ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยShinta Atmadja ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
โดย นางสาวฤดีรัตน์ สาระบุตร
2
กระจกเงาโค้ง ทรงกลม กระจกเว้า กระจกนูน
กระจกเงาโค้ง ทรงกลม กระจกเว้า - กระจกโค้งที่มีผิวสะท้อนอยู่ด้านในของส่วนโค้งของทรงกลม กระจกนูน - กระจกโค้งที่มีผิวสะท้อนอยู่ด้านนอกของส่วนโค้งของทรงกลม
3
สูตรการหาตำแหน่งภาพ f คือ ความยาวโฟกัส s คือ ระยะวัตถุ s΄ คือ ระยะภาพ
สูตรการหาตำแหน่งภาพ f คือ ความยาวโฟกัส s คือ ระยะวัตถุ s΄ คือ ระยะภาพ
4
สูตรการหากำลังขยายของภาพ
สูตรการหากำลังขยายของภาพ m คือ กำลังขยาย y΄ คือ ขนาดของภาพ y คือ ขนาดของวัตถุ s΄ คือ ระยะภาพ s คือ ระยะวัตถุ
5
การกำหนดเครื่องหมายของ f , s , s΄, m ของกระจกโค้ง
การกำหนดเครื่องหมายของ f , s , s΄, m ของกระจกโค้ง f s s΄ m + เมื่อเป็นวัตถุจริงวางอยู่หน้ากระจก - เมื่อเป็นวัตถุเสมือนวางอยู่หลังกระจก + เมื่อเป็นภาพจริงแสงตัดกันจริงอยู่หน้ากระจก - เมื่อเป็นภาพเสมือนแสงเสมือนว่าตัดกัน + เมื่อเป็นกำลังขยายของภาพจริง - เมื่อเป็นกำลังขยายของภาพเสมือน + เมื่อเป็นจุดโฟกัสจริง - เมื่อเป็นจุดโฟกัสเสมือน
6
การเขียนรังสีของแสงเพื่อหาตำแหน่งภาพ
การเขียนรังสีของแสงเพื่อหาตำแหน่งภาพ ลากรังสีตกกระทบออกจากวัตถุขนานกับแกนมุขสำคัญรังสีสะท้อนจากกระจกจะมีแนวผ่านจุดโฟกัส 1 ลากรังสีตกกระทบออกจากวัตถุในแนวผ่านศูนย์กลางความโค้งของกระจกรังสีสะท้อนจากกระจกสะท้อนกลับในแนวเดิม 2
7
ภาพที่เกิดจากกระจกเว้าเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ
ภาพที่เกิดจากกระจกเว้าเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ 1. เมื่อวัตถุอยู่ไกลมาก เมื่อวัตถุอยู่ไกลมาก แสงจากวัตถุที่ตกกระทบจะขนานกับแกนมุขสำคัญทำให้รังสีสะท้อนไปตัดกันที่จุดโฟกัส F ได้ภาพจริงขนาดเล็กที่สุดที่โฟกัส
8
ภาพที่เกิดจากกระจกเว้าเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ
ภาพที่เกิดจากกระจกเว้าเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ 2. เมื่อวัตถุอยู่เลยจุดศูนย์กลางความโค้ง (C) เมื่อวัตถุอยู่เลยจุดศูนย์กลางความโค้ง (C) ได้ภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุอยู่ระหว่าง F กับ C
9
ภาพที่เกิดจากกระจกเว้าเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ
ภาพที่เกิดจากกระจกเว้าเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ 3. วัตถุอยู่ที่จุดศูนย์กลางความโค้ง (C) วัตถุอยู่ที่จุดศูนย์กลางความโค้ง (C) ได้ภาพจริงหัวกลับขนาดเท่าวัตถุ อยู่ที่เดียวกับวัตถุ
10
ภาพที่เกิดจากกระจกเว้าเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ
ภาพที่เกิดจากกระจกเว้าเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ 4. วัตถุอยู่ระหว่างจุดศูนย์กลางความโค้ง (C) กับจุดโฟกัส (F) วัตถุอยู่ระหว่างจุดศูนย์กลางความโค้ง (C) กับจุดโฟกัส (F) ได้ภาพจริงหัวกลับ ขนาดใหญ่กว่าวัตถุอยู่เลยจุด C ออกไป
11
ภาพที่เกิดจากกระจกเว้าเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ
ภาพที่เกิดจากกระจกเว้าเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ 5. วัตถุอยู่ที่จุดโฟกัส (F) วัตถุอยู่ที่จุดโฟกัส (F) ได้ภาพขนาดใหญ่ที่สุดไกลมากบอกไม่ได้ว่าเป็นภาพชนิดใด
