ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMarvin Craig ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
สรุปงานและทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
นายแพทย์โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อขับเคลื่อนงานป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพของพื้นที่” ประจำปี 2558 ระหว่างวันที่ กันยายน 2558 ณ จังหวัดนครพนม
2
สรุปผลการดำเนินงาน ในปีที่ผ่านมา
3
แผนภาพสายโซ่แห่งคุณค่า (Value Chain) กรมควบคุมโรค พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย
ทบทวนสถานการณ์และสภาพปัญหา เพื่อกำหนดทิศทาง นโยบาย ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย Key Process ระบบเฝ้าระวัง นวัตกรรม พัฒนามาตรฐาน / กฎหมาย Quality/Value Target Group Outcome ประชาชน ลดเสี่ยง ลดโรค ลดตาย สร้างเครื่องมือ เฝ้าระวัง กลุ่มเสี่ยง 1. ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข กลุ่มวัย ป้องกัน เตรียมพร้อม กลุ่มโรค ควบคุม สร้างและพัฒนาเครือข่าย การสื่อสารความเสี่ยง บังคับใช้กฎหมาย บริการในกลุ่มเป้าหมายพิเศษ พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย สื่อสาร/ขับเคลื่อน กลุ่มเครือข่าย เขตบริการสุขภาพ ปี 2558 ได้รับรางวัลหมวด 6 กพร.
4
International standard
DDC Policy 2015 15 โครงการสำคัญ GOAL Information Innovation Intervention International standard Immediate 5 I มีความสุข สร้างคน สร้างระบบ งานสำเร็จ 3ส โครงการเฉลิมพระเกียรติฯ และพระราชดำริ พัฒนาระบบเฝ้าระวังและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ควบคุมโรคติดเขื้อในโรงพยาบาล วัยเด็ก : ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ วัยเรียน : ไข้เลือดออก อาหารเป็นพิษ วัยรุ่น : ขับเคลื่อนงานด้านควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการบริโภคยาสูบ วัยทำงาน : ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและอุบัติเหตุ ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ป้องกันควบคุมโรคติดต่อเรื้อรัง : เอดส์และวัณโรค ระบบสุขภาพ อาเซียน ควบคุมโรคในประชากรข้ามชาติ สนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน (Multi-sectoral cooperation) ความมั่นคงด้านวัคซีน แผนและการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร กรมควบคุมโรค (HRP/HRD/PMS) ระบบบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาล พัฒนาวิชาการและการวิจัย 4
5
เป้าหมายการพัฒนาระบบควบคุมโรค
ระบบเฝ้าระวัง บูรณาการระบบเฝ้าระวังโรค (5 ระบบ 5 มิติ) พยากรณ์โรค พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาเจ้าหน้าที่ทุกระดับ สามารถจัดการระบบเฝ้าระวังได้ ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉิน พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข (Emergency Operations Center) ทีมติดตามข่าวสารและประเมินสถานการณ์ด้านสุขภาพ (Situation Awareness Team) การพัฒนาทีมสอบสวนโรคสหสาขา (Joint Investigation Team) กฎอนามัยระหว่างประเทศ ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ควบคุมโรคและภัยในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ระบบควบคุมโรคและภัย ปี 2559 ถ่ายทอดเชื่อมโยงไปยัง เขตสุขภาพ/จังหวัด/อำเภอ ปี 2559 ถ่ายทอดเชื่อมโยงไปยัง