ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
น.พ.สุรชัย แก้วหิรัญ รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลกำแพงเพชร 17 พฤศจิกายน 2560
2
หน่วยงานหลัก: คกก.Service Plan โรคหัวใจ จ.กำแพงเพชร
หน่วยงานร่วม: สสจ.กำแพงเพชร SP Excellence แผนงาน ที่ 6 พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการที่ 9. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคหัวใจ แผนงานที่ 6 เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด วัตถุประสงค์ : ประชาชนจะเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน ลดอัตราตาย จากโรคหัวใจ ตัวชี้วัด : KPI 38 ร้อยละโรงพยาบาล ตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไปสามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วยSTEMI ได้ 100 % : KPI 39 อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ < 27 ต่อแสนประชากร สถาน การณ์ /ข้อมูลพื้นฐาน KPI 38 ร้อยละโรงพยาบาล ตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไปสามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วยSTEMI ได้ ผลงานทำได้ 100 % KPI 39 อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ = ต่อแสนประชากร (เป้าหมายปี 60 = 28) รพ.ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ คือ บึงสามัคคี = 34.10 ยุทธศาสตร์/ มาตรการ มาตรการที่ 1 กลุ่มปกติ มาตรการที่ 2 กลุ่มเสี่ยง มาตรการที่ 3 กลุ่มป่วย กิจกรรมหลัก -คัดกรองประเมินความเสี่ยงหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมากกว่า 80 % - ให้ความรู้เรื่องโรคหัวใจ อาการสำคัญ ระบบรักษา และระยะเวลาที่ต้องรีบมารพ. รวมไปถึง การเข้าถึงบริการ 1669 - ฟื้นฟูความรู้อสม.และอสค.ในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคหัวใจ (แหล่งงบประมาณ/งบประมาณ สสจ.กำแพงเพชร) - ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงมากขึ้นไป(CVD Risk Score>30%) - ให้ความรู้เรื่องโรคหัวใจ อาการสำคัญ ระบบรักษา และ ระยะเวลาที่ต้องรีบมารพ. รวมไปถึง การเข้าถึงบริการ 1669 -รพ.ที่สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือดผ่านตามเกณฑ์มาตรฐาน -สนับสนุนให้มีการตั้งคลินิกHeart Failure Clinic ในM/F -สนับสนุนให้เปิดบริการWarfarin Clinic รพ.ทุกแห่ง(จัดหาเครื่อง ตรวจINR และระบบยาWFR ที่ยังไม่มี รพ.ลานกระบือ, รพ.บึงสามัคคี, รพ.ไทรงาม,รพ.ปางศิลาทอง, รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล และรพ.โกสัมพีนคร -สนับสนุนให้มีเครื่องตรวจEKGในรพ.สต.ที่มีความพร้อม -มียาที่จำเป็นในการรักษา NSTEMI ,UAและ HF ระดับความ สำเร็จ KPI ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1.ร้อยละโรงพยาบาล ตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไปสามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วยSTEMI ได้ 100 % 2. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ < 27 ต่อแสนประชากร <27 ต่อแสนประชากร <27 ต่อแสนปชก
7
Service Plan Strategy Situation Analysis Action Plan Performance
Monitor and Evaluation 6Building Block Plus Partnerships Result base management Committee Goal/Objective Meeting & Communication Supervision IT & MIS support Governance Case Manager Supervision & Meeting CIPP / PDSA
8
หน่วยงานหลัก: คกก.Service Plan จ.กำแพงเพชร หน่วยงานร่วม: สสจ.กำแพงเพชร
โครงการที่ โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขา SP Excellence แผนงานที่ 6 เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด วัตถุประสงค์ : ประชาชนจะเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน ลดระยะเวลารอคอย ลดอัตราตาย ตัวชี้วัด : 1. : 2. สถาน การณ์ /ข้อมูลพื้นฐาน 1. 2. 3. ยุทธศาสตร์/มาตรการ มาตรการที่ 1 กลุ่มปกติ มาตรการที่ 2 กลุ่มเสี่ยง มาตรการที่ 3 กลุ่มป่วย กิจกรรมหลัก - ระดับความ สำเร็จ KPI ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1. 2. 3.
