ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยYenny Santoso ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
2
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ : The New Public Management : NPM
Globalization New Technology Economic Crisis Competitiveness Change Management Bureaucratic of Governance Big Organization High Financial burden Monopoly …
3
Public Administration
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ The New Public Management : NPM Public Administration Quality of life
4
Public Administration
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ The New Public Management : NPM Public Administration Quality of life Process
5
Quality of life แนวคิดสมัยใหม่ ยืดประชาชนเป็นศูนย์กลาง
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ The New Public Management : NPM แนวคิดสมัยใหม่ ยืดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ธรรมาภิบาล (Good Governance) Quality of life กระจายอำนาจ(Decentralization) มุ่งผลสัมฤทธิ์
6
เหตุผลที่ต้องนำแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เหตุผลที่ต้องนำแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้ กระแสโลกาภิวัตน์ บริบทสังคมโลกเปลี่ยนแปลง ระบบราชการไทยมีปัญหาที่สำคัญ ความเสื่อมถอยของระบบราชการ ขาดธรรมาภิบาล ต้องเพิ่มศักยภาพและความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนเพื่อตอบสนองความต้องการของระบบที่เปลี่ยนแปลงไป - ส่งผลบั่นทอนความสามารถในการแข่งขันของประเทศ - เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในอนาคตด้วย
7
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
ความหมาย การปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ นำหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการและการแสวงหาประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ นำเอาแนวทางหรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้กับการบริหารงานภาครัฐ เช่น 1. การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 2. การบริหารงานแบบมืออาชีพ
8
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ ( New Public Management ) : NPM
เป็นแนวคิดพื้นฐานของการบริหารจัดการภาครัฐอันจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ ของภาครัฐและยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ ที่เป็นรูปธรรม
9
การลดความเป็นระบบราชการ (Reducing the Bureaucracy)
1. แนวโน้มทำให้ภาครัฐปรับเข้าสู่ระบบตลาด (marketization) 2. แนวโน้มที่ภาครัฐจะไม่ใช้รูปแบบการจัดโครงสร้างแบบราชการ
10
ยกเครื่องระบบราชการ (Reinventing Government)
Osborne & Gaebler, ,รัฐบาลสหรัฐฯ ยุคคลินตัน การบริหารแบบผู้ประกอบการ 1. ต้องมีการส่งเสริมการแข่งขันระหว่างผู้ให้บริการ 2. ต้องมีการให้อำนาจแก่พลเมือง 3. ต้องมีการเน้นเป้าหมาย และภารกิจ 4. ต้องไม่มุ่งเน้นกฎเกณฑ์และระเบียบต่างๆ มากจนเกินไป 5. ต้องมีการให้คำจำกัดความผู้รับบริการ(ประชาชน) ใหม่ว่าเป็น “ลูกค้า” / ต้องเสนอทางเลือกต่างๆ ให้ 6. ต้องมีการป้องกันปัญหาก่อนที่จะเกิดขึ้น(รู้จักวิเคราะห์ความเสี่ยง) 7. ต้องมีการหาทางได้มาซึ่งรายได้ก่อน ไม่ใช่เอาแต่การใช้จ่าย 8. ต้องมีการกระจายอำนาจหน้าที่ขณะเดียวกันมีการเน้นการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการมากขึ้น 9. ต้องมีการให้ความสนใจเรื่องของ “กลไกตลาด” มากกว่า “กลไกของระบบราชการ” 10. ต้องมีการกระตุ้นให้ทุกภาคไม่ว่าภาครัฐ ภาคเอกชน รวมทั้งพวกอาสาสมัครร่วมกันแก้ไขปัญหาชุมชน
11
การพัฒนาระบบราชการอังกฤษ
- ยุค Margaret Thatcher ปี 1979 : Thatcherism - ลดขนาดราชการและเพิ่มประสิทธิภาพ - ลดภาระผู้เสียภาษีและดึงเอกชนมาจัดบริการ - สาเหตุจากเงินเฟ้อและค่าใช้จ่ายของภาครัฐ สูงถึง 49% ของ GDP
12
Thatcherism 1. เน้นประสิทธิภาพ (Efficiency)
