งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารงานสอบบัญชี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารงานสอบบัญชี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารงานสอบบัญชี
สำนักมาตรฐานการบัญชีและการสอบบัญชี

2 การบริหารงานสอบบัญชี
ผสบ. สตส. สตท. - ทบทวนการแบ่งกลุ่ม - แบ่งกลุ่มสก./ก. - แต่งตั้ง ผสบ. - มอบหมายงาน - การวางแผน - CAQC - การควบคุมงาน - การควบคุม ผช. ผสบ. - การวางแผน - การสรุป&รายงาน การสอบทานก่อน ลงลายมือชื่อ - การรายงานข้อสังเกต 2

3 การแบ่งกลุ่มสก./ก. 1. ก. พร้อมรับการตรวจสอบ
จัดทำงบการเงินได้เอง ทุกขั้นตอนการสอบบัญชี 1. ก. พร้อมรับการตรวจสอบ 2. ก. ไม่พร้อมรับการตรวจสอบ 3. ก. จัดตั้งใหม่ 4. ก. อาจถูกสั่งเลิก 5. ต้องเลิกตามกฎหมาย 6. ก. ชำระบัญชี ผู้อื่นจัดทำงบการเงิน ระหว่างปีตรวจแนะนำฯ จัดทำบัญชี&งบการเงินไม่ได้

4 แนวทางการปฏิบัติงานสอบบัญชีปี 2562 การปฏิบัติงานสอบบัญชี
ระดับ ผู้สอบบัญชี ตำแหน่ง ระยะเวลา การปฏิบัติงานสอบบัญชี ระดับ “ต้น” นวตบ ชก ไม่เกิน 5 ปี จพตบ ชง ไม่เกิน 15 ปี ระดับ “กลาง” นวตบ ชก 5 ปีขึ้นไป แต่ไม่เกิน 10 ปี จพตบ ชง 15 ปีขึ้นไป จพตบ อาวุโส ระดับ “สูง” 10 ปีขึ้นไป นวตบ ชพ นวตบ ชช

5 ระดับความยากในการสอบบัญชี ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
ผู้สอบบัญชี ระดับความยากในการสอบบัญชี ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ระดับ “ต้น” ยากน้อย ปานกลาง ไม่สามารถจัดระดับความยากได้ ระดับ “กลาง” ยากมาก, ยากปานกลาง , ยากน้อย ระดับ “สูง” ทุกระดับความยาก

6 กระบวนการตรวจสอบบัญชี ปี 2561
จัดทำกระดาษทำการ สแกนธุรกรรม เชิงลึก ความเสี่ยงที่หลงเหลืออยู่ ความเสี่ยง “สูง” ความเสี่ยง “ปานกลาง” วางแผนการสอบบัญชีโดยรวม จัดทำแนวการสอบบัญชี วิเคราะห์โครงสร้างเงินทุน วัตถุประสงค์การตรวจสอบ ระบุปัจจัยเสี่ยง วิธีการตรวจสอบ ขนาดตัวอย่างในการตรวจสอบ ชื่อผู้ปฏิบัติงาน/ช่วงเวลาที่ตรวจสอบ ความเสี่ยง “ต่ำ” ใช้ดุลยพินิจ 1.ให้จัดทำกระดาษทำการตามรูปแบบ 2.ให้มีการจดบันทึกผลการตรวจสอบตามวิธีการตรวจสอบ 3.เครื่องหมายการตรวจสอบ 4.สรุปผลการตรวจสอบ 5.ชื่อผู้จัดทำ/ผู้สอบบัญชีและวันเดือนปีที่ปฏิบัติ

7 สหกรณ์ที่มีระดับความยากในการสอบบัญชี “น้อย” และ “ไม่สามารถจัดระดับความยากได้” และ
กลุ่มเกษตรกรที่มีระดับความยากในการสอบบัญชี “ปานกลาง” และ “น้อย” และ “ไม่สามารถจัดระดับความยากได้” ผู้สอบบัญชีางแผนงานสอบบัญชี โดยจัดทำเฉพาะ (1) ประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชี และ (3) แนวการสอบบัญชี โดยไม่ต้องจัดทำ (2) แผนการสอบบัญชีโดยรวม ทั้งนี้ ให้ผู้สอบบัญชีกำหนดระดับ ความมีสาระสำคัญไว้ในบันทึกการปฏิบัติงานสอบบัญชีแทน