เขตสุขภาพ/จังหวัด/อำเภอ ระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค 5 ระบบ => CD NCD Env. Occ. Injury HIV/AIDS 5 มิติ => อัตราป่วย/ตาย พฤติกรรมเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง เหตุการณ์ผิดปกติ และมาตรการสำคัญ ครอบคลุมถึง ASEAN Migrants ช่องทางเข้าออก ระบบเฝ้าระวังช่องทาง เข้าออกประเทศ ระบบบริหารจัดการ สมรรถนะช่องทางเข้าออก ประชากรต่างด้าว พัฒนาระบบข้อมูลประชากรต่างด้าว จัดให้ประชากรต่างด้าวเข้าถึงบริการป้องกันควบคุมโรคขั้นพื้นฐาน สุขภาวะชายแดน พัฒนาจังหวัดสุขภาวะชายแดนตามกรอบกฎอนามัยระหว่างประเทศ
7
1. โรคติดต่อสำคัญและ โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
โรคติดต่อสำคัญ อุบัติใหม่/อุบัติซ้ำและโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน 30/12/61 รณรงค์ให้วัคซีนคอตีบ จำนวน ล้านราย (71.9%) จากเป้าหมาย ล้านราย ผู้ป่วยคอตีบ ปี 2558 จำนวน 5 ราย จากการระบาด ปี 2555 จำนวน 63 ราย ตาย 10 ราย รณรงค์วัคซีนหัด ผลการดำเนินงาน 1.17 ล้านราย (55%) ณ 23 ส.ค.58 จากเป้าหมาย 2.13 ล้านราย ผู้ป่วยหัดปี 2558 จำนวน 436 ราย ผู้ป่วยหัดปี 2557 จำนวน 1,184 ราย อาหารเป็นพิษใน รร. ปี 2558 พบการระบาด 4 เหตุการณ์ (ณ 19 ก.ค. 58) ปี 2557 พบการระบาด 59 เหตุการณ์ 1. โรคติดต่อสำคัญและ โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ผลการดำเนินงาน 58 โรคติดต่อสำคัญ : 1. การรณรงค์ให้ วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ (เป้าหมาย 15,310,231 ราย) *** ผลการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ – บาดทะยัก แก่ประชากรกลุ่มอายุ ปี (3 ภาค) เท่ากับ 9,184,470 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 6 กรกฎาคม 2558) ระบาดปี 2555 จำนวน 63 ราย ตาย 10 ราย /ปี 2557 จำนวน 16 ราย ตาย 4 ราย /ปี 2558 จำนวน 7 ราย ตาย 1 ราย (ไทย 4 ตาย 1/ พม่า 2 / อื่นๆ 1) 2. รณรงค์ให้วัคซีนหัด(MR)เพื่อปิด GAP (เป้าหมาย 2 แสนราย) *** เริ่มดำเนินการในเดือน กค. 58 ผู้ป่วยหัดปี 2558 จำนวน 436 ราย ผู้ป่วยหัดปี 2557 จำนวน 1,184 ราย 3. ควบคุมหนอนพยาธิ ปี 2557 ร้อยละของการติดเชื้อหนอนพยาธิในนักเรียน พื้นที่โครงการตามพระราชดำริฯเท่ากับร้อยละ 10.2 ซึ่งลดลงจากปี 2556 (ร้อยละ 13.5) ปี 2558พบอัตราการติดเชื้อโรคหนอนพยาธิ(ทุกชนิด) ร้อยละ ส่วนใหญ่เป็นพยาธิ ไส้เดือน (ข้อมูล ณ วันที่ 17 มิ.ย.58 จาก 22 โรงเรียน) 4.อาหารเป็นพิษ ในปี 2557 มีจำนวนเหตุการณ์ทั้งหมด 92 เหตุการณ์ (โดยเกิดการระบาดกับนักเรียนในโรงเรียนและเข้าค่ายทัศนศึกษามากที่สุด จำนวน 54 เหตุการณ์ คิดเป็นร้อยละ ของเหตุการณ์ทั้งหมด) ในปี 2558 (1 มกราคม – 29 มิถุนายน 2558 ) มีจำนวนเหตุการณ์ทั้งหมด 20 เหตุการณ์(โดยเกิดการระบาดกับนักเรียนในโรงเรียนจำนวน 4 เหตุการณ์) *** เหตุการณ์การระบาดในโรงเรียนลดลงจากปี 2557 เท่ากับ ร้อยละ 92.59 5.ไข้เลือดออก ณ วันที่ 30 มิ.ย.58 (ป่วย 24,742 ราย อัตราป่วย ต่อปชก.แสนคน (รายงานเพิ่มขึ้น 1.92 เท่า เมื่อเทียบกับปี 2557 ณ ช่วงเวลาเดียวกัน, ตาย 17 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.07) มาตรการที่สำคัญ คือ 1)การประสานความร่วมมือหน่วยงานเครือข่าย 8 หน่วยงาน (MOU) เมื่อวันที่ 15 มิย 58 ที่ผ่านมา ได้แก่ สธ./กก./ทส./มท./วธ./ศธ./อก./กทม. 2)การสื่อสารความเสี่ยง ให้ปชช.