10
ระบบ บริการสุขภาพในปัจจุบัน
เขตสุขภาพ Primary Secondary Tertiary Self Care Referral System Excellent center .แออัด .อัตราป่วย-ตาย .การเข้าถึงบริการ .คุณภาพ-มาตรฐาน .ความเท่าเทียม-สมดุล .การล้มละลาย
11
การจัดระบบบริการในเขตสุขภาพ
F I N A C E EC เขตสุขภาพ Accessibility Quality Equity Safety Self Containment Seamless Healthcare Referral System Referral System Tertiary Referral System Secondary Referral System Primary PCC Referral System Self Care Social Care พชอ. (DHB)
12
การแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ
KPI Service Plan ปี2561 1) ร้อยละโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไปสามารถให้ยาSKผู้ป่วย STEMI 2) อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ 3) WFR Clinic 100% ใน F2 .4) Heart Failure Clinic in ระดับ S หัวใจ 1) ร้อยละผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการรักษาภายในระยะเวลาที่กำหนด 2) อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ 3) อัตราตายจากมะเร็งปอด มะเร็ง 1) อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป (ทั้งที่ ER และ Admit) การแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ 1) อัตราตายทารกแรกเกิด ทารกแรกเกิด 1) อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired 5สาขาหลัก อายุรกรรม 1) ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ One Day Surgery ศัลยกรรม 1) ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีทีม Capture the fracture 1.1 ร้อยละของผู้ป่วย Capture the fracture ที่มีภาวะกระดูกหักซ้ำ (Refracture) 1.2 ร้อยละของผู้ป่วย Capture the fracture ที่ได้รับการผ่าตัดภายใน 72 ชั่วโมง หลังจากได้รับการรักษาในโรงพยาบาล (Early surgery) ออร์โธปิดิกส์
13
KPI Service Plan ปี2561 ไต ปลูกถ่ายอวัยวะ ยาเสพติด จักษุ
1) ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr ไต 1) อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย ต่อ จำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล ปลูกถ่ายอวัยวะ 1) ร้อยละของผู้ป่วยที่ใช้สารเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง3 เดือนหลังจำหน่าย (3 month remission rate) ยาเสพติด 1) ร้อยละสถานพยาบาลระดับ M และ F ที่ให้บริการการดูแลระยะกลาง การดูแลระยะกลาง (Intermediate Care) 1) ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative Care) การดูแลแบบประคับประคอง (Palliative Care) 1) ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก การแพทย์แผนไทยฯ 1) ร้อยละผู้ป่วยต้อกระจกชนิดบอด (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน จักษุ
14
พัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์
