งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การคิดอย่างเป็นระบบ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การคิดอย่างเป็นระบบ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การคิดอย่างเป็นระบบ

2 ความหมาย หมายถึงการคิดที่มีระเบียบ ดำเนินการคิดอย่างมีขั้นตอน โดยอาศัยเหตุผลเป็นตัวแปรหลักที่ทำให้เกิดทิศทางของการคิด

3 แนวทางการคิดอย่างเป็นระบบ (System Thinking Approaches)
(1) ทฤษฎีระบบ CONTEXT INPUT PROCESS OUTPUT OUTCOME IMPAC FEEDBACK

4 (2) การจัดลำดับอย่างเป็นระบบ
+ งานด่วน และสำคัญ + งานด่วน แต่ไม่สำคัญ + งานไม่ด่วน แต่สำคัญ + งานไม่ด่วน และไม่สำคัญ

5 (3) การคิดวิเคราะห์ในเชิงวิทยาศาสตร์
Axioms / Theory Inductive Thinking Deductive Thinking

6 (4)การคิดเชิงเหตุผล (Cause & Effect)

7 1 Obj. ทำกำไร KPI จำนวนกำไรที่ทำได้ Target 50 ล้าน 2 3 4 5 6 7 8 9 10
สร้างยอดขายรวม KPI ยอดขายรวม Target 1,000 ล้าน Obj. ควบคุมค่าใช้จ่ายรวม KPI ค่าใช้จ่ายรวม Target 950 ล้าน 4 5 6 7 Obj. ทำยอดขายสินค้าใช้แล้วหมดไป KPI ยอดขายสินค้าใช้แล้วหมดไป Target 700 ล้าน Obj. ทำยอดขายเครื่อง PC KPI ยอดขายเครื่อง PC Target 300 ล้าน Obj. ควบคุม Fix Cost KPI จำนวน Fix Cost Target 200 ล้าน Obj. ควบคุม Variable Cost KPI จำนวน Variable Cost Target 750 ล้าน 8 9 10 11 Obj. ทำให้ลูกค้าพอใจในเรื่องการบริการ KPI 1) % ความพึงพอใจของลูกค้าสำนักงานในเรื่องคุณภาพ 2) % ความพึงพอใจของลูกค้าบุคคลธรรมดาในเรื่องการบริการ Target 90% 80% Obj. ทำให้ลูกค้าสถาบันการศึกษาพอใจในเรื่องราคา KPI % ความพึงพอใจของลูกค้าสถาบันการศึกษาในเรื่องราคา Target 80% Obj. พัฒนาช่องทางจัดจำหน่าย KPI ค่าใช้จ่ายในการจัดจำหน่าย Target 80 ล้าน Obj. พัฒนาระบบในการเสาะหาสินค้าที่ต้นทุนต่ำ KPI % ต้นทุนสินค้าที่ลดลงจากเดิมโดยเฉลี่ย Target 2% 13 12

8 8 10 12 13 14 15 Obj. ปรับปรุงระบบในการรับคำสั่งซื้อ KPI
จำนวนช่องทางรับคำสั่งซื้อที่เพิ่มขึ้น จำนวนครั้งที่ลูกค้าได้รับสินค้าหลังจากสั่งซื้อเกินเวลา 24 ชม. Target 2 ช่องทาง ไม่เกิน 10 ครั้ง/ปี 13 14 Obj. ติดตั้งระบบ E-commerce ในการรับคำสั่งซื้อ KPI ระยะเวลาที่ระบบ E-commerce สามารถใช้งานได้ จำนวนลูกค้าที่สั่งซื้อโดยใช้ระบบ E-commerce Target ก.พ. 2008 200 รายภายใน มิ.ย. 2008 Obj. ปรับปรุงประสิทธิภาพรถขนส่งสินค้า KPI จำนวนวันธรรมดาที่รถส่งสินค้าไม่สามารถใช้งานได้/ปี Target 5 วันธรรมดา/ปี 15 Obj. พัฒนาบุคลากร KPI ระยะเวลาที่บุคลากรผ่านการสอบตามมาตรฐานการอบรมในเรื่องที่เกี่ยวข้อง Target 10 คนสอบผ่านเรื่อง E-commerce ภายในเดือน ก.พ. 2008 พนักงานขับรถจำนวน 10 คนสอบผ่านเรื่องการบำรุงรักษารถเบื้องต้น ภายในเดือน มี.ค. 2008 บุคลากรที่ติดต่อลูกค้าจำนวน 40 คนสอบผ่านเรื่องการให้บริการภายในเดือน มี.ค. 2008