กำจัดลูกน้ำ การสังเกตอาการป่วยที่สำคัญ 3)การควบคุมการระบาด โดย SRRT 4)การเปิด warroom สั่งการ และ 5)การเตรียมความพร้อมบุคลากรการแพทย์ 6.มาลาเรีย ณ วันที่ 25 มิ.ย.58 (ผู้ป่วยไทย 4,767 ราย /ต่างชาติ 1,828 ราย) อัตราป่วย 0.10 ต่อปชก.พันคน จำนวนผู้ป่วยลดลงจากช่วงเวลาเดียวกัน คิดเป็นร้อยละ (รายละเอียดตามสไลด์แนบ) 7. วัคซีนพื้นฐานในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น วัคซีนไข้เหลือง วัคซีนป้องกันโรคกาฬหลังแอ่น วัคซีนโปลิโอและหัด เป็นต้น (892,400 ราย) กำจัดมาลาเรีย ปี 2558 พบผู้ป่วย 6,594 ราย ลดลง จากในเวลาเดียวกัน ปี 2557 พบผู้ป่วย 12,798 ราย คิดเป็นร้อยละ 51.52 หนอนพยาธิ ความชุกพยาธิใบไม้ตับ ลดเหลือ ร้อยละ 5 จาก รัอยละ 8 เมื่อปี 2552 เฝ้าระวังเลือดออก ปี 2558 พบผู้ป่วย 51,500 ราย (18 สค.58) ในเวลาเดียวกัน ปี 2557 พบผู้ป่วย 22,358 ราย
8
มาตรการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่
ประเมินความเสี่ยงและป้องกัน - ติดตามสถานการณ์ การระบาด ต่อเนื่อง เฝ้าระวัง และคัดกรอง - ช่องทางเข้าออกประเทศ โรงพยาบาลรัฐ&เอกชน และชุมชน วินิจฉัยดูแลรักษา / ส่งต่อ / ตรวจทางห้องปฏิบัติการ - ตามแนวทางการรักษาของกรมการแพทย์ - รพศ. มีห้อง Negative pressure อย่างน้อยแห่งละ 1 ห้อง กทม.และปริมณฑล : สถาบันบำราศฯ รพ.ราชวิถี รพ.เลิดสิน รพ.ทรวงอก - ห้องปฏิบัติการ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 14 เขต ทั่วประเทศ ตรวจได้ ภายใน 5-8 ชม. สื่อสารความเสี่ยง - ประชาชน - บุคลากรทางการแพทย์ - ข่าวเพื่อประชาสัมพันธ์ บริหารจัดการ - EOC , BCP
9
พัฒนาระบบควบคุมโรคเพื่อรับมือโรคติดต่อสำคัญ อุบัติใหม่ และอุบัติซ้ำ
30/12/61 พัฒนาระบบควบคุมโรคเพื่อรับมือโรคติดต่อสำคัญ อุบัติใหม่ และอุบัติซ้ำ คัดกรองผู้เดินทางจากประเทศเกิดโรค สะสม 5,038 ราย พบผู้ป่วย เข้าเกณฑ์สอบสวนโรค 14 ราย ซ้อมแผนรับมือร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องส่วนกลาง 2 ครั้ง / ระดับเขต 30 ครั้ง ระดับจังหวัด 77 แห่ง ไม่พบการระบาดในไทย Ebola พบผู้ป่วยยืนยัน 1 ราย จากประเทศโอมาน ค้นหา ติดตาม กักกัน สังเกตุอาการ ผู้สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย จำนวน 176 ราย ไม่พบการติดเชื้อ พบผู้เดินทางจากพื้นที่ระบาดต่างประเทศเข้าเกณฑ์สอบสวนโรค 228 ราย ไม่พบการติดเชื้อ ไม่มีการระบาดในประเทศไทย MERS พัฒนาสมรรถนะด่านฯ 67 แห่ง จังหวัดชายแดน 31 แห่ง ตามมาตรฐาน IHR 2005 ผ่านการประเมินขั้นพื้นฐาน ด่านฯ ชายแดน การเตรียมความพร้อมรับมือโรคติดต่อสำคัญ อุบัติใหม่ และอุบัติซ้ำ การพัฒนาระบบควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ไวรัสอีโบลา (ไม่พบการระบาดในไทย) การคัดกรองผู้เดินทางจากประเทศเกิดโรค ( มิ.ย.57 ถึง 28 พ.ค. 58) จำนวน สะสม 4,765 ราย พบผู้ป่วย เข้าเกณฑ์สอบสวนโรค 7 ราย สรุปผู้ป่วยทุกรายไม่ใช่ผู้ติดเชื้อไวรัสอีโบลา ช้อมแผน - ซ้อมแผน กี่ครั้ง?? (MERS) (พบผู้ป่วย 1 ราย เฝ้าระวังผู้สัมผัสโรค 156 รายไม่มีการระบาดในวงกว้าง) ค้นหาและรักษา / กักกันผู้สัมผัสโรค 2. การพัฒนาสมรรถนะด้านฯ จำนวน 67 แห่ง และจังหวัดชายแดน 31 แห่ง ตามมาตรฐาน IHR 2005 ปี 57 ผ่านการประเมินขั้นพื้นฐาน ด่านฯ 46 แห่ง จาก 51 ด่านฯ/จว.ชายแดน (22 จังหวัด จาก 31 จังหวัด) 3. เฝ้าระวังควบคุมโรคในประชากรต่างด้าว (ฐานข้อมูล 9 โรคสำคัญในประชากรต่างด้าว/ร่วมพัฒนาหลักสูตร อสต.)
