งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการกองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย 5 มีนาคม 2552

2 ผู้สูงอายุไทย ผู้สูงอายุ คือ บุคคลที่อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ทั้งเพศชาย และหญิง (ประชุมสมัชชาผู้สูงอายุโลก กรุงเวียนนา Austria 2525) Young old ปี Medium old ปี Old - old 80 ปี ขึ้นไป พระราชบัญญัติผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2546 บุคคลที่มีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมีสัญชาติไทย

3 สังคมผู้สูงอายุ Aging Society
Aged Society : สังคมนั้นมีผู้สูงอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป 14% ประเทศไทยเป็น Aging Society ปี พ.ศ.2545 คือ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป 8-10% ปี พ.ศ % ปี พ.ศ % (6.4 ล้านคน) ปี พ.ศ คาดการณ์ 13.4% ปี พ.ศ.2563 คาดการณ์ 19.5%

4 ช่องปาก ... ประตูสู่สุขภาพ

5 สุขภาพช่องปากกับสุขภาพและคุณภาพชีวิต
สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์กับโรคทางระบบ - มีปัจจัยเสี่ยงร่วมกัน เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด - เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองตีบตัน (ischemic stroke) และภาวะสุขภาพจิต Ref: ศ.นพ.เทพ หิมะทองคำ “ปัญหาของผู้สูงอายุมีทั้งกายและใจ” ใน มหกรรมการประชุมวิชาการโครงการฟันเทียมพระราชทาน สค.50 พญ.สิรินธร ฉันศิริกาญจน “สุขภาพช่องปากกับสุขภาพร่างกาย” ใน มหกรรมการประชุมวิชาการโครงการฟันเทียมพระราชทาน สค.50

6 สุขภาพช่องปากกับสุขภาพและคุณภาพชีวิต
การสูญเสียฟันและจำนวนฟันที่เหลือ - มีผลต่อการเคี้ยวอาหาร การเลือกชนิดอาหาร ส่งผลต่อภาวะโภชนาการ - ลดประสิทธิภาพการเคี้ยวอาหาร เลือกกินอาหารที่เคี้ยวง่าย ซึ่งมีไขมันสูง คอเลสเตอรอลสูง หลีกเลี่ยงอาหารที่มีกากใยซึ่งร่างกายจำเป็นต้องได้รับ - เป็นปัจจัยเสี่ยงของการมีน้ำหนักลดลง Ref: Petersen PE et al . Improving the oral health of older people : the approach of the WHO Global Oral Health Programme

7 สุขภาพช่องปากกับสุขภาพและคุณภาพชีวิต
ความเจ็บปวด ไม่สบายจากฟัน มีผลต่อการพักผ่อน นอนหลับ การทำงาน และการทำกิจกรรมในชีวิตประจำวัน ผู้สูงอายุที่มีปัญหาจากการเคี้ยวอาหาร มีโอกาส underweight เป็น 3 เท่า ของผู้ที่ไม่มีปัญหา สุขภาพฟัน สัมพันธ์กับความสุข และประสิทธิภาพ การเคี้ยวอาหาร รวมทั้ง ความมั่นใจ ในการเข้าร่วมกิจกรรมในสังคม Ref: พัชราวรรณ ศรีศิลปนันทน์ ทำไมต้องดูแลสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ในมหกรรมการประชุมวิชาการโครงการฟันเทียมพระราชทาน สค.50

8 แนวคิดการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

9 1. ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย
พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น Goals : Healthy People Healthy Environment พัฒนาชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

10 ประชาชน รัฐ เอกชน Bangkok Charter In A Globalize World Build capacity
Partner ออตตาวา เพิ่มความสามารถของชุมชน พัฒนาทักษะบุคคล สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ปรับระบบบริการสุขภพ สร้างนโยบายสาธารณะ เพื่อสุขภาพ ประชาชน รัฐ Advocate Invest MEANs (ยุทธวิธี) - Planning - Allocate Resource - Target - Indicator - Monitoring - Report เอกชน Regulate and Legislate

11 Six Key Functions to High Performance Organization
Organization Development Surveillances M & E Healthy People Thailand Consumer Protection Information Management Provider Support Knowledge Funder Alliance R & D M & E Human Resource Development