8 การวิเคราะห์ข้อมูลการทำธุรกรรมเชิงลึกของสหกรณ์
การสแกนธุรกรรมเชิงลึก คือ การวิเคราะห์ข้อมูลการทำธุรกรรมของสหกรณ์อย่างละเอียด เพื่อให้ทราบข้อมูล เกี่ยวกับโครงสร้างธุรกิจ อำนาจหน้าที่ ระบบการควบคุมภายใน ระบบบัญชีของธุรกิจและอื่น ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่ง ข้อมูลที่สามารถระบุปัจจัยเสี่ยงในการสอบบัญชีได้ ขั้นตอนการสแกนธุรกรรม 1. วางแผนการวิเคราะห์ข้อมูลการทำธุรกรรมของสหกรณ์ร่วมกับทีมงาน 2. เข้าวิเคราะห์การทำธุรกรรมเชิงลึกของสหกรณ์ร่วมกับทีมงาน ดังนี้ - โครงสร้างองค์กร - อำนาจหน้าที่ - สแกนธุรกรรมทุกธุรกิจ (เกี่ยวกับระเบียบโดยย่อ/การปฏิบัติตามระเบียบ/การควบคุมภายใน) - ระบบบัญชีของแต่ละธุรกิจ - รายการอื่นนอกธุรกิจ ให้สแกนตามความเสี่ยงจากการวิเคราะห์โครงสร้างเงินทุนของสหกรณ์ 3. สรุปผลการวิเคราะห์การทำธุรกรรมเชิงลึกของสหกรณ์ 4. นำข้อมูลการสแกนธุรกรรม+วิเคราะห์โครงสร้างไประบุปัจจัยเสี่ยง เพื่อใช้ในการประเมินความเสี่ยง

9 2. การวิเคราะห์โครงสร้างเงินทุนของสหกรณ์
2.1 ใช้ข้อมูลฐานะการเงินของสหกรณ์ปีล่าสุด/ข้อมูลล่าสุด 2.2 ดูโครงสร้างเงินทุนของสหกรณ์ - แหล่งที่มาของเงินทุน - แหล่งใช้ไปของเงินทุน 2.3 พิจารณารายการที่มีสาระสำคัญหรือมีความเสี่ยงที่อาจมีผลกระทบต่องบการเงิน ได้แก่ รายการลูกหนี้เงินกู้ เงินรับฝาก ทุนเรือนหุ้น สินค้าคงเหลือ ฯลฯ 2.4 นำรายการที่มีความเสี่ยงจากโครงสร้างทางการเงิน มาสแกนธุรกรรมเชิงลึกเพิ่มเติมของสหกรณ์

10 การวิเคราะห์ข้อมูลการทำธุรกรรมเชิงลึกของสหกรณ์
ตัวอย่าง การสแกนธุรกรรมเชิงลึกของสหกรณ์ วิเคราะห์โครงสร้างทางการเงิน **ข้อมูลที่ควรสแกนธุรกรรม** ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจเงินรับฝาก 3. เงินสด/เงินฝากธนาคาร 4. เงินฝากสหกรณ์อื่น 5. ที่ดินอาคารและอุปกรณ์ 6. เจ้าหนี้เงินกู้ 7. ทุนเรือนหุ้น การสแกนธุรกรรมธุรกิจสินเชื่อ เรื่องที่ต้องสแกนธุรกรรม โครงสร้างองค์กร อำนาจหน้าที่ สแกนธุรกรรมรายธุรกิจ - ระเบียบโดยย่อ - การควบคุมภายใน - การปฏิบัติตาม - ระบบบัญชีของแต่ละธุรกิจ สแกนธุรกรรมรายการอื่นนอกธุรกิจ ให้สแกนตามความเสี่ยงจากการวิเคราะห์โครงสร้าง **ขั้นตอน** 1. โครงสร้างผู้รับผิดชอบ ธุรกิจสินเชื่อและอำนาจหน้าที่ 2. สรุประเบียบโดยย่อ เช่น - ประเภทเงินกู้ - อัตราดอกเบี้ย/งวดชำระ - หลักประกัน - วงเงินสินเชื่อ - การอนุมัติ 3. การควบคุมภายในสินเชื่อ 4. การปฏิบัติตามระบบ การควบคุมภายใน 5. ระบบบัญชีธุรกิจสินเชื่อ

11 การวิเคราะห์ข้อมูลการทำธุรกรรมเชิงลึกของสหกรณ์
ตัวอย่าง การสแกนธุรกิจสินเชื่อ 1. วิเคราะห์โครงสร้างสหกรณ์ + อำนาจหน้าที่

12 การวิเคราะห์ข้อมูลการทำธุรกรรมเชิงลึกของสหกรณ์
1. วิเคราะห์โครงสร้างสหกรณ์ + อำนาจหน้าที่ รับสัญญาเงินกู้ / เสนออนุมัติ /จ่ายเงินกู้ / รับชำระ ทะเบียนคุม

13 การวิเคราะห์ข้อมูลการทำธุรกรรมเชิงลึกของสหกรณ์
ตัวอย่าง ผังการแสกนธุรกิจสินเชื่อ