10
โรคติดต่อเรื้อรัง (SALT)
30/12/61 โรคติดต่อเรื้อรัง (SALT) รักษาด้วยยาต้านไวรัสในผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่มีเม็ดเลือดขาว (CD 4) ทุกระดับ 1. ปี 2558 ผู้ป่วยเข้าถึงการรักษา 14,350 ราย จากเป้าหมาย 32,000 ราย ดังนั้นมีผู้ป่วยสะสม 258,183 ราย 2. เพิ่มคุณภาพชีวิต ลดการป่วย ด้วยโรคแทรกซ้อน และลดการเสียวชีวิตของผู้ติดเชื้อ ลดอัตราป่วย อัตราตาย การดื้อยา ผู้ป่วยวัณโรค 1. ปี 2557 ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ได้จำนวน 63,541 ราย ปี 2558 ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ได้จำนวน 67,789 ราย (เพิ่มขึ้น 6.7%) 2. รักษาสำเร็จ ร้อยละ 81.4 (มาตรฐานองค์การอนามัยโลก ร้อยละ 85) 3. รักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน จำนวน 196 ราย ค้นหาผู้ป่วยเรื้อนรายใหม่ ลดความพิการ 1. ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่เชิงรุกใน 230 หมู่บ้านเสี่ยง พบผู้ป่วย 79 ราย เป็นเด็ก 4 ราย มีความพิการ 9 ราย 2. ผู้ป่วยโรคเรื้อนได้รับการฟื้นฟูสภาพทั้งสิ้น 389 ราย ผลการดำเนินงานโรคติดต่อเรื้อรัง (วัณโรค เอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์) วัณโรค 1. ผู้ป่วยวัณโรคที่ตรวจพบและรักษาในปี 2558 เพิ่มขึ้นจากปี จำนวน 4,248 ราย (ปี 57 จำนวน 63,541 ราย) 2. ห้อง Lap ชันสูตรวัณโรค ผ่าน LA หรือ ISO15189 และได้รับการขึ้นทะเบียนกับ สปสช. จำนวน 7 แห่ง อัตรารักษาสำเร็จ (กี่ร้อยละ) เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1. การรักษาด้วยยาต้านไวรัสในผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีเม็ดเลือดขาว (CD 4) ทุกระดับ (ผู้ติดเชื้อเข้าถึงยา จำนวน 14,350 ราย) สะสม 258,183 ราย และคิดเป็น 5.1ปอร์เซน เพิ่มจากปี 57(เมื่อเปรียบเทียบจากไตรมาสเดียวกันกับปีที่ผ่านมา 2. ประกาศใช้แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ด้วยชุดสิทธิประโยชน์ของระบบประกันสุขภาพทุกระบบ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557 3. เผยแพร่แนวทางการตรวจรักษาให้กับหน่วยบริการสุขภาพทุกระดับทั่วประเทศ โรคเรื้อน ค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อน - อัตราความพิการระดับ 2 (Grade 2 disability rate) ในผู้ป่วยโรคเรื้อน รายใหม่ต่อประชาการหนึ่งแสนคน ลดลงร้อยละ 50โดยเทียบกับปี 2553 (60คน ในปี 53 เหลือ 30คน) -ผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนที่ผ่านการสำรวจ ได้รับการฟื้นฟูสภาพตาม ความจำเป็น (need) (ร้อยละ 70) พบในประเทศไทย ปีละกี่ราย? กี่นิคม? เป้าหมาย 1 : 10,000 ประชากร
11
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อุบัติเหตุ และพฤติกรรมเสี่ยง
30/12/61 โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อุบัติเหตุ และปัจจัยเสี่ยง (NATI) ปัจจัยเสี่ยง เหล้าบุหรี่ ความชุกการดื่มแอลกอฮอล์ ในเด็ก ปี ร้อยละ (มีแนวโน้มสูงขึ้น จากเดิมร้อยละ 16.1) อัตราการสูบบุหรี่ในเด็ก 15 – 18 ปี ลดลง ร้อยละ 8.25 (มีแนวโน้มลดลง จากเดิม 8.43) ผลักดันกฎหมาย / อนุบัญญัติ เพื่อลดการเข้าถึง จำนวน 12 ฉบับ (เหล้า 11 ฉบับ บุหรี่ 1 ฉบับ) โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง คลินิก NCD คุณภาพ ผ่านเกณฑ์ ประเมิน 578 แห่ง (จาก 709 แห่ง) 2. ผู้ป่วยควบคุมระดับน้ำตาล/ความดัน