- Fulton Recommendation – คณะ กก.ปฏิรูป - ยกเลิก Public Service Department - ลดจำนวนข้าราชการ - โครงการ Financial Management Initiative : FMI - ตั้ง Efficiency Unit – ส่งเสริม ประสิทธิภาพภาครัฐ
13
Thatcherism 2.การสร้างระบบตลาด (Commercialism)
นำหลักการสร้างระบบตลาดเข้ามาใช้ เช่น - กระทรวง/กรมต้องรับผิดชอบเรื่องการลงทุน - การปฏิรูประบบสาธารณสุขมูลฐาน ฯลฯ ล้วนนำหลัก Business-Like Management มาใช้
14
Thatcherism 3.การสร้าง Public Accountability
- สำหรับหน่วยราชการที่ไม่มีการแข่งขัน - เน้น Accountability ทางการเงิน – ความคุ้มค่า - มี Citizen’s Charter (กฎบัตรพลเมือง) เป็นสัญญาประชาคม ที่จะทำงานด้วยมาตรฐานและคุณภาพให้แก่ประชาชน
15
Tony Blair สานต่อนโยบายปฏิรูประบบราชการของ Conservative Party (Thatcher และ Major) - เงินอุดหนุนเอกชนในการทำงานภาครัฐ - สร้างจิตสำนึกผู้ประกอบการในภาครัฐ - การวัดผลงานในการบริหารภาครัฐ - การแทรกแซงหน่วยงานที่ทำงานล้มเหลว
16
Tony Blair 1. การแข่งขันระหว่างผู้ให้บริการ ซึ่งเน้นที่การใช้เงินที่ได้รับการจัดสรรจากส่วนกลาง - เช่น National Health Service : NHS - Public service provider / purchaser 2.การปรับปรุงคุณภาพการบริการโดยการจัด Rating เพื่อให้การเกิดการแข่งขันในการให้บริการระหว่างหน่วยงานของรัฐ/เอกชน / ภาคอื่นๆ
17
Tony Blair 3.รัฐบาลให้ความสำคัญกับผู้ใช้บริการและพลเมือง
- ให้พลเมืองเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนการให้บริการสาธารณะ - เช่น ให้ผู้แทนคนไข้ร่วมวางแผนบริการสุขภาพแห่งชาติ หรือ Citizen’s Charter 4.รัฐบาลสนใจควบคุมการทำงานของกลุ่มวิชาชีพและสหภาพแรงงาน - ใช้วิธีให้ควบคุมกันเอง - การประเมินและตรวจสอบจากภายนอกและภายในกลุ่มวิชาชีพ - Joined-up government ให้หน่วยงานของรัฐหลายๆ หน่วยงานร่วมกันให้บริการประชาชน - No wrong door (ประชาชนไม่มีวันเข้าประตูผิด) รัฐบาลจัดองค์การให้มีตัวแทนที่รู้ความต้องการของประชาชน ให้บริการประชาชนได้ทุกเรื่อง
18
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
19
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน (ประชาชนเป็นศูนย์กลาง) ประชาชนเป็นปัจจัยสำคัญ เป็นหัวใจของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ - การมุ่งให้บริการแก่ประชาชนไม่ใช่การกำกับ ข้าราชการจึงไม่เพียงแต่ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนแต่ต้องสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับประชาชนด้วย - การสำรวจความสนใจและความต้องการของสาธารณชน เพื่อสร้างความสนใจร่วมและรับผิดชอบร่วมกัน - การให้คุณค่าแก่ประชาชนในฐานะของการเป็นพลเมืองมากกว่าการเป็นผู้ประกอบการ โดยข้าราชการจะยอมรับที่จะเป็นผู้ช่วยเหลือสังคมมากกว่าการเป็นผู้จัดการธุรกิจที่คิดและทำเสมือนเงินหลวงเป็นเงินของตนเอง
20
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
มุ่งผลประโยชน์สาธารณะ ( Seek the Public Interest ) ต้องสร้าง แนวคิดร่วมกันในเรื่องผลประโยชน์สาธารณะ เป้าหมาย คือ การสร้าง ผลประโยชน์ร่วมกัน (shared interest) ผลประโยชน์สาธารณะ (public interest) เป็นผลสัมฤทธิ์ ของ การแชร์ค่านิยม (shared values) มากกว่าที่จะเป็นเรื่องผลประโยชน์ส่วนบุคคล (individual self-interests)
21
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
Governance (การจัดการปกครอง) การทำงานร่วมกับของภาครัฐ ภาคประชาสังคม NGOs อาสาสมัคร ชุมชน และ ภาคเอกชน ในลักษณะเครือข่าย (Network)
22
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
ลดการควบคุมจากส่วนกลาง และเพิ่มอิสระในการบริหารให้แก่หน่วยงาน (การกระจายอำนาจ)
23
ให้ความสำคัญกับการแยกและกระจายการบริการ
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ให้ความสำคัญกับการแยกและกระจายการบริการ
24
การจัดการโครงสร้างที่กะทัดรัดและแนวราบ
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การจัดการโครงสร้างที่กะทัดรัดและแนวราบ
25
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