9 (5) การคิดเชิงสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ
การตั้งคำถามอย่างเป็นระบบ การเลียนแบบ การคิดผสม การเน้นองค์ประกอบสำคัญ

10 (6) การคิดวิเคราะห์ (Analysis) และการคิดแบบสังเคราะห์ (Synthesis)

11 การคิดวิเคราะห์เชิงระบบ
เพื่อการตัดสินใจ

12 การประเมินสถานการณ์ ระบุเรื่องที่เกี่ยวข้อง (IDENTIFY CONCERNS)
จัดลำดับความสำคัญ (SET PRIORITY) วางแผนขั้นต่อไป (PLAN NEXT STEPS) วางแผนผู้ที่เกี่ยวข้อง (PLAN INVOLVEMENT)

13 การวิเคราะห์สถานการณ์ (SITUATION ANALYSIS)
1) ระบุเรื่องที่เกี่ยวข้อง (ให้ชัด) มีอะไรที่เบี่ยงเบนไปจากมาตรฐาน จำเป็นต้องตัดสินใจอะไรบ้าง มีแผนใดที่ต้องดำเนินการ คาดว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงอะไร มีโอกาสดีอะไรบ้าง

14 การวิเคราะห์สถานการณ์ (SITUATION ANALYSIS)
2) จัดลำดับความสำคัญ (ความรุนแรง เร่งด่วน และ ผลในระยะยาว) ผลกระทบเป็นเช่นใด (เงิน, ความปลอดภัย, ผลผลิต, คุณภาพ, คน) มีใครเกี่ยวข้องบ้าง กำหนดเวลาในการดำเนินการเป็นอย่างไร (กำหนดการเสร็จ, กำหนดการของใคร)

15 การวิเคราะห์สถานการณ์ (SITUATION ANALYSIS)
2) จัดลำดับความสำคัญ (ความรุนแรง เร่งด่วน และ ผลในระยะยาว) เราเริ่มต้นเมื่อใด แนวโน้มในภายหน้าเป็นเช่นใด(ดีขึ้น, เลวลง,เหมือนเดิม) จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าไม่ทำอะไร

16 การวิเคราะห์สถานการณ์ (SITUATION ANALYSIS)
3) วางแผนขั้นต่อไป (PA, DA, PPA, SA) จำเป็นต้องรู้สาเหตุของความเบี่ยงเบนไหม จำเป็นต้องเลือกไหม มีแผนหรือเรื่องที่ต้องดำเนินการไหม ฉันต้องการให้มีการแจกแจงเพิ่มเติมไหม

17 การวิเคราะห์สถานการณ์ (SITUATION ANALYSIS)
4) วางแผนผู้ที่จะต้องเกี่ยวข้อง ต้องทำอะไร เมื่อใด (มีเวลาพอไหม) ข้อมูลอะไร ใครต้องเกี่ยวข้องบ้าง (มีข้อมูลประสบการณ์ ผู้ปฎิบัติ) การวิเคราะห์

18 การวิเคราะห์สถานการณ์ (SITUATION ANALYSIS)
4) วางแผนผู้ที่จะต้องเกี่ยวข้อง ความรับผิดชอบร่วม การอนุมัติ(ใครอนุมัติ, ตัดสินขั้นสุดท้าย) การดำเนินการให้ลุล่วง การฝึกฝน

19 การวิเคราะห์ปัญหา บรรยายลักษณะปัญหา (DESCRIBE PROBLEM)
ระบบสาเหตุที่อาจทำให้เกิดปัญหา (IDENTIFY POSSIBLE CAUSES) ประเมินสาเหตุที่อาจทำให้เกิดปัญหา (EVALUATE POSSIBLE CAUSES) ยืนยันสาเหตุที่แท้จริง (CONFIRM TRUE CAUSES)