KPI Service Plan ปี2561 1) ร้อยละของผู้ป่วย DM & HTที่ควบคุมได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยNCDที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินCVDRisk 3) อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 4) Stroke Unit NCD 1) ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) และร้อยละของโรงพยาบาลที่มีระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ (AMR) RDU 1) อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย ต่อ จำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล ปลูกถ่ายอวัยวะ 1) ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต 2) อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ สุขภาพจิตและจิตเวช 1) ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัวที่เปิดดำเนินการในพื้นที่ (Primary Care Cluster) ระบบการแพทย์ปฐมภูมิ 1) ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพลดลง พัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์
15
6-Building Box Plus++ EC/A/S M F รพ.สต. ชุมชน เครือข่าย
Service Delivery บุคลากร HIS ยา/อุปกรณ์/เครื่องมือ การเงิน นโยบาย
16
Service Plan หัวใจ H1 บริการให้ยาละลายลิ่มเลือด ในผู้ป่วย (STEMI)
- F2 ขึ้นไปมีศักยภาพให้SK.ได้ 100% - แต่ปัจจุบันโกสัมพี ไม่สามารถเบิกค่ายาได้เนื่องจากไม่ใช่สถานบริการรับส่งต่อ H2 บริการผ่าตัดหัวใจ ** รพ.สปร. อยู่ระหว่างการพัฒนา H3 บริการ PPCI - รพ.สปร. เริ่มเปิด PPCI H4 : Warfarin Clinic ในรพช.F2 ขึ้นไป - F1 เปิดบริการแล้ว 6 แห่ง : ไทรงาม,ลานกระบือ,ปางศิลาทอง,บึง ที่ยังไม่มี : รพ.ลานกระบือ, รพ.บึงสามัคคี, รพ.ไทรงาม,รพ.ปางศิลาทอง, รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล และรพ.โกสัมพีนคร H5 : Heart Failure ClinicS เปิดบริการแล้ว 2 ปี การตรวจ Echo และ EST Service delivery บุคลากร HIS ยา เครื่องมือ การเงิน นโยบาย STEMI/HF WFR
18
หน่วยงานหลัก: คกก.Service Plan โรคหัวใจ จ.กำแพงเพชร
หน่วยงานร่วม: สสจ.กำแพงเพชร SP Excellence แผนงาน ที่ 6 พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการที่ 9. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคหัวใจ แผนงานที่ 6 เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด วัตถุประสงค์ : ประชาชนจะเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน ลดอัตราตาย จากโรคหัวใจ ตัวชี้วัด : KPI 38 ร้อยละโรงพยาบาล ตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไปสามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วยSTEMI ได้ 100 % : KPI 39 อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ < 27 ต่อแสนประชากร สถาน การณ์ /ข้อมูลพื้นฐาน KPI 38 ร้อยละโรงพยาบาล ตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไปสามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วยSTEMI ได้ ผลงานทำได้ 100 % KPI 39 อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ = ต่อแสนประชากร (เป้าหมายปี 60 = 28) รพ.ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ คือ บึงสามัคคี = 34.10 ยุทธศาสตร์/ มาตรการ มาตรการที่ 1 กลุ่มปกติ มาตรการที่ 2 กลุ่มเสี่ยง มาตรการที่ 3 กลุ่มป่วย กิจกรรมหลัก -คัดกรองประเมินความเสี่ยงหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมากกว่า 80 % - ให้ความรู้เรื่องโรคหัวใจ อาการสำคัญ ระบบรักษา และระยะเวลาที่ต้องรีบมารพ. รวมไปถึง การเข้าถึงบริการ 1669 - ฟื้นฟูความรู้อสม.และอสค.ในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคหัวใจ (แหล่งงบประมาณ/งบประมาณ สสจ.