12 แนวคิดการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
แพทย์/พยาบาล ฯลฯ บริการโรคเรื้อรัง สมรรถนะ ระบบส่งต่อ 3. ต้องพึ่งคนอื่น บริการทาง การแพทย์ ดูแล กาย ใจ สังคม กองทุนบำนาญ แห่งชาติ ผู้ช่วยผู้ดูแล หลักสูตร 1 มาตรฐาน พัฒนาสมรรถนะ ส่งเสริมสุขภาพ /คัดกรอง นโยบายที่ บูรณาการ ยุทธศาสตร์ ที่ปฏิบัติได้ คุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ อาสาสมัคร 1.พึ่งตนเอง ช่วยคนอื่นได้ สภา/ชมรม ผู้ช่วยผู้ดูแล หลักสูตร 2 มาตรฐาน พัฒนาศักยภาพ ระบบบริการ ทางการแพทย์ คุณภาพ 2. ดูแลตนเองได้บ้าง การดูแล ทาง กาย ใจ การดูแล ทางสังคม การดูแลที่บ้าน ศูนย์ดูแลกลางวัน การมีส่วนร่วม ของท้องถิ่น การดูแลในชุมชน อาสาสมัคร ชมรม เครือข่ายพระสงฆ์ วัดส่งเสริมสุขภาพ

13 2.มิติการดูแลผู้สูงอายุ
(นพ.เกษม เวชสุทธานนท์: สำนักบริหารการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ) ไม่ใช่เพียงแต่การวินิจฉัยโรคและให้การรักษาโรคเป็นครั้งๆ  พยายามลด ป้องกันโรค/ทุพพลภาพ  แก้ปัญหาสุขภาพในเชิงกว้าง ทั้งจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ  ให้สามารถพึ่งพาตนเองให้มากที่สุด  มีความมั่นคงในชีวิต มีคุณค่าศักดิ์ศรี นำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดี  ดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่ + ความร่วมมือจากบุคคล + องค์กรต่างๆที่เกี่ยวข้อง

14 แนวคิดของการจัดระบบดูแลผู้สูงอายุ
การเข้าถึงบริการ(Accessibility) เน้นความสะดวก - รับบริการใกล้บ้าน - หรือเข้าไปในชุมชน โดยหน่วยเคลื่อนที่ เยี่ยมบ้าน จัดกิจกรรมร่วมกับชมรมผู้สูงอายุ การดูแลอย่างต่อเนื่อง (Continuity of Care) การดูแลแบบองค์รวม(Holistic Care)

15 บริการแบบผสมผสาน (Integrated Care )
- รักษา ส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรค ฟื้นฟูสภาพ - ครอบคลุมทั้งผู้สูงอายุ ผู้ดูแล ครอบครัว และชุมชน - ครอบคลุม home care, day care, chronic care, end of life care การประสานการดูแล (Co-ordination of Care) - คู่มือ/แนวทางการดูแล - ระบบส่งต่อ การให้คำปรึกษา - การเชื่อมระบบข้อมูล - ประสานกับภาคประชาชน ชุมชน วัด ท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

16 การเสริมพลังชุมชน (Community Empowerment) มีศักยภาพในการจัดการปัญหาผู้สูงอายุ
- การเข้าถึง ข้อมูล องค์ความรู้ - การรวมกลุ่ม วางแผน จัดการภายใน ระดมทรัพยากร - ประสาน ดำเนินการ ติดตามการทำงานด้วยตนเอง กิจกรรมตัวอย่างได้แก่ ชมรม กองทุน จิตอาสา การพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อผู้สูงอายุของชุมชน และท้องถิ่น

17 3. สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ...2548 -2551
 2547 - ผู้สูงอายุต้องการใส่ฟันเทียมเพื่อการเคี้ยวอาหาร  2548 - เริ่มพัฒนาการดูแลทันตสุขภาพผู้สูงอายุ - ความคาดหวัง ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม สุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี

18 สุขภาพช่องปากดี มีฟันใช้เคี้ยวอาหารได้อย่างเหมาะสม ไม่มีโรคในช่องปาก
มีโรคในช่องปาก แต่ ได้รับการรักษาแล้ว พฤติกรรม - รู้จักดูแลอนามัยช่องปากด้วยตนเอง หรือโดยผู้ดูแล - หลีกเลี่ยง หรือ ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค - รับบริการตรวจสุขภาพช่องปากทุกปี - รับบริการป้องกัน รักษา ฟื้นฟูตามความจำเป็น

