งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจำแนกสาร ครูปฏิการ นาครอด.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจำแนกสาร ครูปฏิการ นาครอด."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจำแนกสาร ครูปฏิการ นาครอด

2 ทบทวน

3 การแยกสารและทําให้สารบริสุทธิ์
1. สารเนื้อผสม การร่อน : ของแข็ง – ของแข็งที่มีขนาดต่างกัน ใช้ตะแกรงร่อน - การกรอง : ของแข็ง – ของเหลว เช่น สารแขวนลอยต่างๆ - การใช้กรวยแยก : ของเหลว – ของเหลวที่ไม่รวมเป็นเนื้อเดียวกัน กรวยแยก กรวยกรอง ของแข็ง ของเหลว ดึงดูดด้วยแรงสุญญากาศ กรวยบุชเนอร์

4 การแยกสารผสมเนื้อผสมด้วยวิธีอื่นๆ
ใช้แม่เหล็ก การหยิบออก การระเหิด

5 แบบฝึกหัด 1.1.1 ให้นักเรียนบอกวิธีการแยกสารเนื้อผสมต่อไปนี้อย่างละเอียด (ลงสมุด) แยกเม็ดพริกที่ผสมกับเกลือ แยกน้ำกับน้ำมัน แยกผงเหล็กจากทราย แยกการบูรออกจากน้ำตาลทราย แยกผงตะกอนกับน้ำมัน

6 2. สารเนื้อเดียว 2.1 การตกผลึก (Crystallization) : ใช้แยกสารเนื้อเดียวที่เป็นของแข็ง โดยอาศัยหลักการละลายที่ต่างกัน โดยสารที่ต้องการแยกและไม่ต้องการแยกจะต้องละลายได้ในตัวทำละลายชนิดเดียวกัน แต่ต้องมีความสามารถในการละลายต่างกัน สารที่ละลายได้น้อยกว่าจะตกผลึกออกมาก่อน เช่นเกลือแกงกับแนฟทาลีน rock candy Crystals:

7 2.2 การกลั่น (distillation)
ใช้กลั่นแยกสารที่ระเหยง่ายซึ่งปนอยู่กับสารที่ระเหยยาก เหมาะกับสารที่มีจุดเดือดต่างกันตั้งแต่ 80 องศาเซลเซียส ขึ้นไป เช่น การกลั่นน้ำให้บริสุทธิ์  ดูกิจกรรมที่ 1.4 การกลั่น หน้า 7

8 2.3 การกลั่นด้วยไอน้ำ วิธีนี้ใช้สำหรับแยกสารที่ระเหยง่าย ไม่ละลายน้ำ และไม่ทำปฏิกิริยากับน้ำ ออกจากสารที่ระเหยยาก เช่น การสกัดน้ำมันจากผิวมะกรูด

9 2.4 การกลั่นลำดับส่วน (Fractional distillation)
วิธีนี้เปรียบเสมือนกับการกลั่นธรรมดาซ้ำกันหลาย ๆ ครั้ง เป็นวิธีแยกของเหลวที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกันออกจากกัน ของเหลวที่จุดเดือดต่ำจะกลั่นตัวด้านบนหอกลั่น เช่น การกลั่นน้ำมันดิบ

10 2.5 การสกัดด้วยตัวทำละลาย (Extraction with solvents )
อาศัยสมบัติการละลายของสารแต่ละชนิด เนื่องจากสารจะละลายได้ดีในตัวทำละลายต่างชนิดกัน เช่น การสกัดสีพืชในแอลกอฮอล์ ดูกิจกรรมที่ 1.2 การแยกสารจากส่วนต่างๆของพืช หน้า 3

11 2.6 โครมาโทกราฟี (Chromatography)
เป็นการแยกสารผสมที่มีสี ปริมาณน้อย อาศัยสมบัติ 2 ประการคือ   สารต่างชนิดกันมีความสามารถในการละลายในตัวทำละลายได้ต่างกัน   สารต่างชนิดกันมีความสามารถในการถูกดูดซับด้วยตัวดูดซับได้ต่างกัน  เช่น การทำโครมาโทรกราฟีกับสีพืชหรือสีผสมอาหาร

12 โครมาโทกราฟี (Chromatography)
- หลังแยก หากพบสารหลายสีแสดงว่าสารเดิมประกอบด้วยสารหลายชนิด สารที่ละลายได้ดี จะถูกดูดซับบนกระดาษได้น้อย และเคลื่อนที่ไปได้ไกล (สีน้ำเงิน) สารที่ละลายได้น้อย จะถูกดูดซับบนกระดาษได้ดี และเคลื่อนที่ไปได้ไม่ไกล (สีแดง)

