ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยHelena Karjalainen ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การจัดการต้นทุน การขนส่งทางท่อ ( Pipeline Transportation )
1.นางสาวปริศนา แพทติสัน เลขที่ 2.นายธงเพชร ไชยนิล เลขที่ 3.นายกิตติพงษ์ ฉิมพลีย์ เลขที่ 4.นางสาวหฤทัย ภาคพรม เลขที่ 5.นางสาวสุวรรณา สารรักษ์ เลขที่
2
เปิดประด็น 1.การจัดการต้นทุน การขนส่งทางท่อมีความสำคัญอย่างไร
1.การจัดการต้นทุน การขนส่งทางท่อมีความสำคัญอย่างไร 2.การขนส่งทางท่อ มีประโยชน์อย่างไร 3.การจัดการต้นทุน และการขนส่งทางท่อมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
3
Keyword 1.Transportation การขนส่ง 2.Pipeline Transportation การขนส่งทางท่อ 3.Low Transportation costs ต้นทุนการขนส่งต่ำ 4.Extremely Efficient Mode of Transport เป็นรูปแบบการขนส่งที่มีประสิทธิภาพ 5.Provide a warehouse function ทำหน้าที่เป็นคลังสินค้า 6.Low Loss and Damage ความสูญหายและเสียหายต่ำ 7.Slow speed มีความเร็วต่ำ 8. The Terminal สถานี 9. The carrier ผู้ประกอบการ
4
10.Higher Levels Inventory มีระดับสินค้าคงคลังสูง
11.Fixed Route of Services เส้นทางการบริการคงที่ 12.High Fixed costs การลงทุนคงที่สูง 13.People บุคคล 14.Goods สินค้าหรือสิ่งของ 15. Fixed cost ต้นทุนคงที่ 16. Variable cost ต้นทุนผันแปร 17. Total cost ต้นทุนรวม 18. Backhauling cost ต้นทุนเที่ยวกลับ 19. The Way เส้นทาง 20. The Vehicle พาหนะ 21. The Terminal สถานี
5
การจัดการต้นทุน การขนส่งทางท่อ
การจัดการต้นทุน การขนส่งทางท่อ การขนส่ง ( Transportation ) คือการเคลื่อนย้ายบุคคล (people) หรือสิ่งของ (goods ) จากที่หนึ่งไปยังที่หนึ่ง ถ้าเป็นกราเคลื่อนย้ายบุคคล เรียกว่า การขนส่งผู้โดยสาร หากเป็นการเคลื่อนย้ายสัตว์หรือสิ่งของต่างๆ เรียกว่า การขนส่งสินค้า การขนส่งทางท่อ ( Pipeline Transportation ) เป็นระบบการขนส่งที่มีลักษณะเฉพาะ เนื่องจากสินค้าที่ขนส่งต้องอยู่ในรูปของเหลว เป็นการขนส่งทางเดียว จากแหล่งผลิตไปยังปลายทาง ไม่มีการขนส่งเที่ยวกลับสินค้าที่นิยมขนส่งทางท่อ ได้แก่ น้ำ น้ำมันดิบ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ
6