12
ภาพที่เกิดจากกระจกเว้าเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ
ภาพที่เกิดจากกระจกเว้าเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ 6. วัตถุอยู่ระหว่างขั้วกระจกกับจุดโฟกัส (F) วัตถุอยู่ระหว่างขั้วกระจกกับจุดโฟกัส (F) ได้ภาพเสมือนใหญ่กว่าวัตถุหัวตั้งอยู่หลังกระจก
13
ภาพที่เกิดจากกระจกนูนเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ
ภาพที่เกิดจากกระจกนูนเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ 1. เมื่อวัตถุอยู่ไกลมาก เมื่อวัตถุอยู่ไกลมาก แสงจากวัตถุที่ตกกระทบจะขนานกับแกนมุขสำคัญทำให้รังสีกระจายออกเสมือนไปจากจุดโฟกัส ได้ภาพเสมือนขนาดเล็กที่สุดที่โฟกัส F
14
ภาพที่เกิดจากกระจกนูนเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ
ภาพที่เกิดจากกระจกนูนเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ 2. วัตถุอยู่หน้ากระจกไกลน้อยกว่าระยะอนันต์ วัตถุอยู่หน้ากระจกไกลน้อยกว่าระยะอนันต์ ได้ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุอยู่ระหว่างกระจกกับจุดโฟกัส
15
ภาพที่เกิดจากกระจกนูนเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ
ภาพที่เกิดจากกระจกนูนเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ 3. วัตถุอยู่ที่จุดศูนย์กลางความโค้ง (C) วัตถุอยู่อยู่ที่จุดศูนย์กลางความโค้ง ได้ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุอยู่ระหว่างกระจกกับจุดโฟกัส
16
ภาพที่เกิดจากกระจกนูนเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ
ภาพที่เกิดจากกระจกนูนเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ 4. วัตถุอยู่ระหว่างจุดศูนย์กลางความโค้ง (C) กับจุดโฟกัส (F) วัตถุอยู่ระหว่างจุดศูนย์กลางความโค้งกับจุดโฟกัส ได้ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุอยู่ระหว่างกระจกกับจุดโฟกัส
17
ภาพที่เกิดจากกระจกนูนเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ
ภาพที่เกิดจากกระจกนูนเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ 5. วัตถุอยู่ที่จุดโฟกัส (F) วัตถุอยู่ที่จุดโฟกัส ได้ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุอยู่ระหว่างขั้วกระจกกับจุดโฟกัส
18
ภาพที่เกิดจากกระจกนูนเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ
ภาพที่เกิดจากกระจกนูนเมื่อวัตถุอยู่ที่ระยะต่าง ๆ 6. วัตถุอยู่ระหว่างขั้วกระจกกับจุดโฟกัส (F) วัตถุอยู่ระหว่างขั้วกระจกกับจุดโฟกัส ได้ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กว่าวัตถุอยู่ระหว่างกระจกกับจุดโฟกัส
19
สรุปการเกิดภาพจากกระจกโค้งทรงกลม
สรุปการเกิดภาพจากกระจกโค้งทรงกลม ภาพจากกระจกเว้า ภาพจากกระจกนูน เป็นภาพจริงมีได้ทุกขนาด ถ้าเป็นภาพเสมือนจะมีขนาดใหญ่กว่าวัตถุเสมอ ยกเว้นขณะวางวัตถุชิดกระจกจะได้ภาพเสมือนขนาดเท่าวัตถุ เป็นภาพเสมือนขนาดเล็กกว่าวัตถุ ยกเว้นเมื่อวางวัตถุชิดกระจกจะได้ภาพเสมือนขนาดเท่าวัตถุ
20
Add your company slogan
Thank You ! Add your company slogan
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.