14 การวิเคราะห์ข้อมูลการทำธุรกรรมเชิงลึกของสหกรณ์
ตัวอย่าง การสแกนธุรกิจสินเชื่อ 2. ระเบียบธุรกิจสินเชื่อ ให้เงินกู้ 2 ประเภท ฉุกเฉินและสามัญ วงเงินฉุกเฉิน ไม่เกิน 50,000 บาท สามัญ ไม่เกิน 1 ล้านบาท หลักประกัน บุคคลค้ำประกัน 2 คนขึ้นไป (กรณียอดเงินกู้สามัญไม่เกิน 5 แสนบาท) ใช้หลักทรัพย์ค้ำประกัน และวงเงินกู้ต้องอยู่ภายใน ร้อยละ 90 ของหลักทรัพย์ค้ำประกัน (กรณียอดเงินกู้สามัญเกินกว่า 5 แสนบาท) อำนาจอนุมัติ - ประเภทฉุกเฉิน ผู้จัดการ , ประเภทสามัญ คณะกรรมการดำเนินการ เงินงวดชำระ - ประเภทฉุกเฉิน 12 งวด , ประเภทสามัญ 200 งวด ดอกเบี้ย ร้อยละ 7 บาทต่อปี อัตราค่าปรับ ร้อยละ 3 บาทต่อปี (อัตราดอกเบี้ยมีการเปลี่ยนแปลงจากปีก่อน โดยปีก่อนสหกรณ์กำหนดอัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 8 บาทต่อปี)

15 การวิเคราะห์ข้อมูลการทำธุรกรรมเชิงลึกของสหกรณ์
ตัวอย่าง การสแกนธุรกิจสินเชื่อ 3. ระบบการควบคุมภายใน มีการแบ่งแยกเจ้าหน้าที่สินเชื่อกับเจ้าหน้าที่การเงิน มีการแบ่งแยกหน้าที่ในการบันทึกคำขอกู้ การอนุมัติเงินกู้ การทำสัญญาเงินกู้ และเจ้าหน้าที่ตรวจสอบประวัติผู้ขอกู้ มีการกำหนดระเบียบ มีการอนุมัติตามลำดับ มีการจัดทำทะเบียนคุมเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง มีการสอบทานข้อมูลระหว่างฝ่ายบัญชี กับฝ่ายการเงินและสินเชื่อ

16 การวิเคราะห์ข้อมูลการทำธุรกรรมเชิงลึกของสหกรณ์
ตัวอย่าง การสแกนธุรกิจสินเชื่อ 4. การปฏิบัติตาม 5. ระบบบัญชีธุรกิจสินเชื่อ สหกรณ์ไม่ให้ความสำคัญในการตรวจสอบมูลค่าหลักทรัพย์ค้ำประกัน หรือประเมินราคาหลักทรัพย์ค้ำประกัน สหกรณ์มีการตรวจสอบประวัติผู้กู้ เป็นบางราย ใช้โปรแกรมระบบบัญชีที่พัฒนาจากบุคคลภายนอก ออกใบเสร็จและสัญญาจากโปรแกรม (เจ้าหน้าที่สหกรณ์สามารถบันทึกยอดชำระได้เอง) จัดทำทะเบียนคุมในโปรแกรม ยอดเงินที่โอนเข้าบัญชีธนาคารของสหกรณ์จำนวนที่ไม่ทราบผู้โอน สหกรณ์จะบันทึกไว้เป็นเงินรอตรวจสอบ

17 3. พิจารณาระบุปัจจัยเสี่ยง
3.1 เลือกธุรกิจของสหกรณ์ ยอดคงเหลือตามงบการเงินประเภท รายการ หรือการเปิดเผยรายการในงบการเงิน ที่ผู้สอบบัญชี จะเริ่มประเมินความเสี่ยง 3.2 ระบุปัจจัยเสี่ยง ตามธุรกิจของสหกรณ์ ยอดคงเหลือ ตามงบการเงิน ประเภทรายการ หรือการเปิดเผยรายการ ในงบการเงินที่ผู้สอบบัญชีเลือก

18 4. การวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยง
ประเภทของรายการ และเหตุการณ์ สำหรับระยะเวลาที่ตรวจสอบ เกิดขึ้นจริง OCCURRENCES : O ความครบถ้วน COMPLETENESS : C ความถูกต้อง ACCURACY : A ตัดยอด CUTOFF : CU จัดประเภทรายการ CLASSIFICATION : CL ยอดคงเหลือทางบัญชี มีอยู่จริง EXISTENCE : E กรรมสิทธิ์และข้อผูกพัน RIGHTS AND OBLIGATIONS : R&O การแสดงมูลค่าและการปันส่วนVALUATION AND ALLOCATION : V&A การแสดงรายการ และการเปิดเผยข้อมูล การเกิดขึ้นจริงและกรรมสิทธิ์และข้อผูกพัน OCCURRENCE AND RIGHTS AND OBLIGATIONS : O&R การจัดประเภทรายการและเข้าใจได้CLASSIFICATION AND UNDERSTANDAVILITY : C&U ความถูกต้องและการแสดงมูลค่า ACCURACY AND VALUATION : A&V