กำแพงเพชร) - ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงมากขึ้นไป(CVD Risk Score>30%) - ให้ความรู้เรื่องโรคหัวใจ อาการสำคัญ ระบบรักษา และ ระยะเวลาที่ต้องรีบมารพ. รวมไปถึง การเข้าถึงบริการ 1669 -รพ.ที่สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือดผ่านตามเกณฑ์มาตรฐาน -สนับสนุนให้มีการตั้งคลินิกHeart Failure Clinic ในM/F -สนับสนุนให้เปิดบริการWarfarin Clinic รพ.ทุกแห่ง(จัดหาเครื่อง ตรวจINR และระบบยาWFR ที่ยังไม่มี รพ.ลานกระบือ, รพ.บึงสามัคคี, รพ.ไทรงาม,รพ.ปางศิลาทอง, รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล และรพ.โกสัมพีนคร -สนับสนุนให้มีเครื่องตรวจEKGในรพ.สต.ที่มีความพร้อม -มียาที่จำเป็นในการรักษา NSTEMI ,UAและ HF ระดับความ สำเร็จ KPI ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1.ร้อยละโรงพยาบาล ตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไปสามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วยSTEMI ได้ 100 % 2. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ < 27 ต่อแสนประชากร <27 ต่อแสนประชากร <27 ต่อแสนปชก
19
หน่วยงานหลัก: คกก.Service Plan โรคตา จ.กำแพงเพชร
SP Excellence หน่วยงานหลัก: คกก.Service Plan โรคตา จ.กำแพงเพชร หน่วยงานร่วม: สสจ.กำแพงเพชร แผนงาน ที่ 6 พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการที่ 1. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาจักษุวิทยา แผนงานที่ 6 เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด วัตถุประสงค์ : ประชาชนจะเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐานเพิ่มคุณภาพชีวิต ลดภาวะแทรกซ้อน และความพิการ จากโรคตา ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละผู้ป่วยตาบอดจากต้อกระจก (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน30 วัน 80 % สถาน การณ์ /ข้อมูลพื้นฐาน 1.ร้อยละผู้ป่วยตาบอดจากต้อกระจก (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน30 วัน ผลงาน = % รพ.กำแพงเพชร สามารถทำได้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 2.คัดกรองตาต้อกระจกในผู้สูงอายุโดยอสม. 75 % ผลงาน = % อำเภอที่ต้องพัฒนา คือ อำเภอเมืองกำแพงเพชร = 52.77% และ อ.ไทรงาม = 74.84% 3.คัดกรองจอประสาทตา ในผู้ป่วยเบาหวาน 60% ผลงาน = % อำเภอที่สามารถทำได้ตามเป้าหมาย คือ คลองลาน ,อ.ขาณุวรลักษบุรี ,อ.โกสัมพีนคร และ อ.บึงสามัคคี ยุทธศาสตร์/ มาตรการ มาตรการที่ 1 กลุ่มปกติ มาตรการที่ 2 กลุ่มเสี่ยง มาตรการที่ 3 กลุ่มป่วย กิจกรรมหลัก -ตรวจคัดกรองจอประสาทตาด้วยFundus cameraในผู้ป่วยDM ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย รพ.ที่ยังไม่มีกล้อง ได้แก่ รพ.ไทรงาม, รพ.ทรายทองวัฒนา, รพ.ปางศิลาทอง, รพ.บึงสามัคคี , รพ.โกสัมพีนคร และ รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล -พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการตรวจและอ่านผลการตรวจประสาทตาให้มีประสิทธิภาพ -คัดกรอง ตาต้อกระจกเบื้องต้นในผู้สูงอายุ โดยอสม. -ติดตามการวัดสายตาในเด็ก -ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยเบาหวานควบคุมได้ -ส่งเสริมการให้องค์กรส่วนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุนในการคัดกรองตาต้อกระจก และ จอประสาทตา พร้อมอำนวยความสะดวกประชาชนในการเข้ารับการตรวจและรักษาที่รพ.