20 การวิเคราะห์ปัญหา 1.1 ระบุปัญหา (STATE THE PROBLEM)
บรรยายลักษณะปัญหา (DESCRIBE PROBLEM) ระบุปัญหา (STATE THE PROBLEM) อธิบายลักษณะเฉพาะของปัญหา (SPECIFY THE PROBLEM) โดยใช้คำถามว่า  อะไร  ที่ไหน  เมื่อใด  ขอบเขตแค่ไหน

21 การวิเคราะห์ปัญหา ระบุความแตกต่าง (IDENTIFY DISTINCTIONS)

22 การวิเคราะห์ปัญหา ระบุความแตกต่าง (IDENTIFY DISTINCTIONS)

23 การวิเคราะห์ปัญหา ระบุความแตกต่าง (IDENTIFY DISTINCTIONS)

24 การวิเคราะห์ปัญหา ระบุความแตกต่าง (IDENTIFY DISTINCTIONS)

25 การวิเคราะห์ปัญหา ระบุความแตกต่าง (IDENTIFY DISTINCTIONS)

26 การวิเคราะห์ปัญหา ระบุความแตกต่าง (IDENTIFY DISTINCTIONS)

27 การหาความแตกต่างพิเศษ
1) ดูว่าอะไรเป็นคุณลักษณะพิเศษของ (IS) เมื่อเปรียบเทียบกับ (IS NOT) 1.1 เป็นการดึงสาเหตุที่ซ่อนเร้นออกมา 1.2 ดูว่ามันทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้างที่อาจทำให้เกิด ปัญหาจริง ๆ

28 การหาความแตกต่างพิเศษ
1) ดูว่าอะไรเป็นคุณลักษณะพิเศษของ (IS) เมื่อเปรียบเทียบกับ (IS NOT) 1.3 ถามคำถามว่า “อะไรคือคุณลักษณะพิเศษของ (IS) เมื่อ เปรียบเทียบกับ (IS NOT)”  ต้องเป็นข้อเท็จจริงเท่านั้น  เป็นข้อมูลที่ยังไม่มีอยู่ใน IS และ IS NOT  ต้องเป็นข้อมูลของ IS เท่านั้น

29 2) ดูว่าอะไรเป็นการเปลี่ยนแปลงของ (IS) เมื่อเปรียบเทียบกับ (IS NOT)
ต้องมีการเปลี่ยนแปลงบางสิ่งบางอย่างที่เป็นต้นเหตุของ ปัญหานั้น อาจมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นหลายอย่าง การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับสิ่งที่เป็นปัญหา อาจเป็นสาเหตุของ ปัญหา เพราะการเปลี่ยนแปลงนี้มันไม่ได้เกิดขึ้นกับสิ่งที่ไม่เป็น ปัญหา เราจะไม่พิจารณาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับทั้งสิ่งที่เป็นปัญหา และสิ่งที่ไม่เป็นปัญหา

30 3) ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับสาเหตุของปัญหา โดยถามคำถามว่า
3) ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับสาเหตุของปัญหา โดยถามคำถามว่า 3.1 การเปลี่ยนแปลงแต่ละอย่างนั้น เป็นสาเหตุของปัญหาได้ อย่างไร โดยอาศัยประสบการณ์ ความรู้ และสามัญ สำนึก 3.2 การเปลี่ยนแปลง + ความแตกต่าง ตัวใดที่อาจเป็นสาเหตุ 3.3 การเปลี่ยนแปลง + การเปลี่ยนแปลงตัวใดที่อาจเป็นสาเหตุ

31 4) การประเมินสาเหตุที่อาจทำให้เกิดปัญหา (EVALUATE POSSIBLE CAUSES)
4) การประเมินสาเหตุที่อาจทำให้เกิดปัญหา (EVALUATE POSSIBLE CAUSES) 4.1 ทดสอบสาเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้ โดยการเปรียบเทียบสิ่งที่ เป็นปัญหากับสิ่งที่ไม่เป็นปัญหา โดยดูว่าสมมติฐานที่เรา ตั้งไว้นั้น สามารถอธิบายข้อเท็จจริงของสิ่งที่เป็นปัญหา และสิ่งที่ไม่เป็นปัญหาได้ครบถ้วนหรือไม่ ซึ่งมักจะปรากฎ ผลออกมาดังนี้ อธิบายโดยข้อเท็จจริง ไม่อธิบาย อธิบายโดยมีเงื่อนไข (ยิ่งมีเงื่อนไขมากเท่าใดโอกาสที่จะเป็น สาเหตุที่แท้จริงนั้นยิ่งน้อย)