19 ผู้สอบบัญชีสามารถ DOWLOAD เครื่องมือช่วยในการประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชี (EXCEL) ได้ที่ Website สำนักมาตรฐานการบัญชีและการสอบบัญชี

20 การจัดเก็บเอกสารการประเมินความเสี่ยง
เอกสารการประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีต้องจัดเก็บไว้ในกระดาษทำการ ประกอบด้วย 1. เอกสารการวิเคราะห์โครงสร้างเงินทุนของสหกรณ์ 2. เอกสารการสแกนธุรกรรมเชิงลึกของสหกรณ์ 3. รายงานผลการประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชีสหกรณ์ 4. รายงานสรุปผลการประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชีสหกรณ์

21 แนวการสอบบัญชี

22 รูปแบบแนวการสอบบัญชี
ชื่อเรื่องที่ตรวจสอบ วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ กระดาษทำการอ้างอิง ปัจจัยเสี่ยง วิธีการตรวจสอบ ชื่อผู้ตรวจสอบและวันที่ตรวจ หมายเหตุ

23 รูปแบบแนวการสอบบัญชี

24 การจัดทำกระดาษทำการ

25 องค์ประกอบของรายการที่ต้องมีในกระดาษทำการ
1. หัวกระดาษทำการ 2. ยอดคงเหลือก่อนปรับปรุง / รายการปรับปรุง/ยอดคงเหลือ หลังปรับปรุง 3. เครื่องหมายตรวจสอบ 4. บันทึกผลการตรวจสอบตามวิธีการตรวจสอบ 5. สรุปผลการตรวจสอบ 6. ลงชื่อผู้จัดทำ และผู้สอบบัญชี ทั้งนี้ ให้จัดทำกระดาษทำการแนบท้ายแนวการสอบบัญชี ในแต่ละธุรกิจและรายการในงบการเงิน

26

27 รายงานของผู้สอบบัญชี - โครงสร้าง
ความเห็น เกณฑ์ในการแสดงความเห็น ความไม่แน่นอนที่มีสาระสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานต่อเนื่องของบริษัท (ถ้ามี) เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ Key Audit Matters (KAM) ข้อมูลและเหตุการณ์ที่เน้น (ถ้ามี) เรื่องอื่น (ถ้ามี) ข้อมูลอื่น ความรับผิดชอบของคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ต่องบการเงิน ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิน รายงานประจำปี (ถ้าจัดทำ) “ความไม่แน่นอนที่มีสาระสำคัญ – เป็น KAM แต่รายงานในวรรคแยกต่างหาก” “KAM” บังคับเฉพาะกิจการที่มีหุ้นซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์/กิจการอื่นจะรายงาน KAM ก็ได้  สหกรณ์ - ต้องรายงาน KAM  ไม่รายงาน KAM ถ้าไม่แสดงความเห็น “ข้อมูลอื่น” หมายถึง ข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงินที่อยู่ใน “รายงานประจำปี” แสดงก่อน KAM ถ้าสรุปว่า ข้อมูลอื่นมีข้อมูลที่แสดงขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ – ไม่รายงาน “ข้อมูลอื่น” ถ้าไม่แสดงความเห็น สหกรณ์ - ไม่ต้องรายงาน “ข้อมูลและเหตุการณ์ที่เน้น” แสดงก่อน KAM ถ้าพิจารณาว่าสำคัญกว่า KAM

28 เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ - วัตถุประสงค์
KEY AUDIT MATTERS (KAM)  เพิ่มคุณค่าของรายงานของผู้สอบบัญชี KAM ให้ข้อมูลแบบเจาะลึกเรื่อง/ประเด็น (เกี่ยวกับงบการเงินและการตรวจสอบ) ที่มีความเสี่ยงสูง เหตุใดจึงเสี่ยง และผู้สอบบัญชีตรวจ/ตอบสนองอย่างไร ผู้ใช้งบการเงินและรายงานเข้าใจกิจการดีขึ้นโดยเฉพาะเรื่อง/ประเด็นที่สำคัญที่สุดเบื้องหลังการจัดทำงบการเงิน และได้ความมั่นใจมากขึ้นในความเชื่อถือได้ของงบการเงิน  เพิ่มการสื่อสารระหว่างผู้สอบบัญชีกับคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ ซึ่งเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการสอบบัญชี และการกำกับดูแลกิจการ  คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์สนใจเปิดเผยข้อมูลเพิ่มขึ้น เมื่อได้รับทราบเกี่ยวกับ KAM ข้อมูลในงบการเงิน – มีมาก ผู้สอบบัญชีช่วยชี้ เรื่องที่มีนัยสำคัญที่สุดจากการสอบบัญชี