การจัดการต้นทุน ปัจจุบันการขนส่งมีความสำคัญต่อธุรกิจเกือบทุกประเภททั้งในส่วนการจัดหาวัตถุดิบ การผลิตการขาย และการจัดจำหน่าย ในหลายๆ ธุรกิจ ต้นทุนการขนส่งนับเป็นต้นทุนที่สำคัญ และกระทบต่อต้นทุนรวมของผลิตภัณฑ์และบริการ ซึ่งโครงสร้างต้นทุนของผู้ประกอบการขนส่ง ประกอบด้วยต้นทุนดังต่อไปนี้ 1. ต้นทุนคงที่ (Fixed cost) เป็นต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงตามปริมาณการขนส่ง เช่น ค่าเช่าสถานที่จอดรถ เงินเดือนพนักงานขับรถ เป็นต้น 2. ต้นทุนผันแปร (Variable cost) เป็นต้นทุนหรือ ค่าใช้จ่ายที่มีการเปลี่ยนแปลง ตามปริมาณการให้บริการการขนส่ง เช่น ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าซ่อมแซม ค่าน้ำมันหล่อลื่น เป็นต้น 3. ต้นทุนรวม (Total cost) เป็นต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่รวมเอาต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปรเข้าไว้ด้วยกัน ถือเป็นต้นทุนการบริการขนส่งทั้งหมด ทั้งนี้รวมถึงต้นทุนเที่ยวกลับ (Backhauling cost) ด้วย
7
ต้นทุนของผู้ประกอบการ
1.ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการขนส่ง 2.ปริมาณหรือน้ำหนักของสินค้า 3.ระยะเวลาที่ใช้ในการขนถ่ายสินค้าและลงรวมถึงค่าใช้จ่ายในส่วนที่เกี่ยวกับระยะเวลาในการรอ 4.ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับระยะทางในการขนส่ง
8
การขนส่ง มีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 ประการ
เส้นทาง (The Way) เส้นทางในการขนส่ง แบ่งออกเป็นเส้นทางน้ำซึ่งเป็นเส้นทางการเดินเรือระหว่างประเทศโดยผ่านทะเลและมหาสมุทร หรือเส้นทางภายนอกในประเทศ เช่น ลำคลอง แม่น้ำ ฯลฯ เส้นทางบก แบ่งออกเป็นเส้นทางรถยนต์และเส้นทางรถๆฟ ประการสุดท้าย คือเส้นทางอากาศ ซึ่งสามารถติดต่อได้ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ นอกจากเส้นทางการขนส่งดังกล่าวแล้ว ท่อในการลำเลียง ก๊าซหรือวัสดุอย่างอื่น ก็จัดเป็นเส้นทางด้วย พาหนะ (The Vehicle) พาหนะเป็นสื่อกลางในการลำเลียงผู้โดยสารหรือสินค้าในสมัยโบราณ ได้แก่ช้าง ม้า ลา อูฐ เกวียนเรือ ฯลฯ แต่ปัจจุบันได้นำเครื่องจักรมาใช้ในการขับเคลื่อนแทนแรงงานคนและสัตว์ พาหนะในปัจจุบัน ได้แก่ รถยนต์ รถไฟ เครื่องบิน เรือ ฯลฯ
9
สถานี (The Terminal) สถานีเป็นจุดเริ่มต้นหรือปลายทางของการขนส่งสถานีแต่ละประเภทขึ้นอยู่กับเส้นทางและยานพาหนะในการขนส่ง ตัวอย่างการขนส่งทางบก สถานี ได้แก่ สถานีขนส่งรถประจำทาง สถานีรถไฟ การขนส่งทางน้ำ ได้แก่ท่าเรือ สะพานปลา การขนส่งทางอากาศ ได้แก่ สนามบิน ผู้ประกอบการ (The carrier) ผู้ประกอบการคือ ผู้ที่ให้บริการการขนส่งอาจจะเป็นรัฐบาล หรือเอกชน ผู้ให้บริการอาจได้รับค่าจ้าง ถ้าดำเนินการในลักษณะของธุรกิจหรือไม่ได้รับผลตอบแทน ถ้าดำเนินการเพื่อส่วนบุคคลมิได้รับจ้าง
10
การขนส่งท่อในประเทศไทย