การเปิดกว้างต่อแนวคิดในเรื่องของการแข่งขัน ทั้งการแข่งขันระหว่างหน่วยงานของรัฐด้วยกัน และระหว่างหน่วยงานของรัฐกับหน่วยงานของภาคเอกชน ในขณะเดียวกันภาครัฐก็หันมาทบทวนตัวเองว่าสิ่งใดควรทำเองและสิ่งใดควรปล่อยให้เอกชนทำ
26
ต้องมุ่งเน้นที่การบริหารจัดการ ไม่ใช่มุ่งเน้นไปที่นโยบาย
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ต้องมุ่งเน้นที่การบริหารจัดการ ไม่ใช่มุ่งเน้นไปที่นโยบาย
27
เน้นการจัดการตามแบบแผนของภาคเอกชน
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เน้นการจัดการตามแบบแผนของภาคเอกชน Christopher Hood (1991)
28
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
เน้นการจัดการตามแบบภาคเอกชน (Stress on private sector styles of management practice) มุ่งแสวงหา ที่ใช้ แนวทางของภาค เอกชนและธุรกิจ (private sector and business approaches) ในการบริหารภาครัฐ กล่าวง่ายๆว่า เป็น “การบริหารรัฐบาลเฉกเช่นเดียวกันธุรกิจ” (run government like a business)
29
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
เน้นการใช้ระบบกึ่งตลาด และการจ้างเหมาบริการภายนอกให้หน่วยงานในภาคเอกชนดำเนินการ ภาครัฐจะต้องลดบทบาทลงโดยการจ้างภาคเอกชนดำเนินการแทน (Out Sourcing)
30
การเปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามาแข่งขันการให้บริการสาธารณะ
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การเปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามาแข่งขันการให้บริการสาธารณะ
31
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
การกำหนด การวัด และการให้รางวัลแก่ผลการดำเนินงานทั้งในระดับองค์กร และระดับบุคคล
32
มีมาตรฐานและ การวัดผลงานที่ชัดเจน
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) มีมาตรฐานและ การวัดผลงานที่ชัดเจน Christopher Hood (1991)
33
เน้นการควบคุมผลผลิต (output controls)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เน้นการควบคุมผลผลิต (output controls) Christopher Hood (1991)
34
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
เน้นการควบคุมผลผลิตที่มากขึ้น (Greater emphasis on output controls) การใช้ทรัพยากรต้องเป็นไปตามผลงานที่วัดได้ เพราะเน้นผลสำเร็จมากกว่าระเบียบวิธี
35
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
การเปลี่ยนระบบราชการที่เน้นระเบียบและขั้นตอนไปสู่การบริหารแบบใหม่ เน้นผลสำเร็จและความรับผิดชอบ รวมทั้งใช้เทคนิคและวิธีการของเอกชนมาปรับปรุงการทำงาน
36
มีการประเมินผลการปฏิบัติงานและประสิทธิภาพ
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) มีการประเมินผลการปฏิบัติงานและประสิทธิภาพ
37
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
มีมาตรฐานและการวัดผลงานที่ชัดเจน (Explicit standards and measures of performance) ภาครัฐจึงต้องมีจุดมุ่งหมายและเป้าหมายของผลงาน และการตรวจสอบจะมีได้ก็ต้องมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน
38
การให้ความสำคัญต่อค่านิยม จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมและจริยธรรม
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การให้ความสำคัญต่อค่านิยม จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมและจริยธรรม
39
การคำนึงถึงหลักความคุ้มค่า
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การคำนึงถึงหลักความคุ้มค่า “ 3 Es ” Rhodes การประหยัด(Economy) ความมีประสิทธิภาพ(Efficiency) ความมีประสิทธิผล (Effectiveness)
40
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
เน้นการใช้ทรัพยากรอย่างมีวินัยและประหยัด (Stress on greater discipline and parsimony in resource use) ต้องการตรวจสอบความต้องการใช้ทรัพยากรของภาครัฐ และ “ทำงานมากขึ้นโดยใช้ทรัพยากรน้อยลง” (do more with less)
41
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
เน้นลักษณะการบริหารที่ ใช้แรงจูงใจและ การมีอิสระในการบริหารจัดการ มอบอำนาจการใช้ดุลยพินิจและให้อิสระในการจัดการ (Empowerment)
