรคมะเร็ง (ลดลง ≥50%) 82 78 5.13% ยุทธศาสตร์ที่ 4 5.1 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ (≥80%) (PA สป.สธ.) 662 1134 356 725 53.78 72.80 5.2 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ (≥80%) (PA สป.สธ.) 281 654 209 532 74.38 84.76 5.3 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยรังสีรักษาภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ (≥80%) (PA สป.สธ.) 261 649 244 616 93.50 95.02

18 (ตีพิมพ์) 5(research center)
เป้าประสงค์ ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด พิษณุโลก รวม ยุทธศาสตร์ที่ 4 (ต่อ) 6.ร้อยละของผู้ป่วยที่ Refer ออกนอกเขตสุขภาพเพื่อทำการรักษา (Cancer Treatment) โรคมะเร็ง (ลดลง ≥50%) เป้าหมาย 12 281 ผลงาน (ราย) 503 ลดลงร้อยละ 100 69.09 ยุทธศาสตร์ที่ 5 7. ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ได้รับการดูแลแบบประคับ ประคอง (Palliative Care) (≥80%) 187 902 ผลงาน 780 ร้อยละ 86.47 8.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการจัดการระบบสนับสนุนการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 4 ระดับ 5 ผลงาน (ระดับ) 3 ระดับ 4 ยุทธศาสตร์ที่ 6 9.ระดับความสำเร็จของการทำทะเบียนมะเร็ง (Cancer Registry) ระดับ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 7 10.ระดับความสำเร็จของการจัด ตั้ง Research Center และ ผลิตผลงานวิจัย 5 2 ระดับ 2 ยุทธ 6: 3 (บันทึกเข้า TCB), 4 (ทำรายงานประจำปี),5 (วางแผนการรักษา วิจัย pop base,cancer in Thai ยุทธ 7 , 1(มีแผนทำวิจัย) 2(ระหว่างขอ IRB ) 3(ดำเนินงาน) 4 (ตีพิมพ์) 5(research center)

19 Cancer Treatment ส่งบุคลากร แพทย์ พยาบาลและเจ้าหน้าที่ด้านโรคมะเร็งเข้าอบรมเพื่อเพิ่มศักยภาพการรักษาโรคมะเร็ง เช่น โครงการพัฒนาศักยภาพ CNC (Cancer Nurse Coordination) ใน รพศ. รพท. ครบ 100% ทั้งเขตสุขภาพ, อบรมเคมีบำบัดสำหรับแพทย์ เภสัชกร และพยาบาล 2. จัดอบรมหลักสูตรพยาบาลฉีดยาเคมีบำบัด หลักสูตร 10 วัน โดยโรงพยาบาลพุทธชินราช จะจัดอบรมรุ่นแรก ภาคทฤษฎี วันที่ 2-6 ตุลาคม 2560 ภาคปฏิบัติ รุ่นที่ 1 วันที่ 9-13 ตุลาคม 2560 รุ่นที่ 2 วันที่ ตุลาคม 2560 3. พัฒนาระบบการส่งต่อในเขตสุขภาพ โดยแบ่งโซนการรับส่งต่อไปยัง โรงพยาบาลพุทธชินราช โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร และโรงพยาบาลอุตรดิตถ์ เพื่อลดระยะรอคอยผ่าตัด, เคมีบำบัด, รังสีรักษา ลดการส่งต่อออกนอกเขตสุขภาพ

20 ปัญหาและอุปสรรค การคัดกรอง มะเร็งเต้านม ยังไม่ได้ตามเป้าหมาย
สัดส่วนมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก ระยะแรก ระยะรอคอยการวินิจฉัย patho การส่งต่อผู้ป่วยออกนอกเขตสุขภาพเพื่อรักษา การวินิจฉัย เครื่องมือทาง Intervention ระหว่างดำเนินการ ตั้ง Unit

21 Cancer Health Promotion & Screening
อบรมรณรงค์คัดกรองเพิ่มศักยภาพการตรวจคัดกรองด้วยวิธี CBE ในมะเร็งเต้านม เขตสุขภาพที่ 2 วันที่ กุมภาพันธ์ 2560

22 ปัญหาและอุปสรรค มีความแออัดในโรงพยาบาลพุทธชินราช เนื่องจากเป็นศูนย์ความเชี่ยวชาญ สาขามะเร็ง รพศ.อุตรดิตถ์ (ศัลยกรรมซับซ้อน ENT Gyne-onco) ขาดบุคลากรเฉพาะทาง เช่น ศัลยแพทย์มะเร็งวิทยา Med onco ศัลยแพทย์ลำไส้ใหญ่และทวารหนัก ฟิสิกส์ นักรังสี ขาดคน กำลังอยู่ระหว่างดำเนินการพัฒนาและปรับเปลี่ยนระบบฐานข้อมูลมาใช้ Thai Cancer Base ทั้งเขตสุขภาพเพื่อเป็นแนวทางเดียวกัน ขาดคน

23 ปัญหาและอุปสรรค Nuclear Medicine เริ่มเปิดเต็มศักยภาพ
ทำแผนการรับ Case ทั้งเขต 2-3 ลดการ refer out รักษาและ วินิจฉัย

24 Thank you


ดาวน์โหลด ppt Service Plan สาขาโรคมะเร็ง.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google