ได้ดี ร้อยละ / (จากปี 2557 =20.05/34.95) โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อุบัติเหตุ และพฤติกรรมเสี่ยง เด็กจมน้ำ เสียชีวิต ลดจำนวนเด็กจมน้ำจาก 1,500 ราย ต่อปี เหลือ 338 ราย ในปี 2558 (6 เดือนแรกของปี) ทีมผู้ก่อการดี จำนวน 350 ทีม (เด็กเรียนว่ายน้ำ 5 หมื่นราย / ครูสอนว่ายน้ำ 2,660 ราย / ปชช. เรียน CPR 1,430 ราย) 3. ผลการดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อุบัติเหตุ และปัจจัยเสี่ยง ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (เบาหวาน หัวใจ ความดัน) เน้นการ ลดพฤติกรรมเสี่ยง (เหล้า บุหรี่ อุบัติเหตุ) ลดภาวะแทรกซ้อน และลดตาย NCD คลินิคคุณภาพ กี่แห่ง?? ตำบลจัดการสุขภาพจำนวน 3,630 ตำบล และตำบลต้นแบบ 308 ตำบล นำร่องการจัดการโรคและลดเสี่ยงรายบุคคลในพื้นที่ 2 จังหวัด คือ สิงห์บุรี และอ่างทอง 2. ควบคุมปัจจัยเสี่ยง ALC ออกตรวจจับ/ตรวจเตือนในช่วงเทศกาล/ปีใหม่สงกรานต์ ทั้งหมด 1,109 ราย ดำเนินคดี 325 ราย ยาสูบ พัฒนาทีมต้นแบบในการควบคุมยาสูบระดับเขตสุขภาพ จำนวน 4 ทีม (อ่างทอง จันทบุรี สุราษฎร์ธานี ตรัง) ร้อยละ 20 โรงเรียนที่ร่วมดำเนินการโรงเรียนปลอดบุหรี่ได้ครบตามแนวทางที่กำหน ได้แกนนำเยาวชนเฝ้าระวังฯ ต้นแบบ ในพื้นที่ที่มีอัตราการบริโภคยาสูบสูง จำนวน 17 จังหวัด (22 เครือข่าย) บุหรี่ เหล้า เด็กบริโภคลดลง?? 3. อุบัติเหตุ ลดเด็กจมน้ำจาก 1,500 คน เหลือ 800 คนในปี 58 (ในระยะกี่ปี) อุบัติเหตุ ทางถนน มีการตั้งด่านชุมชน 206 แห่ง ใน 10 จังหวัด ()ไม่ครบทุกอำเภอ /หมู่บ้าน ) พบ อุบัติเหตุชมชนลดลง บาดเจ็บ 30 ราย ไม่มีเสียชีวิตในพื้นที่ดำเนินการ (ลดลงหรือไม่ลดลง??) ถ้าไม่ลดก็มีแนวโน้ม (เอารูปด่านชุมชนม่าใส่) อุบัติเหตุทางถนน เสียชีวิต ประมาณ 22,000 คนต่อปี แนวโน้มยังไม่ลดลง มีการตั้งด่านชุมชน 206 แห่ง ใน 10 จังหวัด พบว่าอุบัติเหตุชมชนลดลง บาดเจ็บ 30 ราย ไม่มีเสียชีวิตในพื้นที่ดำเนินการ
12
โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
30/12/61 โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข (ลดโรคและอุบัติเหตุจากการทำงาน) - จัดบริการคลินิกโรคจากการทำงานในรพศ./รพท. 92 แห่ง (จากเป้าหมาย 107 แห่ง) - สถานประกอบการเข้าร่วมโครงการฯ และดำเนินการได้ตามเกณฑ์ 702 แห่ง จากเป้าหมาย 1,520 แห่ง ดูแลสุขภาพคนงานได้ 140,450 รายจากเป้าหมาย 304,000 ราย (46.2 %) พบว่ามีปัญหาโรคเรื้อรัง 10 % คลินิกสุขภาพเกษตรกร (ลดความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช) - จัดบริการดูแลสุขภาพเกษตรกรใน รพ.สต 2,738 แห่ง (27.90% ) จากเป้าหมาย 9,795 แห่ง - เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ 350,000 ราย จากเป้าหมาย 400,000 ราย และดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง จำนวน 135,500 ราย เฝ้าระวังผลกระทบทางสุขภาพจากมลพิษและสิ่งแวดล้อม (ผู้สัมผัสขยะและหมอกควัน) - ตรวจสุขภาพ ปชช. รอบเหมืองทองคำ จำนวน 502 ราย พบกลุ่มเสี่ยงมีสารโลหะหนักเกิน มาตรฐาน จำนวน 101 ราย - เฝ้าระวังสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงจำนวน 1,433,632 ราย จากปัญหาหมอกควัน 9 จว. ภาคเหนือ - คัดกรองสุขภาพคนทำงาน เก็บ คุ้ยเขี่ย รีไซเคิล ขยะอิเล็กทรอนิกส์/ขยะทั่วไป 8 จังหวัดเสี่ยง เป้าหมาย 2,400 ราย คัดกรองสุขภาพแล้ว 2 จังหวัด จำนวน 655 ราย ขยะ 1.