13 ดูกิจกรรมที่ 1.3 องค์ประกอบของสีที่สกัดจากพืช หน้า 5

14 Rf (rate of flow) ค่า Rf เป็นค่าเฉพาะตัวของสาร ขึ้นอยู่กับชนิดของตัวทำละลายและตัวดูดซับ สามารถคำนวณได้จากสูตร                            Rf    =      ระยะทางที่สารเคลื่อนที่ (cm)                           ระยะทางที่ตัวทำละลายเคลื่อนที่ (cm) สารต่างชนิดกันจะมีค่า Rf แตกต่างกัน สารใดมีความสามารถในการละลายสูง เคลื่อนที่ได้ไกล จะมีค่า Rf มาก ค่า Rf < 1 เสมอ            ถ้าใช้ตัวทำละลายและตัวดูดซับชนิดเดียวกันปรากฏว่ามีค่า Rf เท่ากัน อาจสันนิษฐานได้ว่า สารดังกล่าวเป็นสารชนิดเดียวกัน

15 แบบฝึกหัด 1.1.2 ให้นักเรียนบอกวิธีการแยกสารเนื้อเดียวต่อไปนี้ (ลงสมุด)
แยกองค์ประกอบในน้ำมันดิบ แยกองค์ประกอบในสีผสมอาหาร สกัดสีจากดอกไม้ การสกัดทำน้ำมันจากผิวส้ม การทำน้ำให้บริสุทธิ์

16 กิจกรรมการทดลอง ให้นักเรียนออกแบบการทดลองการแยกสารด้วยวิธี
การสกัดด้วยตัวทำละลาย โครมาโทกราฟี

17 ธาตุและสารประกอบ ครูปฏิการ นาครอด

18 สารบริสุทธิ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารประกอบและธาตุ
แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารประกอบและธาตุ 1. สารประกอบ ประกอบด้วยธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปรวมตัวกัน อัตราส่วนที่คงที่ เช่น น้ำ (H2O) H2O H : O เป็น 2:1 เสมอ มีสมบัติต่างจากธาตุที่เป็นองค์ประกอบอย่างสิ้นเชิง เช่น O แก๊สช่วยให้ไฟติด H เป็นแก๊สติดไฟ รวมตัวเป็นน้ำ ช่วยดับไฟ ดูกิจกรรมที่ 1.5 การแยกน้ำด้วยกระแสไฟฟ้า หน้า 9

19 เช่น ทองคำ เช่น คาร์บอน เช่น พลวง
2. ธาตุ ประกอบด้วยอะตอมเพียงชนิดเดียวและไม่สามารถแยกเป็นองค์ประกอบย่อยโดยวิธีการทางเคมีได้ แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ เช่น ทองคำ เช่น คาร์บอน เช่น พลวง

20 อะตอมและโมเลกุล อะตอม คือ อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุ อะตอมมักรวมตัวกันเป็นโมเลกุล โมเลกุล แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. โมเลกุลของธาตุ เกิดจากการรวมกันของธาตุชนิดเดียวกัน 2 อะตอมขึ้นไป เช่น O2 Cl2 2. โมเลกุลสารประกอบ เกิดจากการรวมกันของธาตุต่างชนิดกัน เช่น NaCl CO2

21 จอห์น ดอลตัน นักเคมีชาวอังกฤษ เป็นคนแรกที่ได้เสนอให้ใช้สัญลักษณ์ของธาตุ โดยใช้รูปภาพเป็นสัญลักษณ์ของธาตุดังตัวอย่าง สัญลักษณ์ของธาตุของดอลตันปัจจุบันนี้เลิกใช้เพราะไม่สะดวกที่จะเขียนภาพแทนธาตุจำนวนมาก โจนส์ จาคอบ เบอร์ซีเลียส นักเคมีชาวสวีเดนได้คิดระบบสัญลักษณ์ขึ้นใหม่เป็นตัวอักษรแทนชื่อธาตุซึ่งเป็นที่ยอมรับจนถึงปัจจุบันนี้

22 การเขียนสัญลักษณ์ธาตุ
มีหลักเกณฑ์ ดังนี้ 1. ภาษาที่ใช้ คือ ภาษาละติน (เพราะเป็นภาษาที่ตายแล้ว) ถ้าไม่มีภาษาละติน ให้ใช้ภาษากรีก ภาษาเยอรมัน หรือภาษาอังกฤษ ตัวอย่างภาษาที่ใช้เขียนแทนสัญลักษณ์ธาตุ

23 2. ใช้อักษรตัวแรกเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวอักษรตัวถัดไปเป็นตัวพิมพ์เล็ก 
เช่น   Ca (แคลเซียม)    Cl (คลอรีน)  Cr (โครเมียม)    Cu (คอปเปอร์) ธาตุบางชนิดมีสมบัติบางประการที่คล้ายกัน นักวิทยาศาสตร์จึงจัดธาตุเป็นหมวดหมู่ในรูปแบบที่เรียกว่า ตารางธาตุ (periodic table) มีหมู่ 1A (แถวแนวตั้ง) 8 หมู่ มีคาบ (แถวแนวนอน) 7 คาบ ตอบคำถามหน้า 14 ทำลงสมุด