29 การพิจารณาว่าเรื่องใดเป็นเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ (KAM)
เรื่องที่สื่อสารกับคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ซึ่งผู้สอบบัญชีต้องใช้ดุลยพินิจอย่างมาก ในการวางแผนและปฏิบัติงานสอบบัญชีและประเมินผล เรื่องที่มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดการแสดงข้อมูลขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ หรือความเสี่ยงที่มีนัยสำคัญ ความเสี่ยงยิ่งสูง ยิ่งต้องใช้ดุลพินิจมากขึ้นในการวางแผน ปฏิบัติงานตรวจ และประเมินผลการใช้วิธีการตรวจสอบเพิ่มเติม เพื่อให้สามารถแสดงความเห็นต่องบการเงิน เรื่อง/รายการในงบการเงินซึ่งผู้บริหารต้องใช้ดุลพินิจที่สำคัญรวมถึงประมาณการทางบัญชีที่มีความไม่แน่นอนของประมาณการสูง ทำให้ผู้สอบบัญชีต้องใช้ดุลยพินิจที่สำคัญ เหตุการณ์/รายการที่มีนัยสำคัญ ซึ่งมีผลกระทบการสอบบัญชี เช่น  รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน  รายการที่ไม่ได้เกิดขึ้นตามปกติธุรกิจ  รายการผิดปกติ  พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ บัญชี กฎหมาย อุตสาหกรรม และอื่นๆ ซึ่งกระทบข้อสมมติหรือดุลยพินิจของคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ KAM ในปีก่อนอาจยังคงเป็น KAM ในปีปัจจุบัน เรื่องที่ไม่ได้เปิดเผยในงบการเงินแต่เป็นเรื่องที่ผู้สอบบัญชีให้ความสำคัญเป็นพิเศษ เช่น การนำระบบ IT ใหม่มาใช้ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในระบบ IT ที่ใช้อยู่

30 เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ - การนำเสนอในรายงาน
คำนำ “เรื่องสำคัญในการตรวจสอบคือเรื่องต่างๆ ที่มีนัยสำคัญที่สุดในการตรวจสอบงบการเงินสำหรับ งวดปัจจุบันตามดุลพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพของข้าพเจ้า เรื่องเหล่านี้ได้มีการระบุในบริบทของ การตรวจสอบงบการเงินโดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้ แสดงความเห็นแยกต่างหากสำหรับเรื่องเหล่านี้” คำอธิบายเรื่องสำคัญแต่ละเรื่อง เรื่องอะไร อ้างถึงการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องในงบการเงิน เหตุใดจึงพิจารณาว่าเป็นเรื่องที่มีนัยสำคัญที่สุด (อธิบายลักษณะของความเสี่ยง) ได้จัดการ/ตรวจสอบเรื่องอย่างไร (วิธีตอบสนองที่สำคัญที่สุด วิธีตรวจสอบในภาพรวม) ผลการตรวจ (ระวังไม่ให้เกิดการเข้าใจผิดว่าเป็นการแสดงความเห็น) มี/ไม่มีก็ได้ อธิบายอย่างกระชับ ครบถ้วน เข้าใจง่าย เชื่อมโยงกับสถานการณ์/ลักษณะเฉพาะของกิจการ/เลี่ยงศัพท์เฉพาะทาง (ถ้าเลี่ยงได้) ถ้ามี KAM นอกเหนือจากเรื่องที่เป็นเหตุให้แสดงความเห็นว่างบการเงินไม่ถูกต้อง การอธิบาย KAM ต้องระวังไม่ให้เกิด ความเข้าใจผิดว่างบการเงินโดยรวมน่าเชื่อถือมากขึ้น เนื่องจากผู้สอบบัญชีได้จัดการกับ KAM จนพอใจแล้ว