พื้นที่วิกฤตด้านขยะ 8 จังหวัด ได้แก่ ขยะทั่วไป : จ.สมุทรปราการ, นครศรีธรรมราช, กาญจนบุรี, พระนครศรีอยุธยา, ขอนแก่น ขยะอิเล็กทรอนิกส์ : จ.บุรีรัมย์, กาฬสินธุ์ และอุบลราชธานี 2.พื้นที่เสี่ยงด้านมลพิษทางอากาศและสิ่งแวดล้อม 10 จังหวัด ได้แก่ จ.เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ ลำพูน ลำปาง ตาก น่าน พะเยา และ สระบุรี เหมือนทองคำ พื้นที่ จ. พิจิตร, พิษณุโลก ,เพชรบูรณ์ ,เลย สถานที่ทำงาน/สปก.ฯ ได้รับข้อมูล/เข้าถึงฯ : เป้าหมายร้อยละ 5 (10,517 แห่ง) ผลงาน 3,966 แห่ง = 1.89% เข้าร่วมโครงการฯ : เป้าหมายอย่างน้อยจังหวัดละ 20 แห่ง (1,520 แห่ง) ผลงาน 702 แห่ง =46.18% ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ : เป้าหมายร้อยละ 20 (จว. ละ 4 แห่ง) จัดบริการอาชีวอนามัยตามมาตรฐาน มีรพศ/รพท 33 แห่ง (28.4%) ที่ประเมินตามมาตรฐานการจัดบริการ (จากทั้งหมดกี่แห่ง??) อาชีวอนามัย และ รพช 2 แห่ง ตรวจสุขภาพประชาชนรอบเหมือง จำนวน 502 คน พบสงสัย Arsenic poisoning จำนวน 5 ราย สงสัย Manganese poisoning จำนวน 18 ราย สงสัย Arsenic and Manganese poisoning จำนวน 2 ราย สารตะกั่วในเด็กปฐมวัย ดำเนินการสำรวจความเสี่ยงแล้วทั้ง 12 สคร. คิดเป็น 100% * 95% มีการสำรวจความเสี่ยงด้วยการทำ Wipe method เหลืออีก 5% อยู่ระหว่างการดำเนินการ * 40% ได้รับผล LAB เรียบร้อย และอีก 60% อยู่ระหว่างตรวจผล LAB 12
13
ทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสุข
15
นโยบายรมว.กระทรวงสาธารณสุข
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลส้ตยาทร 1.งานสาธารณสุขตามแนวพระราชดำริ 2. บูรณาการองค์ประกอบและบทบาทเขตสุขภาพ 3.ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้ประชาชนทุกกลุ่มวัย 4. เพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการของหน่วยงาน ทุกระดับ 6. วิจัยและพัฒนาเพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาไทยและสมุนไพรไทยให้มีคุณภาพครบวงจร 5.ให้ความสําคัญในการพัฒนากําลังคนด้านสาธารณสุข 8. สนับสนุนกลไก การทํางานสาธารณสุขเพื่อสร้าง ความมั่นคงและความผาสุก สังคมไทย สังคมโลก 7. เร่งรัดปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบกฎเกณฑ์ ให้เอื้อต่อ การปฏิบัติงานสาธารณสุข
16
พื้นที่/เป้าหมาย/ตัวชี้วัด
ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข เดิมนโยบาย Top down โครงการ/กิจกรรม Earmark งบประมาณ Change ปี Top down พื้นที่/เป้าหมาย/ตัวชี้วัด Lump sum งบประมาณ ตัวชี้วัดเป็นเพียงการสะท้อนผลลัพธ์ แต่กระบวนการเป็นตัวส่งให้เกิดผลลัพธ์ ความชัดเจนของมาตรการดำเนินงานจึงเป็นสิ่งสำคัญ
17
M&E การขับเคลื่อนการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรคของประเทศ
ของกรมควบคุมโรค ประจำปี 2559 M&E ประเด็นโรคและภัยสุขภาพ (RDCP) ประเด็นการพัฒนาเชิงระบบ District Health System/DC : Innovation in DHS DC จุดเน้นพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค (Policy Agenda) 15 โครงการสำคัญ NATI Surveillance ENV/OCC Area Base R&D/KM HRP/HRD CD SALT ระบบบริหารจัดการ กรอบยุทธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค สำนัก/สถาบัน - นโยบายและบทบาทการนำ - พื้นที่/เครือข่ายเป้าหมาย - ผลิตภัณฑ์/บริการวิชาการ - สื่อสารกลุ่มเป้าหมาย/เสี่ยง - ระบบ/กลไก/การจัดการ ระดับประเทศ เผ้าระวัง การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน - บุคลากรผู้เชี่ยวชาญ สคร 1-12 - มาตรการ/นวัตกรรม/เครื่องมือด้านวิชาการ - ระบบ/กลไก/การจัดการ เฝ้าระวัง ตอบโต้ฯ ระดับเขต จังหวัด พื้นที่ กองบริหาร - เครือข่ายภายในกรม - คู่มือ/แนวทาง/แนวปฏิบัติ อำนวยการดำเนินงาน - ระบบ/กลไก/การจัดการ ด้านการบริหารจัดการ เขตสุขภาพ/จังหวัด
