งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ปฏิบัติการหน่วงน้ำเค็ม พร้อมรับมือน้ำเค็มรุกรอบใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ปฏิบัติการหน่วงน้ำเค็ม พร้อมรับมือน้ำเค็มรุกรอบใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 ปฏิบัติการหน่วงน้ำเค็ม พร้อมรับมือน้ำเค็มรุกรอบใหม่
ความเป็นมา ปี 2557 สถานการณ์ความเค็มเกิดขึ้นเร็วกว่าปกติ ตั้งแต่ปลายเดือนมกราคมต่อเนื่องถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดยเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2557 ที่สถานีสูบน้ำสำแล จังหวัดปทุมธานี มีความเค็มเกินค่ามาตรฐานสูงถึง 1.92 กรัมต่อลิตร ต่อเนื่องนานถึง 70 ชั่วโมง สาเหตุหลักจากน้ำในลำน้ำมีน้อย การปลูกข้าวนาปรังสูงกว่าแผนถึงสองเท่า ปริมาณน้ำในเขื่อนภูมิพลและสิริกิติ์อยู่ในเกณฑ์น้อย ประกอบกับ น้ำทะเลที่หนุนสูงกว่าปกติในช่วงต้นปี

3 กราฟแสดงค่าความเค็ม ที่สถานีสูบน้ำสำแล (ม.ค.- มี.ค. 2557)

4 น้ำทะเลหนุนสูงกว่าปกติเนื่องจากกระแสลมในอ่าวไทย
ระดับน้ำคาดหมาย และระดับน้ำของแม่น้ำเจ้าพระยาวันที่ 15 และ 21 กุมภาพันธ์ 2557 พบระดับน้ำที่ตรวจวัดได้จริง สูงกว่าที่คาดการณ์ไว้มากถึง 60 เซนติเมตร บริเวณกองบัญชาการกองทัพเรือ บริเวณป้อมพระจุลจอมเกล้า จังหวัดสมุทรปราการ ความสูงและทิศทางของคลื่นทะเลบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย

5 ปฏิบัติการหน่วงน้ำเค็ม พร้อมรับมือน้ำเค็มรุกรอบใหม่
การเตรียมความพร้อม (เดือนพฤษภาคม 2557) การประปานครหลวง รับน้ำเข้าคลองประปามหาสวัสดิ์ เกินกว่าที่ใช้ในการผลิตน้ำประปา 10 ลบ.ม./วินาที และระบายน้ำผ่านช่องระบาย 4 ลบ.ม./วินาที กรมทางหลวงและกรุงเทพมหานคร ติดตั้งเครื่องสูบน้ำ 10 เครื่อง รวม 3 ลบ.ม./วินาที เพื่อสูบน้ำจืดจากคลองประปามหาสวัสดิ์ลงสู่คลองปลายบาง คลองมหาสวัสดิ์ คลองบางกอก น้อย และแม่น้ำเจ้าพระยา ตามลำดับ กรมชลประทาน บริหารประตูระบายน้ำฉิมพลี และประตูระบายน้ำยายส่อน ให้ สอดคล้องกับน้ำทะเลหนุน พร้อมทั้ง ควบคุมการระบายน้ำผ่านเขื่อนเจ้าพระยา และคลอง ลัดโพธิ์ เพื่อหน่วงน้ำเค็ม และผันน้ำจากแม่น้ำแม่กลองมาเสริม กองทัพเรือ ติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำรวม 30 เครื่อง ในคลองบางกอกน้อย 20 เครื่อง และคลองมหาสวัสดิ์ 10 เครื่อง เพื่อเร่งส่งน้ำจืดในคลองมหาสวัสดิ์ลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา ในช่วงน้ำลง ติดตามและวิเคราะห์สถานการณ์น้ำเค็มอย่างใกล้ชิด

6 แถลงข่าวความร่วมมือ ปฏิบัติการหน่วงน้ำเค็ม

7 ปฏิบัติการหน่วงน้ำเค็ม พร้อมรับมือน้ำเค็มรุกรอบใหม่
กรมทางหลวง 4 เครื่อง (รวม 0.50 ลบ.ม./วินาที) + กรุงเทพมหานคร 6 เครื่อง (รวม 2.50 ลบ.ม./วินาที) เปิดสูบน้ำจากคลองประปาลงคลองปลายบาง ประมาณวันละ 5 ชั่วโมง คิดเป็นปริมาณน้ำ 32,400 ลบ.ม./วัน

8 ปฏิบัติการหน่วงน้ำเค็ม พร้อมรับมือน้ำเค็มรุกรอบใหม่
ปตร.คลองยายส่อน ปตร.ฉิมพลี

9 ปฏิบัติการหน่วงน้ำเค็ม พร้อมรับมือน้ำเค็มรุกรอบใหม่
ค.บางกอกน้อย ตัด ถนนบรมราชชนนี (วัดไก่เตี้ย) ค.มหาสวัสดิ์ ตัด ถ.ราชพฤกษ์ (ตลาด ถ.สวนผัก)

10 แผนที่จุดติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำ และตำแหน่งสูบน้ำ
3