31 วิธีปฏิบัติทางบัญชีกรณีสหกรณ์นำเงินไปลงทุนในสหกรณ์อื่น
ที่ กษ 0404/ ว 53 ลว. 22 มี.ค. 2561 (ยกเลิก ที่ กษ 0404/ว 11 ลงวันที่ 29 มกราคม 2561) 1.เงินลงทุน แสดงในงบการเงิน ลดลงบางส่วน บันทึกผลขาดทุนเท่ากับมูลค่าหุ้นที่ลดลง ลดลงทั้งจำนวน หรือติดลบ บันทึกผลขาดทุนไม่เกินมูลค่าหุ้นที่สหกรณ์ถือไว้ ไม่แสดงในงบการเงิน ให้สหกรณ์เปิดเผยหมายเหตุประกอบงบการเงินภายใต้หัวข้อเงินลงทุน - รายละเอียดข้อมูลในงบการเงิน - การแสดงความเห็นของผู้สอบบัญชี 2. เงินฝากสหกรณ์อื่น ถอนเงิน ไม่ได้ ให้รับรู้ค่าเสียหายเต็มจำนวน ที่ไม่สามารถถอนคืนได้ เดบิต ค่าเสียหายเงินฝากสหกรณ์อื่นสงสัยจะสูญ xx เครดิต ค่าเผื่อเงินฝากสหกรณ์อื่นสงสัยจะสูญ xx และเปิดเผยหมายเหตุประกอบงบการเงินภายใต้หัวข้อเงินฝากสหกรณ์ -ชื่อสหกรณ์ - จำนวนเงินที่เรียกคืนไม่ได้ ไม่ประสงค์จะถอน แต่ฐานะสหกรณ์ผู้รับฝาก มีส่วนขาดแห่งทุน / ถูกนายทะเบียนสั่งเลิก / อยู่ในระหว่างการชำระบัญชี สหกรณ์พิจารณาตั้งค่าเผื่อเงินฝากสงสัยจะสูญตามหลักความระมัดระวังให้เพียงพอต่อความเสียหายทางการเงินที่อาจเกิดขึ้น และเปิดเผยหมายเหตุประกอบงบการเงินภายใต้หัวข้อเงินฝากสหกรณ์อื่น (รายละเอียดข้อมูลงบการเงินปีล่าสุดของสหกรณ์ผู้รับฝากซึ่งผู้สอบบัญชีได้แสดงความเห็นต่องบการเงินแล้ว) มีส่วนขาดแห่งทุน มีส่วนขาดแห่งทุนหุ้นมีมูลค่าลดลง ผู้สอบบัญชีแสดงความเห็นแตกต่างจากแบบไม่มีเงื่อนไข เดบิต ผลขาดทุนจากการปรับมูลค่าหุ้นสหกรณ์ xx เครดิต ค่าเผื่อการปรับมูลค่าหุ้นสหกรณ์ xx

32 ถือใช้ระเบียบหรือคำแนะนำ ?
การประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ปัจจุบัน ถือใช้ระเบียบหรือคำแนะนำ ?

33 ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยการบัญชีของสหกรณ์ พ.ศ. 2560
ข้อ 17.1 การประมาณการหนี้สงสัยจะสูญ 17.2 วิธีการประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (1) พิจารณาลูกหนี้แต่ละราย (2) จำแนกอายุหนี้ของลูกหนี้คงเหลือ เงินค้างรับและดอกเบี้ยค้างรับ ณ วันสิ้นปีทางบัญชี ข้อ 17.4 เกณฑ์การจำแนกอายุหนี้ และการประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ให้ปฏิบัติตามที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์กำหนด

34 บทเฉพาะกาล ให้ระเบียบ ประกาศ หรือคำสั่งที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามระเบียบ นทส. ว่าด้วยการบัญชีของสหกรณ์ พ.ศ ยังคงใช้บังคับต่อไปได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้จนกว่าจะมีระเบียบ ประกาศ หรือคำสั่งในเรื่องนั้น ๆ ตามระเบียบนี้ มีผลใช้บังคับ

35 ปัจจุบันถือใช้ 1. คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับลูกหนี้ พ.ศ. 2547 2. ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ว่าด้วยการจัดชั้นคุณภาพลูกหนี้เงินกู้และการเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ พ.ศ. 2544

36 คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับลูกหนี้
พ.ศ. 2547 พิจารณาลูกหนี้แต่ละราย ประมาณเป็นร้อยละของยอดหนี้คงเหลือ ประมาณตามอายุหนี้ที่ค้างชำระของลูกหนี้แต่ละราย

37 1. พิจารณาลูกหนี้แต่ละราย
คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับลูกหนี้ พ.ศ. 2547 1. พิจารณาลูกหนี้แต่ละราย ในกรณีที่สงสัยว่าลูกหนี้รายใดจะสูญ ไม่อาจเรียกให้ชำระหรือเรียก คืนได้ทั้งจำนวนให้ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มจำนวนตามยอดลูกหนี้ เงินค้างรับและดอกเบี้ยค้างรับที่ลูกหนี้รายนั้น ๆ เป็นหนี้อยู่ หรือรายใด ที่คาดว่าจะได้รับชำระบางส่วน ให้ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามจำนวน ที่คาดว่าจะไม่ได้รับชำระ