42
การให้รางวัลหรือโบนัส แก่ผลงานที่เป็นเลิศ ลงโทษผลงานที่ไม่ได้เรื่อง
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การให้รางวัลหรือโบนัส แก่ผลงานที่เป็นเลิศ ลงโทษผลงานที่ไม่ได้เรื่อง
43
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
การสร้างระบบสนับสนุนทั้งในด้านบุคลากร (เช่น การฝึกอบรม ระบบค่าตอบแทนและระบบคุณธรรม) เทคโนโลยี เพื่อช่วยให้หน่วยงานสามารถทำงานได้อย่างบรรลุวัตถุประสงค์
44
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
เปลี่ยนไปส่งเสริมการแข่งขันในการบริการ มุ่งการแข่งขันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและการพัฒนา (Competitive to Efficiency and Development) Christopher Hood (1991)
45
ใช้ กลไกตลาด(market mechanism) และ มีการแข่งขัน (competition)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ใช้ กลไกตลาด(market mechanism) และ มีการแข่งขัน (competition)
46
การแปรรูป (Privatize)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การแปรรูป (Privatize)
47
ค้นหาวิธีการใหม่ๆ (New way) และ อินโนเวทีพ (Innovative)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ค้นหาวิธีการใหม่ๆ (New way) และ อินโนเวทีพ (Innovative)
48
เพิ่มผลิตภาพ (productivity)
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) เพิ่มผลิตภาพ (productivity)
49
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
ต้องค้นหากลไกทางเลือกอื่น ในการส่งมอบการบริการ (alternative service-delivery mechanisms)
50
การมุ่งเน้นการให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) การมุ่งเน้นการให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ
51
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
Service Citizens, Not Customers ผู้ให้บริการสาธารณะ(public servants) ต้องดำเนินการไม่เพียงตอบสนองต่อความต้องการของ “ลูกค้า” (customers) เท่านั้น แต่ยังต้อง มุ่งไปที่การสร้างความสัมพันธ์ ของความไว้วางใจ และ ความร่วมมือ (collaboration) ระหว่างและในหมู่พลเมือง (citizens) การคำนึงว่าประชาชนเป็นผู้มีคุณค่าไม่ใช่แค่ผลผลิต หน่วยงานราชการต่างๆจะประสบความสำเร็จในระยะยาวหากดำเนินการด้วยการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและสร้างการเป็นผู้นำร่วมกันกับประชาชนบนพื้นฐานของการเคารพประชาชน ประชาชนมีฐานะของการเป็นพลเมือง - การเป็นหุ้นส่วนในการดำเนินกิจกรรม - การเป็นพลเมืองและหุ้นส่วน การปรึกษาหารือ การเปิดเผยข้อมูล การมีส่วนร่วม การทำงานอย่างโปร่งใส การทำงานที่มีหลักการ การยึดหลักนิติธรรม
52
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
การบริหารงานแบบมืออาชีพ - การสวมจิตวิญญาณผู้ประกอบการ (Entrepreneur) โดยนำกลไกตลาด เน้นลูกค้า ทำงานเชิงรุก ชอบเสี่ยง แสวงหาโอกาส เจรจาต่อรอง ฯลฯ - สรรหาผู้บริหารที่มีสมรรถนะสูงจากบุคคลนอกระบบ (Performance Appraisal)
53
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
เน้นนักบริหารที่มุ่งปฏิบัติและ เป็นผู้ประกอบการ (ตรงกันข้ามกับจุดเน้นของนักบริหารภาครัฐที่เน้นการทำงานแบบระบบราชการดั้งเดิม) Christopher Hood (1991)
54
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
การจัดการโดยนักวิชาชีพที่ชำนาญการ (Hands-on professional management) ผู้จัดการมืออาชีพได้จัดการด้วยตัวเอง ด้วยความชำนาญ โปร่งใส และมีความสามารถในการใช้ดุลพินิจ เหตุผลก็เพราะเมื่อผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายแล้ว ก็จะเกิดความรับผิดชอบต่อการตรวจสอบจากภายนอก
55
แนวคิด การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM)
แยกหน่วยงานภาครัฐออกเป็นหน่วยย่อยๆ (Shift to disaggregation of units in the public sector) แยกตามลักษณะสินค้าและบริการที่ผลิต ให้เงินสนับสนุนแยกกัน และติดต่อกันอย่างเป็นอิสระ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.