1.บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด ขนส่งน้ำมันทางท่อ ซึ่งเริ่มจากโรงกลั่นน้ำมันของบริษัทต่างๆ ตามพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกและชานกรุงเทพฯ ไปยังคลังน้ำมันทางเหนือของกรุงเทพฯและสระบุรี ความยาวประมาณ 430 กิโลเมตร 2.ขนส่งน้ำมัน ช่วงท่อระหว่างน้ำมันลำลูกกาไปยังสนามบินสุวรรณภูมิซึ่งเป็นการส่งน้ำมันในสายการบินต่างๆ แต่ผู้ประกอบการยังนิยมขนส่งน้ำมันทางถนนมากกว่า เนื่องจากต้นทุนค่าขนส่งต่ำกว่าและไม่ต้องลงทุนสร้างท่อ เพราะฉะนั้นจึงไม่น่าแปลกการขนส่งทางถนนครองสัดส่วนสินค้ามากที่สุด
12
การเปรียบเทียบระหว่างทางเลือกต่างๆ ของการขนส่ง
13
ข้อดี ของการขนส่งทางท่อ
1. ต้นทุนขนส่งต่ำ ( Low Transportation Costs ) การขนส่งทางท่อมีต้นทุนคงที่สูง ซึ่งได้แก่ ค่าที่ดิน ค่าวาง ท่อสถานีสูบ ถังเก็บ ต้นทุนแปรผันการขนส่งทางท่อต่ำ ได้แก่ ใช้พนักงานน้อยใช้พลังงานน้อย มีอายุ การใช้งานนานและมีต้นทุนการบำรุงรักษาต่ำ การขนส่งทางท่อจึงมีต้นทุนต่ำ 2. เป็นรูปแบบการขนส่งที่มีประสิทธิภาพอย่างยิ่ง ( Extremely Efficient Mode of Transport) การขนส่งทาง ท่อใช้ทรัพยากรน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับรูปแบบการขนส่งอื่น เช่น ใช้ที่ดินน้อย ต้นทุนปฏิบัติการทางท่อ จึงต่ำกว่าการขนส่งรูปแบบอื่นๆ 3. ทำหน้าที่เป็นคลังสินค้า ( Provide a Warehouse Function) การขนส่งทางท่อมีความเร็วต่ำ และเส้นทางขน ส่งโดยปกติมีระยะทางไกล และท่อก็มีขนาดใหญ่ ดังนั้น ปริมาณสินค้าที่อยู่ในท่อจึงมีมาก ท่อจึงทำ หน้าที่เก็บสินค้าโดยไม่ต้องเสียค่าเก็บไปพร้อมกับหน้าที่เคลื่อน ย้ายสินค้า 4. ความสูญหายและเสียหายต่ำ ( Low Loss and Damage ) การขนส่งทางท่อสินค้าเคลื่อนย้ายโดยไม่มีการจับ ต้อง สินค้าไหลไปตามท่อจากต้นทางไปปลายทาง
14
5. เป็นการขนส่งที่เชื่อถือได้ ได้แก่
- กลไกอุปกรณ์ท่อเสียหายยาก - ส่งมอบสินค้าตรงเวลา - มีความเสี่ยงน้อยกับการก่อการร้ายและลักขโมย - มีความจำเป็นน้อยที่จะต้องมีคลังสินค้าสำรอง 6. ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่ำ ( Low Environmental Effects ) การขนส่งทางท่อให้ทรัพยากรธรรมชาติน้อย เส้นทางก่อสร้างวางท่อใช้พื้นดินน้อย การขนส่งทางท่อไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสีย ทางอากาศและ ทางน้ำ 7. สามารถขนส่งได้ตลอด 24 ชั่วโมง 8. เป็นการขนส่งที่สร้างความมั่นใจได้ว่าสินค้าจะถึงจุดหมายปลายทางโดยปลอดภัย 9. มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจ คือ การขนส่งทางท่อทำให้เกิดการกระจายแหล่งผลิต แหล่งน้ำมันที่อยู่ใน ประเทศที่ไม่มีทางออกทะเลสามารถผลิตเป็นทางการค้าได้ ด้วยการขนส่งทางท่อ การขนส่งทางท่อจึง ช่วยให้มีอุปทานเพิ่มขึ้น ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศนั้น และทำให้โลกเสถียรภาพทางพลังงาน มากขึ้น