19 การจัดกิจกรรมเพื่อสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
กลุ่มเสี่ยง ป้องกันโรคในช่องปาก ตามชุดสิทธิประโยชน์ 167 หน่วยบริการ ผู้สูงอายุ มีฟันเคี้ยวอาหาร ได้อย่างเหมาะสม กลุ่มที่สูญเสียฟัน เฉพาะผู้ที่ใส่ฟันเทียม ปีละ30,000 ราย เพิ่มศักยภาพในการดูแลตนเอง เฉพาะในชมรมผู้สูงอายุ 120 ชมรม

20 การพัฒนาระบบบริการและระบบสนับสนุน
ศูนย์อนามัย / กองทันตฯ สสจ. CUP PCU มีภูมิปัญญา มีความรู้ พร้อมจะทำงานเพื่อส่วนรวม เข้าใจผู้สูงวัยด้วยกัน ชมรม เกิดกิจกรรมโดยชมรม (สุขภาพช่องปาก) - ให้ความรู้ - Self care / การเลือกกินอาหาร - ข่าวสาร - อื่นๆ ผู้สูงอายุ

21 มีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
สาธารณสุข ศูนย์อนามัย / กองทันตฯ อบต./เทศบาล สสจ. CUP PCU ชมรมผู้สูงอายุ วิทยาลัยพยาบาล สมาชิกผู้สูงอายุ สพช. สภาฯ ผู้สูงอายุ อสม. +………..

22 4. สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุในปัจจุบัน
มีฟันใช้เคี้ยวอาหารได้อย่างเหมาะสม - ฟันแท้/เทียม 4 คู่สบ (survey รายปี) : 44% (ปี48) % (ปี 51) - ฟันแท้อย่างน้อย 20 ซี่ (survey รายปี) : 37% (ปี 51) - สูญเสียฟันอย่างน้อย 1 ซี่ 92%(43-44) % (50) - สูญเสียฟันทั้งปาก 8%(43-44) % (50)

23 สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุในปัจจุบัน
ไม่มีโรคในช่องปาก (น้อยมาก : 10 ยอดฟันดี วัย 80 ปี) มีโรคในช่องปาก แต่ได้รับการรักษาแล้ว (น้อยมาก) - ฟันผุ % / 55% ไม่ได้รักษา - รากฟันผุ 21% / รักษา 2% - ปริทันต์ pocket 4-5mm. 36%(43-44) %(50) pocket > 6mm. 15 %(43-44) % (50)

24 สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุในปัจจุบัน
พฤติกรรม - รู้จักดูแลอนามัยช่องปากด้วยตนเอง หรือโดยผู้ดูแล - หลีกเลี่ยง หรือ ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค - รับบริการตรวจสุขภาพช่องปากทุกปี - รับบริการป้องกัน รักษา ฟื้นฟูตามความจำเป็น ผู้ที่มีฟัน : แปรงฟัน 74% แปรง+อุปกรณ์เสริม 7% ผู้ที่ไม่มีฟัน : แปรง 0.8% บ้วนปาก 1.4% ผู้ที่ใส่ฟันเทียม : แปรง 22% ล้างฟันเทียม 3 % สูบบุหรี่ 18% (7 มวน/วัน) เคี้ยวหมาก 17% ไม่เคยไปรับบริการทันตกรรม 67%

25 ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

26 เครือข่ายวัยทำงานและผู้สูงอายุในพื้นที่
ศูนย์เขตฯ รพ. PCU ชมรม สสจ. สาธารณสุข วัด กรม/กองส่วนกลาง สำนักตรวจฯ พื้นที่ ชุมชน ศูนย์ 3 วัยฯ องค์กรฯ ท้องถิ่น สถานประกอบการ คณะทันต หน่วยพระราชทาน

27 3. การสำรวจสภาวะช่องปากกลุ่มผู้สูงอายุรายปี
2. การพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายตามบทบาทหน้าที่ พัฒนาทักษะ ทันตแพทย์ / ทันตบุคลากร / บุคลากรสาธารณสุข / ชมรมผู้สูงอายุ/ อสม. / อื่นๆ 4. ลดการสูญเสียฟันก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ - พัฒนางานส่งเสริม โดย อสม. - พัฒนารูปแบบการดำเนินงานในสถานประกอบการ/ชุมชน 1. Reoriented Health Service โดยหน่วยบริการ - โครงการฟันเทียมพระราชทาน (ประมาณ 120,000 คน) - โครงการพัฒนางานทันตกรรมป้องกัน ตามชุดสิทธิประโยชน์ (21 จว. 167 หน่วยบริการ) โดยภาคประชาชน - โครงการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพช่องปากโดยชมรมผู้สูงอายุ 37 จว. 120 ชมรมฯ 3. การสำรวจสภาวะช่องปากกลุ่มผู้สูงอายุรายปี 5. รณรงค์สร้างกระแส - โครงการฟันเทียมพระราชทาน ร่วมกับหน่วยฯ พระราชทาน และเอกชน - “คนไทยฟันดี สดุดีสมเด็จย่า” และ “10 ยอดฟันดีวัย 80 ปี”