32 5) กำหนดสาเหตุที่เป็นไปได้มากที่สุด
5) กำหนดสาเหตุที่เป็นไปได้มากที่สุด สมมติฐานของสาเหตุที่เป็นไปได้ที่สุด จะสามารถอธิบายข้อเท็จจริงในคำบรรยายลักษณะของปัญหาได้ดีที่สุด หรือมีข้อโต้แย้งน้อยที่สุด

33 6) ยืนยันสาเหตุที่แท้จริง (CONFIRM TRUE CAUSES)
เป็นการพิสูจน์สมมติฐาน เป็นการหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเงื่อนไข อาจใช้วิธีรวบรวมข้อเท็จจริง การสังเกต ทดลอง ทดสอบเพิ่มเติมหรือแก้ไข ซ่อมแซม และตรวจดูผลที ได้รับ

34 การวิเคราะห์การตัดสินใจ
1. กำหนดจุดมุ่งหมายให้ชัดเจน (CLARIFY PURPOSE) 2. ประเมินทางเลือก (EVALUATE ALTERNATIVES) 3. ประเมินความเสี่ยง (ASSESS RISKS) 4. ตัดสินใจ (MAKE DECISION)

35 การวิเคราะห์ในการตัดสินใจ (DECISION ANALYSIS)
ขั้นตอนในการวิเคราะห์ 1. การกำหนดจุดมุ่งหมายให้ชัด (CLARIFY PURPOSE) 1.1 ต้องระบุเรื่องที่ต้องตัดสินใจ - ต้องระบุเรื่องที่ต้องตัดสินใจสั้น ๆ ชัดเจน โดยบอกให้รู้ว่า เมื่อตัดสินใจแล้วจะได้อะไร ซึ่งประกอบด้วย (ก) ACTION WORD (ข) ผลลัพธ์สุดท้าย (END RESULT) (ค) อาจมีตัวขยาย (MODIFIER)

36 การวิเคราะห์ในการตัดสินใจ (DECISION ANALYSIS)
1.2 ต้องกำหนดวัตถุประสงค์ - เป็นการกำหนดหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาทางเลือก ซึ่งจะทำให้ทางเลือกจะได้ถูกนำมาพิจารณา โดยหลัก เกณฑ์เดียวกัน ทำได้โดยการถามคำถาม ดังต่อไปนี้ (ก) เรามีทรัพยากรที่จะใช้ในการต้ดสินใจครั้งนี้แค่ไหน (ข) เราต้องการผลลัพธ์อะไรบ้าง หรืออะไรที่ต้องได้รับ การตอบสนองบ้าง (ค) เรามีข้อจำกัดอะไรบ้าง เช่น กฎหมาย เวลา นโยบาย

37 การวิเคราะห์ในการตัดสินใจ (DECISION ANALYSIS)
1.2 ต้องกำหนดวัตถุประสงค์ - จะทำให้รู้ว่าต้องรวบรวมข้อมูลอะไร - และเป็นการกำหนดขอบเขตทางเลือก - บอกให้รู้ถึงขอบเขตความรับผิดชอบของผู้ตัดสินใจ

38 การวิเคราะห์ในการตัดสินใจ (DECISION ANALYSIS)
1.3 จำแนกวัตถุประสงค์ออกเป็นสิ่งที่จำเป็น (MUST) และสิ่งที่อยากได้ (WANTS) MUST คือ สิ่งที่ขาดไม่ได้ วัดได้แน่นอน เป็นไปได้ WANTS คือ สิ่งที่อยากได้ เป็นไปได้

39 1.4 ให้น้ำหนักสิ่งที่อยากได้
การวิเคราะห์ในการตัดสินใจ (DECISION ANALYSIS) 1.4 ให้น้ำหนักสิ่งที่อยากได้

40 การวิเคราะห์ในการตัดสินใจ (DECISION ANALYSIS)
2. การประเมินทางเลือก (EVALUATE ALTERNATIVES) โดยประเมินจาก ประสบการณ์ ผู้เชี่ยวชาญ สิ่งตีพิมพ์ การโฆษณา สร้างเอง พิจารณาจากความชอบของนาย