24

25 สมบัติบางประการของธาตุ
สอบเก็บคะแนน ให้นักเรียนเลือกธาตุมา 20 ตัว เตรียมตัวสอบเขียนสัญลักษณ์หรือชื่อในคาบต่อไป สมบัติบางประการของธาตุ ธาตุบางธาตุมีสมบัติคล้ายคลึงกันเช่น ความแข็ง ความวาว การนำความร้อน การนำไฟฟ้า จุดเดือด จุดหลอมเหลว จึงสามารถแยกธาตุได้เป็น 3 ประเภท

26

27 แบบฝึกหัด 1.2.1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. ธาตุประเภทใดมีแต่สถานะของแข็งเท่านั้น 2. ธาตุปรอท เป็นโลหะที่ต่างจากโลหะชนิดอื่นอย่างไร 3. ถ้าเหล็กนำความร้อนได้ดี เหล็กควรจัดอยู่ในธาตุประเภทใด 4. ธาตุที่เหนียว ทุบเป็นแผ่นได้ เคาะเสียงกังวาน คือธาตุประเภทใด 5. คาร์บอน มีผิวด้าน ความหนาแน่นน้อย ควรจัดอยู่ในธาตุประเภทใด

28 ธาตุกัมมันตรังสี คือ ธาตุที่สามารถปล่อยกัมมันตภาพรังสีออกมาได้ เนื่องจากนิวเคลียสของธาตุอยู่ในสถานะไม่เสถียร จึงต้องปลดปล่อยพลังงานส่วนเกินออกมา รังสีที่แผ่ออกมาในขบวนการสลายตัวของธาตุหรือไอโซโทปนั้นประกอบด้วย รังสีแอลฟา, รังสีเบต้า และรังสีแกมมา

29 ประโยชน์และโทษของธาตุกัมมันตรังสี

30 ให้นักเรียนทำกิจกรรมที่ 1
ให้นักเรียนทำกิจกรรมที่ 1.7 ธาตุกัมมันตรังสีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน หน้า 16 ออกแบบเป็นตาราง ทำลงA4

31 สมบัติของอนุภาคมูลฐานของอะตอม

32 เลขอะตอม,เลขมวลและสัญลักษณ์นิวเคลียร์
เลขอะตอม,เลขมวลและสัญลักษณ์นิวเคลียร์  1. จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสเรียกว่า เลขอะตอม (atomic number) 2. ผลบวกของจำนวนโปรตอนกับนิวตรอนเรียกว่า เลขมวล (mass number) การเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ p+n p (ในกรณีที่อะตอมเป็นกลางทางไฟฟ้า p = e)

33 การหาจำนวนโปรตอน อิเล็กตรอนและนิวตรอน
ตัวอย่างที่ 1 จงหาอนุภาคมูลฐานของอะตอมจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์            มีจำนวนโปรตอน = 80 อนุภาค            อิเล็กตรอน = 80 อนุภาค             และนิวตรอน =  = 121 อนุภาค

34 ตัวอย่างที่ 2 การหาอนุภาคมูลฐานของอะตอมจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์
ตัวอย่างที่ 2 การหาอนุภาคมูลฐานของอะตอมจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์              มีจำนวนโปรตอน = 20 อนุภาค แคลเซียม +2 หมายถึง เสียอิเล็กตรอนไป 2 อนุภาค              อิเล็กตรอน =  = 18 อนุภาค             และนิวตรอน =  = 20 อนุภาค            

35 ตัวอย่างที่ 3 การหาอนุภาคมูลฐานของอะตอมจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์
           มีจำนวนโปรตอน = 8 อนุภาค    ออกซิเจน -2 หมายถึง รับอิเล็กตรอนเพิ่ม  2 อนุภาค              อิเล็กตรอน = 8 + 2 = 10 อนุภาค และนิวตรอน =  = 8 อนุภาค

36

37

38 คำถามชวนคิด สารต่อไปนี้ประกอบด้วยธาตุในอัตราส่วนเท่าใด NaCl Fe3O4
CH3COOH H2SO4 Mg(OH)2

39 แบบฝึกหัด 1.2.2 จงนำธาตุต่อไปนี้ไปเติมในช่องว่างให้ถูกต้อง (ดูจากหนังสือหน้า 13) I Br Hg N Ag H Cl He Si Fe โลหะ กึ่งโลหะ อโลหะ

40 ทำแบบทดสอบหลังเรียน


ดาวน์โหลด ppt การจำแนกสาร ครูปฏิการ นาครอด.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google