28 ระบบบริการทันตสุขภาพภาครัฐ - ภาคประชาชน
1. เมื่อเป็นผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพ ช่องปากตนเอง การตรวจสุขภาพช่องปาก และให้คำแนะนำ การจัดบริการส่งเสริมป้องกัน การจัดบริการรักษา ควบคุมโรคและใส่ฟัน โดยชมรมผู้สูงอายุ โดยภาครัฐ โดยภาครัฐ โดยภาครัฐ -สร้างความเข้มแข็งให้ชมรม -ชมรมจัดกิจกรรมเพื่อผู้สูงอายุ สร้างระบบการส่งต่อไป-กลับ มาตรการทางสังคม เฝ้าระวังด้านทันตสุขภาพ ตรวจสุขภาพช่องปาก ฝึกทักษะควบคุมคราบจุลินทรีย์ ฟลูออไรด์ ขูดหินน้ำลายและขัดฟัน จากชมรมผู้สูงอายุ จากคลินิกสูงอายุจากคลินิกทันตกรรม อื่น ๆ CUP/PCU/สอ./รพ.ตำบล สนับสนุน ให้คุณค่า สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและเครือข่าย 2. เตรียมก่อนเป็นผู้สูงอายุ

29 Care Provider / Case manager
ให้บริการด้านสุขภาพ ด้านรักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพ ให้ข้อมูลทางวิชาการ โดยเน้นที่เจ้าหน้าที่เป็นคนดำเนินการหลัก(Key actor) - Case manager การสนับสนุน ต่อยอดสิ่งที่ทำดีอยู่แล้ว ประสาน เชื่อมโยงกับแหล่งบริการ หรือแหล่งทรัพยากรอื่น ให้เกิด การดูแล การจัดการที่มีประสิทธิภาพ คุณภาพ อย่างต่อเนื่อง โดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (stakeholder)

30 บทบาท : ผู้จัดการ ประสานการดูแล
 Case manager บทบาท : ผู้จัดการ ประสานการดูแล ตั้งแต่หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาล ไปถึงที่บ้านและชุมชน หน้าที่ : Advocate and empowerment กระตุ้น สนับสนุน และ เสริมศักยภาพ ผู้สูงอายุ ผู้ดูแล ผู้นำชุมชน และผู้เกี่ยวข้องให้มีบทบาท มีส่วนร่วมหลัก ในการดูแลและจัดการปัญหาผู้สูงอายุ

31 ดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุร่วมกัน
งานส่งเสริมสุขภาพ - Long term care, Home health care - 3 โรค : เบาหวาน ความดันโลหิตสูง สมองเสื่อม + การดูแลสุขภาพช่องปาก ??? งานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก - กลุ่มเสี่ยง - ชมรมผู้สูงอายุ - ฟันเทียมพระราชทาน + ค้นหากลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง สมองเสื่อม ??? - ลดโรคและการสูญเสียฟันในวัยทำงาน ???

32 Oral and dental lesions in geriatric patients
Teeth and periodontal tissue Jaw bones and TMJ Oral mucosae Salivary glands Neurological disorders

33  จุดหมายเดียวกัน ไปได้หลายทาง  ใช้หลายยุทธวิธี เสริมผลกัน
ผู้สูงอายุ = ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป - สภาพช่องปาก : ปี,70-79 ปี, 80,90 ปีขึ้นไป ??? - สภาพร่างกาย : ดูแลตนเองได้ ช่วยสังคมได้ พอจะดูแลตนเองได้ ดูแลตนเองไม่ได้ ??? - เทคนิคการสื่อสารกับผู้สูงอายุ ??? - ความซับซ้อนของผู้สูงอายุ ??? อย่ายึดติดกับรูปแบบ  จุดหมายเดียวกัน ไปได้หลายทาง  ใช้หลายยุทธวิธี เสริมผลกัน

34 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google