ที่มีศักยภาพสูงกว่า -ติดตามการคัดกรองภาวะตาบอดในเด็กกลุ่มเสี่ยง โดยวัด ROP - Nurse Case Manager โรคตาครอบคลุมทุกโรงพยาบาล -พัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วย DR และ Blinding Cataract เข้ารับการรักษา ได้อย่างรวดเร็ว -โครงการ “ แก้วตา ดวงใจ เทิดไท้องค์ราชันย์” 100 ดวงตา ระดับความ สำเร็จ KPI ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1. ร้อยละผู้ป่วยตาบอดจากต้อกระจก (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน30 วัน 80 %
20
ยา/อุปกรณ์/เครื่องมือ
8. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก KPI : 36. อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired ตัวชี้วัด : < ร้อยละ 24 ในกลุ่มผู้ป่วย community-acquired sepsis < ร้อยละ 48 ในกลุ่มผู้ป่วย hospital-acquired sepsis เกณฑ์เป้าหมาย : เพื่อลดอัตราการเสียชีวิต จากภาวการณ์ติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล 2561 2562 2563 2564 < ร้อยละ 30 < ร้อยละ28 < ร้อยละ 26/50 < ร้อยละ 24/48 ผลการดำเนินงาน รพ กพ. ขาณุฯ คลองขลุง คลองลาน ทุ่งโพธ์ฯ ไทรงาม พรานฯ ลานกระบือ ทรายทอง ปางฯ บึงฯ โกสัมพีฯ จังหวัด อัตราตาย 30.21 6.6 9.1 4.7 33.3 19.5 H/C 77.13 54.5 91.49 76.12 76.5 82.2 97.14 69.49 89.51 90.9 76.90 93.61 ATB 74.19 53.4 89.4 94.8 83.6 94.4 90.5 91.5 100 88.4 97.8 Fluid 64.2 44.97 70.4 79.3 80.6 75.6 80 79.7 92.2 81.8 75.5 61.7 Bl Lactate มี 6-building box Service delivery บุคลากร HIS ยา/อุปกรณ์/เครื่องมือ การเงิน นโยบาย
21
8. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก KPI : 36
8. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก KPI : 36. อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired ยุทธศาสตร์/มาตรการ กิจกรรมหลัก มาตรการกลุ่มปกติ มาตรการกลุ่มเสี่ยง มาตรการกลุ่มป่วย - ประสานหน่วยงานเวชกรรม รพช รพ.สต. ให้ความรู้ในการเฝ้าระวังภาวะ sepsis - ประสาน รพช รพ.สต. ให้ความรู้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงในการเฝ้าระวังภาวะ sepsis รพ.สต. - พัฒนาบุคลากรในการใช้เครื่องมือคัดกรองผู้ป่วย sepsis รพช. มีอายุรแพทย์ ให้มี ICU ที่รพ. M2 (+ F1) ส่งอบรมพยาบาลวิกฤติ ส่งเสริมให้มีการตรวจ ABG รพท. - พัฒนาระบบ Sepsis fast action
22
งานวัณโรค รพ.กำแพงเพชร
ตัวชี้วัด : Success rate > 85% การดำเนินการ - ปรับระบบการดูแล TB/HIV co-infection ทำให้เริ่ม HAART ได้เร็วขึ้น การคัดกรองผู้ป่วยรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงในรพ. การคัดกรองผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชน/เรือนจำ พัฒนา TB hot line สู่พื้นที่ เพื่อติดตามเคส เยี่ยมบ้าน DOTS plus ใน MDR TB ปัญหา/อุปสรรค 1.อัตราการตายสูง 2.ผู้ป่วยเริ่มรักษาช้า 3.ผู้ป่วยขาดการรักษา 4.DOT ไม่มีประสิทธิภาพได้ 5.TB.ในโรคเรื้อรังภูมิต้านทานต่ำ ผลการดำเนินงาน 85% แผนปฏิบัติการ/โครงการ 1.โครงการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในประชากรกลุ่มเสี่ยง 2.โครงการพัฒนาศักยภาพการรักษาผู้ป่วยวัณโรคแบบมีพี่เลี้ยงในระบบ DOT
23
KPI : อัตราตายทารกแรกเกิดภายใน 28 วัน