15
ข้อเสีย ของการขนส่งทางท่อ
1. มีความเร็วต่ำ ( Slow Speed ) 2. มีระดับสินค้าคงคลังสูง (Higher Levels Inventory ) การขนส่งทางท่อมีความเร็วต่ำที่สุด สินค้าใช้เวลาเดิน ทางนานจากต้นทางไปปลายทาง สินค้าคงคลังระหว่างเดินทางจึงสูง 3. เส้นทางบริการคงที่ ( Fixed Route of Services ) เส้นทางท่อเป็นเส้นทางที่เหมือนรางรถไฟ สินค้าจึงต้อง เดินทางไปตามท่อเท่านั้น การขนส่งทางท่อเป็นการขนส่งจากจุดถึงจุด 4. การลงทุนคงที่สูง ( High Fixed Costs ) ผู้ประกอบการขนส่งทางท่อต้องลงทุนซื้อที่ดินเพื่อวางท่อและก่อ สร้างอุปกรณ์ 5. ข้อจำกัดด้านเส้นทางการขนส่ง โดยเส้นทางของท่อที่ผ่านอาจประสบอุปสรรคจากลักษณะธรรมชาติ เช่น ผ่านหุบเขา เป็นต้น 6. มีสินค้าที่จะขนส่งโดยวิธีนี้เพียงไม่กี่ชนิด เช่น น้ำมัน เป็นต้น
16
คำถามท้ายบท 1.การขนส่งทางท่อมีลักษณะอย่างไร
2.ต้นทุนของผู้ประกอบการมีกี่ข้อ อะไรบ้าง 3.ข้อดีของการขนส่งทางท่อมีกี่ข้อ อะไรบ้าง 4.ข้อเสียของการขนส่งทางท่อมีกี่ข้ออะไรบ้าง 5.เพราะเหตุใดการขนส่งทางท่อ จึงไม่เป็นที่นิยม
17
เฉลย 1. การขนส่งทางท่อ ( Pipeline Transportation ) เป็นระบบการขนส่งที่มีลักษณะเฉพาะ เนื่องจากสินค้าที่ขนส่งต้องอยู่ในรูปของเหลว เป็นการขนส่งทางเดียว จากแหล่งผลิตไปยังปลายทาง ไม่มีการขนส่งเที่ยวกลับสินค้าที่นิยมขนส่งทางท่อ ได้แก่ น้ำ น้ำมันดิบ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ 2. มี 4 ข้อ 1.ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการขนส่ง 2.ปริมาณหรือน้ำหนักของสินค้า 3.ระยะเวลาที่ใช้ในการขนถ่ายสินค้าและลงรวมถึงค่าใช้จ่ายในส่วนที่เกี่ยวกับระยะเวลาในการรอ 4.ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับระยะทางในการขนส่ง
18
ต้นทุนขนส่งต่ำ ( Low Transportation Costs ) การขนส่งทางท่อมีต้นทุนคงที่สูง ซึ่งได้แก่ ค่าที่ดิน ค่าวาง ท่อสถานีสูบ ถังเก็บ ต้นทุนแปรผันการขนส่งทางท่อต่ำ ได้แก่ ใช้พนักงานน้อยใช้พลังงานน้อย มีอายุ การใช้งานนานและมีต้นทุนการบำรุงรักษาต่ำ การขนส่งทางท่อจึงมีต้นทุนต่ำ 2. เป็นรูปแบบการขนส่งที่มีประสิทธิภาพอย่างยิ่ง ( Extremely Efficient Mode of Transport) การขนส่งทาง ท่อใช้ทรัพยากรน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับรูปแบบการขนส่งอื่น เช่น ใช้ที่ดินน้อย ต้นทุนปฏิบัติการทางท่อ จึงต่ำกว่าการขนส่งรูปแบบอื่นๆ 3. ทำหน้าที่เป็นคลังสินค้า ( Provide a Warehouse Function) การขนส่งทางท่อมีความเร็วต่ำ และเส้นทางขน ส่งโดยปกติมีระยะทางไกล และท่อก็มีขนาดใหญ่ ดังนั้น ปริมาณสินค้าที่อยู่ในท่อจึงมีมาก ท่อจึงทำ หน้าที่เก็บสินค้าโดยไม่ต้องเสียค่าเก็บไปพร้อมกับหน้าที่เคลื่อน ย้ายสินค้า 4. ความสูญหายและเสียหายต่ำ ( Low Loss and Damage ) การขนส่งทางท่อสินค้าเคลื่อนย้ายโดยไม่มีการจับ ต้อง สินค้าไหลไปตามท่อจากต้นทางไปปลายทาง