18
งานในอนาคต เป้าหมายการจัดการลดโรคและภัยสุขภาพที่สำคัญ
การพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรค (พรบ.โรคติดต่อ, IHR, GHSA) แผนยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ – 2564 (Mega project) แผนเตรียมพร้อมรับมือโรคติดต่ออุบัติใหม่แบบบูรณาการ (EID Package) การคุ้มครองสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง (Hot zone) งบประมาณกระตุ้นเศรษฐกิจ ปี 2558
19
1. เป้าหมายการจัดการลดปัญหาโรคและภัยสุขภาพ
Poliomyelitis รักษาสถานะปลอดโปลิโอ(ประเทศไทยปลอดโปลิโอตั้งแต่ปี 2540) Measles ปี ผู้ป่วยหัดไม่เกิน 1 ต่อ ประชากรล้านคน (66 ราย) Rabies ปี ไม่พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า โรคติดต่อสำคัญ Leprosy ปี ผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ไม่เกิน 100 ราย Malaria ปี 2563 ร้อยละ 98 ของอำเภอทั่วประเทศไม่มีผู้ป่วยมาลาเรียติดเชื้อในพื้นที่ AIDS ปี 2573 ยุติปัญหาเอดส์ คือ ไม่มีเด็กคลอดมาติดเชื้อ และผู้ใหญ่ ติดเชื้อรายใหม่ ไม่เกินปีละ 1,000 ราย เป้าหมาย การจัดการลดปัญหาโรคและภัยสุขภาพ TB ปี 2562 ลดผู้ป่วยวัณโรคไม่เกิน 136 ต่อแสนประชากร อุบัติเหตุจราจร ปี 2563 ควบคุมอัตราตายลดลง 50% จากปี 2554 โรคไม่ติดต่อ NCD ปี ลดตายก่อนวัยอันควรจากโรค NCDs ให้เหลือไม่เกิน 12% แอลกอฮอล์ ปี ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์(total APC) เหลือไม่เกิน 6.4 ลิตร/คน/ปี ควบคุมปัจจัยเสี่ยง ยาสูบ ปี 2568 ลดความชุกของการบริโภคยาสูบเหลือไม่เกิน 16.8 % ความดันโลหิตสูง ปี ลดภาวะความดันโลหิตสูงเหลือไม่เกิน 16.7 % เบาหวาน ปี ภาวะเบาหวานเหลือไม่เกิน 6.9 % Env-Occ ภาคเกษตรกรรม ปี 2563 อัตราป่วยด้วยโรคพิษสารกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกรไม่เกิน 9 ต่อแสนประชากร
20
2. การพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรค (พรบ.โรคติดต่อ, IHR / GHSA)
พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ...(ฉบับใหม่) เป็นไปตามกรอบ IHR 2005 และ Global Health Security กลไกการจัดการเชิงนโยบายแผนปฏิบัติการติดตามประเมินผล : คณะกรรมการระดับชาติ : คณะกรรมการระดับจังหวัด : คณะกรรมการช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ ระบบฐานข้อมูลเพื่อการเฝ้าระวังโรค ระบบการจัดการในภาวะฉุกเฉิน
21
DC SYSTEM Surveillance JIT EOC (Mega project) พ.ศ. 2560 – 2567
3. แผนยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศด้านควบคุมโรคของประเทศ (Mega project) พ.ศ – 2567 งบประมาณรวมทั้งสิ้น 2, ลบ รอเสนอ ครม เห็นชอบ Non-communicable disease Travel & Migration DC SYSTEM DC System for National Security Excellence Center JIT Surveillance EOC Agriculture/ Industry Occupational Health Special Setting/Pop Point of entry /Border Health /Migrant Acute/Chronic Infectious diseases Environmental Medicine Regional Disease Control ( Public Health lab) Vaccine Security Infrastructure HRP/HRD International Training Center International Research Center Information Technology Equipment/ Laboratory แผนยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ – 2562 1) เป้าประสงค์หลัก คือ ระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศที่มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน 2) ประกอบด้วย 1) แผนงานพัฒนาระบบควบคุมโรคเพื่อความมั่นคงของประเทศ (Disease Control System for National Security) 2) แผนงานพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (Excellence Center for Disease Control) 3) แผนงานสนับสนุนการพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ได้แก่ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การอบรมระหว่างประเทศ (International Training Center) และศูนย์การวิจัยระหว่างประเทศ (International Research Center) 3) ขั้นตอนการจัดทำแผนยกระดับประสิทธิภาพและพัฒนาสู่ความยั่งยืนด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ – 2562 ได้แก่ 1) กำหนดภาพอนาคตที่พึงประสงค์ วิเคราะห์สถานการณ์ และหาส่วนขาด 2) ระบุความต้องการ/ความจำเป็นที่จะลงทุน 3) กำหนดเป็นแผนปฏิบัติการเพื่อการลงทุน โดยจำแนกรายการการลงทุนเป็นรายปี หมายเหตุ: EOC หมายถึง Emergency Operation Center หรือศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข JIT หมายถึง Joint Investigation Team หรือทีมสอบสวนโรคสหสาขา
22
มติคณะรัฐมนตรี ณ วันที่ 9 มิถุนายน 2558
4. แผนเตรียมพร้อมรับมือโรคติดต่ออุบัติใหม่แบบบูรณาการ (EID Package) มติคณะรัฐมนตรี ณ วันที่ 9 มิถุนายน 2558 เรื่อง รายงานสถานการณ์และความคืบหน้ามาตรการเตรียมความพร้อมในการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า สายพันธุ์ 2012 มอบหมายกระทรวงสาธารณสุขร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดทำแผนปฏิบัติการ ประกอบด้วย แผนระยะสั้น ปานกลาง และระยะยาว กำหนดเป้าหมายการดำเนินการที่ชัดเจนเพื่อเตรียมความพร้อมป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อที่ครอบคลุมทุกโรค เช่น โรคไข้หวัดนก โรคติดต่อไวรัสอีโบลา (Ebola) โรคซาร์ส โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า สายพันธุ์ 2012 รวมทั้งโรคติดต่อที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
23
5. การคุ้มครองสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง
แผนยุทธศาสตร์คุ้มครองสุขภาพในพื้นที่เสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม พื้นที่ Hot Zone 36 จังหวัด มลพิษสารเคมีและสารอันตราย : เหมืองเก่า เหมืองทองคำ มลพิษขยะอิเลคทรอนิกส์ มลพิษทางอากาศ : หมอกควัน ฝุ่นละอองสระบุรี โรงไฟฟ้าชีวมวล พื้นที่ที่คาดว่าจะมีปัญหาสิ่งแวดล้อม: เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ นิคมอุตสาหกรรม แผนยุทธศาสตร์ลดความเหลื่อมล้ำทางสุขภาพ แรงงานนอกระบบ : * เกษตรกร ปัญหาสารกำจัดศัตรูพืช * คนงานเก็บ คุ้ยเขี่ยขยะขายหรือรีไซเคิลขยะ 2. ประชาชนรอบเหมืองทองคำ จ.พิจิตร พิษณุโลก และเพชรบูรณ์
24
ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.