38 ลูกหนี้ นาย A 10,000 บาท นาย B 20,000 บาท นาย C 30,000 บาท รวม 60,000 บาท คาดว่าจะเรียกเก็บหนี้จากนาย A ไม่ได้ ประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ วันสิ้นปีบัญชี = 10,000 บาท (เฉพาะลูกหนี้นาย A)

39 2.ประมาณเป็นร้อยละของยอดหนี้คงเหลือ
เป็นการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญโดยประมาณเป็นร้อยละของ ยอดลูกหนี้ เงินค้างรับ และดอกเบี้ยค้างรับที่ลูกหนี้เป็นหนี้อยู่ ณ วันสิ้นปีทางบัญชี ทั้งนี้ โดยถืออัตราร้อยละ 5 เป็นเกณฑ์ อย่างไรก็ตาม การประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ด้วยวิธีนี้ สหกรณ์จะประมาณการเป็นร้อยละเท่าใดของยอดเงินที่ลูกหนี้เป็นหนี้ นั้น ให้พิจารณาถึงความเหมาะสมและความเพียงพอตาม หลักความระมัดระวัง แต่อย่างน้อยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 5

40 ลูกหนี้ นาย A 10,000 บาท นาย B 20,000 บาท นาย C 30,000 บาท รวม 60,000 บาท คาดว่าจะเรียกเก็บหนี้ไม่ได้ ร้อยละ 20 ประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ วันสิ้นปีบัญชี = 60,000 x 20% = 12,000 บาท

41 3. ประมาณตามอายุหนี้ที่ค้างชำระของลูกหนี้แต่ละราย
เป็นการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญโดยประมาณเป็นร้อยละของยอดลูกหนี้ เงินค้างรับ แลดอกเบี้ยค้างรับ ณ วันสิ้นปีทางบัญชี โดยจัดกลุ่มลูกหนี้ เงินค้างรับ และดอกเบี้ยค้างรับ จำแนกตามอายุของ หนี้ที่ค้างชำระของลูกหนี้แต่ละราย ทั้งนี้ การนับอายุของหนี้ที่ค้างชำระ หากเป็นหนี้ที่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ ให้นับตั้งแต่หนี้ถึงกำหนดชำระ และ ลูกหนี้ค้างชำระหนี้ แต่ถ้าเป็นหนี้ที่ไม่ได้กำหนดเวลาชำระหนี้ การนับอายุ หนี้ให้นับถัดจากวันที่เป็นหนี้เป็นต้นไป

42 ลูกหนี้การค้า นาย D 20,000 บาท อายุหนี้เกิน 2 ปี
นาย E 20,000 บาท อายุหนี้เกิน 1 ปี นาย F 10,000 บาท อายุหนี้เกิน 6 เดือน ประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ วันสิ้นปี นาย D % = ,000 บาท นาย E % = ,000 บาท นาย F % = ,000 บาท 24,000 บาท

43 การพิจารณาประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญนั้น โดยที่ลูกหนี้มีหลายประเภท และมีลักษณะที่แตกต่างกัน ดังนั้นการที่พิจารณาว่าจะเลือกใช้วิธีใด มีแนวทางในการปฏิบัติดังนี้ (1) ลูกหนี้เงินกู้ โดยปกติจะมีการค้ำประกันด้วยบุคคล หรือ หลักทรัพย์ค้ำประกัน ซึ่งหากผู้กู้ไม่ชำระหนี้ สหกรณ์อาจติดตามให้มีการชดใช้คืนจากผู้ค้ำประกันหรือดำเนินการใด ๆ กับหลักทรัพย์ที่ค้ำประกันได้แต่ถ้าปรากฏแน่ชัดว่าลูกหนี้เงินกู้รายใดไม่อาจเรียกให้ชำระหนี้ได้ทั้งจากผู้กู้ ทายาทหรือผู้ค้ำประกัน รวมทั้งไม่มีหลักทรัพย์ใดค้ำประกันแล้ว ให้ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับรายนั้นไว้เต็มจำนวน โดยพิจารณาเป็นรายๆ ไป