19
5. เป็นการขนส่งที่เชื่อถือได้ ได้แก่
- กลไกอุปกรณ์ท่อเสียหายยาก - ส่งมอบสินค้าตรงเวลา - มีความเสี่ยงน้อยกับการก่อการร้ายและลักขโมย - มีความจำเป็นน้อยที่จะต้องมีคลังสินค้าสำรอง 6. ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่ำ ( Low Environmental Effects ) การขนส่งทางท่อให้ทรัพยากรธรรมชาติน้อย เส้นทางก่อสร้างวางท่อใช้พื้นดินน้อย การขนส่งทางท่อไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสีย ทางอากาศและ ทางน้ำ 7. สามารถขนส่งได้ตลอด 24 ชั่วโมง 8. เป็นการขนส่งที่สร้างความมั่นใจได้ว่าสินค้าจะถึงจุดหมายปลายทางโดยปลอดภัย 9. มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจ คือ การขนส่งทางท่อทำให้เกิดการกระจายแหล่งผลิต แหล่งน้ำมันที่อยู่ใน ประเทศที่ไม่มีทางออกทะเลสามารถผลิตเป็นทางการค้าได้ ด้วยการขนส่งทางท่อ การขนส่งทางท่อจึง ช่วยให้มีอุปทานเพิ่มขึ้น ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศนั้น และทำให้โลกเสถียรภาพทางพลังงาน มากขึ้น
20
4 5. เป็นการขนส่งที่เชื่อถือได้ ได้แก่ - กลไกอุปกรณ์ท่อเสียหายยาก - ส่งมอบสินค้าตรงเวลา - มีความเสี่ยงน้อยกับการก่อการร้ายและลักขโมย - มีความจำเป็นน้อยที่จะต้องมีคลังสินค้าสำรอง 6. ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่ำ ( Low Environmental Effects ) การขนส่งทางท่อให้ทรัพยากรธรรมชาติน้อย เส้นทางก่อสร้างวางท่อใช้พื้นดินน้อย การขนส่งทางท่อไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสีย ทางอากาศและ ทางน้ำ 7. สามารถขนส่งได้ตลอด 24 ชั่วโมง 8. เป็นการขนส่งที่สร้างความมั่นใจได้ว่าสินค้าจะถึงจุดหมายปลายทางโดยปลอดภัย 9. มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจ คือ การขนส่งทางท่อทำให้เกิดการกระจายแหล่งผลิต แหล่งน้ำมันที่อยู่ใน ประเทศที่ไม่มีทางออกทะเลสามารถผลิตเป็นทางการค้าได้ ด้วยการขนส่งทางท่อ การขนส่งทางท่อจึง ช่วยให้มีอุปทานเพิ่มขึ้น ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศนั้น และทำให้โลกเสถียรภาพทางพลังงาน มากขึ้น .
21
5.เนื่องจากการขนส่งทางท่อมีต้นทุนในการก่อสร้างที่สูง ส่วนสินค้าที่ส่งผ่านท่อส่วนมากก็เป็นพวกน้ำมัน ก๊าซ
22
บรรณานุกรม www.logitiscorner.com www.sme.go.th www.sites.google.com
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.