41 การวิเคราะห์ในการตัดสินใจ (DECISION ANALYSIS)
2. การประเมินทางเลือก (EVALUATE ALTERNATIVES) กระบวนการประเมินทางเลือก 2.1 เสาะหาทางเลือก 2.2 ประเมินทางเลือกกับสิ่งที่จำเป็น (MUST) 2.3 เปรียบเทียบทางเลือกต่างๆกับสิ่งที่ต้องการ (WANT)

42 การวิเคราะห์ในการตัดสินใจ (DECISION ANALYSIS)
3. ประเมินความเสี่ยง 3.1 ค้นหาความเสี่ยง ดูว่าทางเลือกใดที่ผ่าน MUST อย่างเฉียดฉิว ทางเลือกใดที่ได้คะแนนต่ำสำหรับ WANT ที่มี น้ำหนักสูง มีข้อมูลใดบ้างที่อาจคาดเคลื่อน

43 การวิเคราะห์ในการตัดสินใจ (DECISION ANALYSIS)
3. ประเมินความเสี่ยง 3.2 การประเมินผลร้ายด้วยการถามคำถาม มีโอกาสแค่ไหนที่จะเกิด (PROBABILITY) มีความรุนแรงแค่ไหนถ้าเกิดจริง (SERIOUSNESS)

44 การวิเคราะห์ในการตัดสินใจ (DECISION ANALYSIS)
4. ตัดสินใจเลือกทางที่ดีที่สุด โดยถามว่า 4.1 มีความเสี่ยงที่ยอมรับไม่ได้หรือไม่ 4.2 ผลที่จะได้คุ้มที่จะเสี่ยงหรือไม่ หมายเหตุ : ทางเลือกในอุดมคติ คือ เสี่ยงน้อย / ผลตอบแทนสูง แต่ความเป็นจริง คือ เสี่ยงน้อย / ผลตอบแทนน้อย เสี่ยงมาก / ผลตอบแทนมาก

45 การวิเคราะห์ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
ระบุปัญหาที่อาจเกิดขึ้น (IDENTIFY POTENTIAL PROBLEMS) ระบุสิ่งที่น่าจะเป็นสาเหตุ (IDENTIFY LIKELY CAUSES) ดำเนินการป้องกัน (TAKE PREVENTIVE ACTION) วางแผนตั้งรับ (PLAN CONTINGENT ACTION)

46 การวิเคราะห์ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น

47 การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นสำหรับงานที่ซับซ้อน
ระบุเรื่องงานที่ต้องทำ เราต้องทำอะไรให้สำเร็จ ที่ไหน เมื่อไร กำหนดแผนงาน ระบุขั้นตอนของงานที่จะต้องทำให้เสร็จในแต่ละ ขั้นตอน เพื่อดูว่ามีขั้นตอนใดที่อาจเกิดปัญหาได้

48 การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นสำหรับงานที่ซับซ้อน
ระบุจุดวิกฤติ ระบุขั้นตอนในแผนที่ล่อแหลมต่อการเกิดปัญหาโดยดูว่า 3.1 มีคนหลายคนหรือหลายหน่วยงานรับผิดชอบร่วมกันหรือไม่ 3.2 เรามีประสบการณ์น้อยใช่ไหม 3.3 มีขั้นตอนงานหลักใดบ้างที่มีเวลาน้อยหรือกระชับมาก 3.4 มีจุดใดที่การทำงานของคน(เครื่องจักร)ซับซ้อน ระบุปัญหาที่อาจเกิดขึ้น

49 การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นสำหรับงานที่ซับซ้อน
ประเมินผลร้าย โอกาสที่จะเกิด (PROBABILITY) ความรุนแรง (SERIOUSNESS)

50 การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นสำหรับงานที่ซับซ้อน
ปรับปรุงแผนงานเดิม โดยถามว่า เราจะนำมาตรการป้องกันตัวใดมาไว้ในแผน เราจะเอามาตรการตั้งรับ และตัวบอกเหตุตัวใด มาไว้ในแผน ใครจะเป็นผู้รับผิดชอบในขั้นตอนใหม่นี้


ดาวน์โหลด ppt การคิดอย่างเป็นระบบ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google