11 แผนการปฏิบัติการระยะสั้น - ระยะยาว

12 ความสัมพันธ์ ระดับน้ำ-ค่าความเค็ม ในแม่น้ำเจ้าพระยา

13 การเดินเครื่องสูบน้ำ และเครื่องผลักดันน้ำ ช่วงวันที่ 1-30 เม.ย 2557
เดินเครื่องสูบน้ำที่ไซฟอนปลายบาง วันละ 5 ชม. เดินเครื่องผลักน้ำที่คลองบางกอกน้อย บริเวณ รพ.ศิริราช วันละ 6 ชม. เดินเครื่องผลักน้ำที่คลองบางกอกน้อย บริเวณ วัดไก่เตี้ย วันละ 5 ชม. เดินเครื่องผลักน้ำที่คลองมหาสวัสดิ์ บริเวณ ตัดถนนราชพฤกษ์ วันละ 4 ชม.

14 ผลการปฏิบัติการ

15 ผลการปฏิบัติการ ค่าความเค็มแม่น้ำเจ้าพระยา สถานีสูบน้ำสำแล การประปานครหลวง ค่าความเค็มแม่น้ำบางปะกง ต.บางแตน อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี

16 ค.ประปา ก่อนสูบลง ค.ปลายบาง
หมายเหตุ จุดที่ เก็บ > น. จุดที่ กปน. วัดค่าความเค็มไว้ จุดที่ 3 สสนก. เก็บ >12.00 น. จุดที่ สสนก. เก็บ < น. เก็บตัวอย่างเมื่อ 11/04/2557 จุดเก็บตัวอย่างน้ำ (6 จุดหลัก) จุดเก็บตัวอย่างน้ำ (2 จุดแถม) (กปน.) เก็บ 9.30 น. 6 5 เก็บ 8.45 น. ค.ประปา ก่อนสูบลง ค.ปลายบาง (สถานีกรมควบคุมมลพิษ) ค.มหาฯ ตัด ถ. ราชพฤกษ์ เก็บ น. เก็บ น. 4 2 เก็บ น. เก็บ 8.15 น. 3 2.5 B (กรมชลประทาน) ค.มหาสวัสดิ์ ค.มหาสวัสดิ์ บริเวณปตร.มหาสวัสดิ์ ปตร.ฉิมพลี 1 วัดไก่เตี้ย เก็บ น. เก็บ น.

17 ค.ประปา ก่อนสูบลง ค.ปลายบาง
จุดเก็บตัวอย่างน้ำ 6 สำแล เก็บ 1 เก็บ 2  9.00 > 18.00 ปากเกร็ด เก็บ 1 เก็บ 2  8.30 > 17.00 5 ค.ประปา ก่อนสูบลง ค.ปลายบาง 4 2 สามเสน เก็บ 1 เก็บ 2  8.00 > 17.00 3 ค.มหาสวัสดิ์ บริเวณปตร.มหาสวัสดิ์ วัดไก่เตี้ย 1 สะพานกรุงเทพ เก็บ 1 เก็บ 2 - ***จุดที่ เก็บ > น.*** ป้อมพระจุลฯ (11 เม.ย.2557) น้ำขึ้นลูก 1 น้ำขึ้นลูก 2 03.00 15.00

18 จุดตรวจวัดค่าความเค็มในแม่น้ำเจ้าพระยา
ป้อมพระจุลจอมเกล้า สะพานกรุงเทพ ปากเกร็ด สำแล กม.100 กม.63 กม.36 กม.0 37 กม. 27 กม. 36 กม. จุดที่ 6 (-42.81) จุดที่ 5 (-37.80) จุดที่ 4 (-33.47) Enriched Water Recharged Plume approx. (-28.5) Seawater approx. (0.00)

19 โครงการ/บริการหน่วยงาน d D ‰ (V-SMOW) d 18O ‰ (V-SMOW)
NO. Date received Sampling Date Sample code Lab code โครงการ/บริการหน่วยงาน d D ‰ (V-SMOW) d 18O ‰ (V-SMOW) 7102 18-เม.ย.-57 11-เม.ย.-57 A1 (จุด 1) IHLS7068 Solution Base วิกฤติภัยแล้ง สสนก. -30.37 -4.28 7103 A2 (จุด 2.5) IHLS7069 -27.53 -3.68 7104 B (จุด 2) IHLS7070 -32.73 -4.68 7105 C (จุด 3) IHLS7071 -28.85 -4.10 7106 D (จุด 4) IHLS7072 -33.47 -4.23 7107 E (จุด 5) IHLS7073 -37.80 -4.87 7108 F (จุด 6) IHLS7074 -42.81 -5.23 7109 Z (จุด B) IHLS7075 -28.37 -4.01

20 Approx. 20% mixed up by Seawater (A)
Trend Mixed up recharged water (จากแม่กลอง) Trend Mixed up with seawater Approx. 20% mixed up by Seawater (A) Chao Phraya original fingerprint


ดาวน์โหลด ppt ปฏิบัติการหน่วงน้ำเค็ม พร้อมรับมือน้ำเค็มรุกรอบใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google