44 (2) ลูกหนี้การค้า ปกติหนี้การค้าจะเป็นหนี้ที่อายุความ 2 ปี จึงควรมีการวิเคราะห์อายุของหนี้ที่ค้างชำระ และตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ โดยพิจารณาลดหลั่นตามอายุหนี้ ดังนี้ - ลูกหนี้ที่มีอายุของหนี้ที่ค้างชำระเกินกว่า 60 วัน แต่ไม่เกิน 6 เดือน ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว้อย่างน้อยร้อยละ 5 - ลูกหนี้ที่มีอายุหนี้ที่ค้างชำระเกินกว่า 6 เดือน แต่ไม่เกิน 1ปี ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว้อย่างน้อยร้อยละ 10 - ลูกหนี้ที่มีอายุของหนี้ที่ค้างชำระเกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 2 ปี ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว้อย่างน้อยร้อยละ 15 - ลูกหนี้ที่มีอายุของหนี้ที่ค้างชำระเกินกว่า 2 ปี ซึ่งเป็นหนี้ที่ขาดอายุความฟ้องร้องตามกฎหมาย ควรตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว้เต็มจำนวน

45 ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยการจัดชั้นคุณภาพลูกหนี้เงินกู้
และการเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ พ.ศ. 2544 ถือใช้กับสหกรณ์ออมทรัพย์และ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ที่เรียกเก็บเงินงวดชำระหนี้จากสมาชิกโดยการหักจากเงินได้ ณ ที่จ่าย

46 2. ลูกหนี้อื่นอันมีมูลหนี้ที่เกิดจากการให้เงินกู้ ได้แก่
ลูกหนี้เงินกู้ หมายถึง 1.สมาชิก หรือสหกรณ์อื่น 2. ลูกหนี้อื่นอันมีมูลหนี้ที่เกิดจากการให้เงินกู้ ได้แก่ ลูกหนี้เงินกู้ที่ขาดสมาชิกภาพแล้ว แต่ได้รับการผ่อนผัน ให้ชำระหนี้เป็นงวด หรืออยู่ระหว่างดำเนินคดี หรือรอเรียกเก็บจากเงินบำเหน็จหรือเงินอื่นใดเพื่อชำระหนี้ 3. ลูกหนี้ที่ส่งชำระหนี้เป็นงวดตามที่ได้มีข้อตกลงประนอมหนี้ 4. ลูกหนี้ที่ได้ชำระหนี้แทนสมาชิกผู้กู้ในฐานะผู้ค้ำประกัน

47 การจัดชั้นคุณภาพลูกหนี้เงินกู้
1. ลูกหนี้ปกติ 2. ลูกหนี้จัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน ลูกหนี้ ไม่ก่อให้ เกิดรายได้ NPL 3. ลูกหนี้จัดชั้นสงสัย 4. ลูกหนี้จัดชั้นสงสัยจะสูญ 5. ลูกหนี้จัดชั้นสูญ

48 การนับเวลาผิดนัดชำระหนี้
การนับเวลาผิดนัดชำระหนี้สำหรับลูกหนี้เงินกู้ทุกชั้นคุณภาพให้หมายถึงลูกหนี้จะต้องไม่ค้างชำระเงินอย่างใดอย่างหนึ่งตามลำดับติดต่อกันดังนี้ 1. ดอกเบี้ยค้างชำระ 2. ดอกเบี้ยและต้นเงินที่ถึงกำหนดชำระ 3. ต้นเงินที่ถึงกำหนดชำระ การนับระยะเวลาให้นับจากวันที่ครบกำหนดชำระเงินอย่างใดอย่างหนึ่งตามข้อ1 ถึง ข้อ 3 จนถึงปัจจุบันหรือ ณ วันที่มีการจัดชั้นคุณภาพลูกหนี้

49 ลูกหนี้จัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน ร้อยละ 20
ลูกหนี้จัดชั้นสงสัย ร้อยละ 50 ลูกหนี้จัดชั้นสงสัยจะสูญ/จัดชั้นสูญ ร้อยละ 100 ดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับของลูกหนี้ NPL ให้ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มจำนวน

50 ให้ระงับการรับรู้รายได้ดอกเบี้ยเงินให้กู้
ของลูกหนี้ NPL ในทางปฏิบัติ ต้อง Memo ไว้ในบัญชีย่อยลูกหนี้ด้วยว่า มีดอกเบี้ยค้างชำระจำนวนเท่าใด เพื่อติดตามเรียกเก็บในเดือนต่อๆไป พร้อมทั้งต้องนำไปเปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินว่า มีผลกระทบต่อกำไรสุทธิอย่างไร

51 ให้บันทึกมูลค่าที่ดินแทนการชำระหนี้ด้วยราคาที่ประเมิน โดยทางราชการ
ระเบียบ นทส. ว่าด้วยการบัญชีของสหกรณ์ 2560 ให้บันทึกมูลค่าที่ดินแทนการชำระหนี้ด้วยราคาที่ประเมิน โดยทางราชการ เดิม คำแนะนำ นทส. เรื่องวิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ หน้า 35


ดาวน์โหลด ppt การบริหารงานสอบบัญชี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google