ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSri Dewi Pranata ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ "เข้าก่อนออกก่อน" (First In First Out: FIFO) A B C H T B C H+1 T B C D H+1 T+1 B H T
2
QUEUE 5 4 3 2 1 F E D C B A 6 5 4 3 2 1 E D C B A 6 5 4 3 2 F E D C B
ตัวชี้หัวของโครงสร้างข้อมูล ตัวชี้ท้ายของโครงสร้างข้อมูล ใส่ข้อมูล F เข้าไปในโครงสร้างข้อมูล 6 5 4 3 2 (c) F E D C B 1 5 เอาข้อมูล A ออกจากโครงสร้างข้อมูล
3
QUEUE การกระทำ(Operation) ที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างข้อมูลแบบ Queueประกอบด้วย การสร้างคิว(Create) การนำสมาชิกข้อมูลเข้าคิว(Enqueue) การนำสมาชิกข้อมูลออกจากคิว(Dequeue) การทดสอบว่าคิวว่างหรือไม่(Empty) การทดสอบว่าคิวเต็มหรือไม่(Full) การทำให้คิวเป็นคิวว่าง(Clear)
4
QUEUE การสร้างคิวด้วย Array
หมายถึง การแทนที่ข้อมูลของคิวด้วย array ซึ่ง เป็นการจัดสรรเนื้อที่หน่วยความจำแบบ static นั่นคือ มีการกำหนดขนาดของคิวล่วงหน้าว่ามีขนาดเท่าใด และจะมีการจัดสรรเนื้อที่หน่วยความจำให้เลย การสร้างคิวด้วย Link List หมายถึง การแทนที่ข้อมูลของคิวด้วย Link list ซึ่งเป็นการจัดสรรเนื้อที่หน่วยความจำแบบ Dynamic นั่นคือ หน่วยความจำจะถูกจัดสรรเมื่อมีการของใช้จริงๆ ระหว่างการประมวลผลโปรแกรมผ่านตัวแปรชนิด Pointer
5
HEAD = 1 HEAD = null TAIL = 1 TAIL = null TAIL =100 HEAD = 998 TAIL =2
ARRAYSIZE .. 4 3 2 1 TAIL =100 HEAD = 998 TAIL =2 HEAD = 1 คิวเต็ม TAIL =2,HEAD = 2
6
คิววงกลม แก้ปัญหาคิวเต็มไม่แท้จริง
กำหนดให้ T ชี้วนกลับไปยังตำแหน่งแรกของ Array ในกรณีที่เมื่อวนกลับแล้ว T มีค่าน้อยกว่า H ARRAYSIZE .. 4 3 2 1 HEAD = 998 TAIL =1
7
QUEUE Algorithm INSQ(Q,N,H,T,DATA)
1. ถ้า H=1 และ T=N หรือถ้า H=T+1 แสดงว่าคิวเต็ม และจบการทำงาน 1.1 ถ้า H=null ดังนั้น ให้ H=1 และ T=1 1.2 ถ้า T=N ให้ T=1 และ 1.3 ถ้า T = ตำแหน่งใดๆ ให้ T=T+1 2. ให้ Q[T] = DATA 3. จบการทำงาน
8
QUEUE Algorithm DELQ(Q,N,H,T,DATA)
1. ถ้า H=null ดังนั้น คิว Under Flow และจบการทำงาน 2. ให้ DATA = Q[H] 2.1 ถ้า H=T ให้ H=T=null 2.2 ถ้า H=N ให้ H=1 2.3 ถ้า H= ตำแหน่งใดๆ ในคิวให้ H=H+1 3. จบการทำงาน
9
Priority QUEUES เป็นคิวประเภทหนึ่งที่มีขบวนการในการจัดลำดับและการลบออกเป็นดังนี้ 1. ข้อมูลที่มีลำดับความสำคัญสูงสุดถูกเรียกทำงานก่อน 2. ในกรณีข้อมูลมีลำดับความสำคัญเท่ากัน ข้อมูลที่มาก่อนถูกเรียกใช้งานก่อน
10
การประยุกต์ใช้คิว ใช้ในระบบ time-sharing
วิเคราะห์จำนวนลูกค้าในคิวเพื่อกำหนดจุดให้บริการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.