Service Plan ทารกแรกเกิด KPI : อัตราตายทารกแรกเกิดภายใน 28 วัน ปีงบ ประมาณ เป้าหมาย (ร้อยละ) โรงพยาบาลกำแพงเพชร ภาพรวมจังหวัด จำนวน จำนวนเต็ม อัตรา 2558 <8 / 1000 เกิดมีชีพ 20 3298 6.06 29 5555 5.22 2559 <5 / 1000 เกิดมีชีพ 17 3151 5.40 25 5416 4.62 2560 <4/1000 เกิดมีชีพ 11 3138 3.51 16 5174 3.09 NICU KPH
24
อัตราการRefer out ทารกแรกเกิด ออกนอกเขตสุขภาพ
อัตราตายทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่า 28 วัน(เป้าหมาย 4 ต่อ1000 ทารกเกิดมีชีพ) อัตราการRefer out ทารกแรกเกิด ออกนอกเขตสุขภาพ ปีงบ ประมาณ ในเครือข่าย (>90 %) นอกเครือข่าย จำนวน จำนวนเต็ม อัตรา 2558 34 53 64.15 19 35.85 2559 16 38 42.11 22 57.89 2560 12 25 48.00 13 52.00
25
Strategy Action แผน 2561 พัฒนาศักยภาพบุคลากร Neonatologist
พยาบาลเฉพาะทางทารกแรกเกิดและทารกแรกเกิดวิกฤต อบรม NCPR Refer STABLE อบรมการดูแลทารกแรกเกิด สร้างเครือข่ายการส่งต่อและข้อมูลข่าวสาร ระบบการส่งต่อ ปรึกษาแบบ Hotline ค้นหา/ลดกลุ่มเสี่ยง และติดตามภาวะแทรกซ้อน MCH board พัฒนาแนวทางการส่งตรวจ ROP ร่วมกับจักษุแพทย์ ให้การรักษา ROP ด้วย laser therapy Newborn screening [ OAE , IVH , CHD ] เพิ่มแนวทางการักษาโดยการใช้ Non-invasive Ventilator พัฒนา weaning protocal ในทารกแรกเกิด ใช้ NEWS ในการประเมินทารกแรกเกิด พัฒนาศักยภาพเครื่องมือ Central Monitor สำหรับทารกแรกเกิด เครื่องช่วยหายใจสำหรับทารกแรกเกิดชนิดความถี่สูง Incubator แบบที่ใช้สำหรับทารกทำหัตถการ O2 canula high flow NICU เต็มรูปแบบ เพิ่มจำนวนเตียง NICU ให้เป็น 10 เตียง (คิดเป็น 1 เตียง : 500 การเกิดมีชีพ) ปัจจุบัน มี 8 เตียง (คิดเป็น 1 เตียง : 647 การเกิดมีชีพ)
26
SP : กุมารเวชกรรม ประเด็น : – ลด Child death - ลด Refer out M2 Purpose
ลดอัตราป่วยตายปอดบวมในเด็ก(1ด-5ปี) Process *สำหรับผู้บริหาร (พัฒนา M2 ตามเกณฑ์) -มีแพทย์กุมารแพทย์ครบ -พัฒนา PICU 2-4เตียง -จัดหา Oxygen High flow *สำหรับผู้ปฏิบัติ Ped-CPG ดูแล ARIC,และโรคสำคัญอื่นๆ เช่น DHF,Thalassemia Performance อัตราตายปอดบวมในเด็ก ลดลง10% Refer out M2 ลดลง(pneumonia) M2 สามารถดูแลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจเพิ่มขึ้น รพช.แม่ข่าย(M2) มีศักยภาพในการจัดบริการ และมีแพทย์กุมารแพทย์ตามเกณฑ์ ปี 2560 = 25% ปี 2561 = 50% ปี 2562 = 75% ปี 2563 =100%
27
อัตราrefer out ปอดบวมในเด็ก อายุ 1 เดือน – 5 ปี ลดลง
SP : กุมารเวชกรรม 4คน Purpose :ลดอัตราป่วยตายปอดบวมในเด็กไทย(1ด-5ปี) 2คน KPI (1) : อัตราตายปอดบวมในเด็ก ลดลง10% Purpose : พัฒนามาตรฐาน M2 KPI (2) : จำนวน รพ.M2 สามารถดูแลผู้ป่วยเด็กใช้เครื่องช่วยหายใจเพิ่มขึ้น 10% อัตราrefer out ปอดบวมในเด็ก อายุ 1 เดือน – 5 ปี ลดลง 2558 2559 2560 refer out ร้อยละ 4 0.85 2 0.25 5 0.84 จำนวนผู้ป่วยเด็กอายุ1 -5ปี ที่ได้รับการดูแลใส่ท่อทางเดินหายใจ (เพิ่มขึ้น 10%) 2558 2559 2560 เป้า หมาย ผล งาน เพิ่มร้อยละ ผลงาน 33 47 14.2 52 69 7.5 75.9 72 9.48 ทบทวนกรณีเสียชีวิต ทบทวนกรณีส่งต่อ ใช้ PEWS ในการประเมินผู้ป่วย จัดกุมารสัญจร แผนการพัฒนา
28
หน่วยงานหลัก: คกก.Service Plan โรคมะเร็ง จ.กำแพงเพชร
หน่วยงานร่วม: สสจ.กำแพงเพชร แผนงาน ที่ 6 พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการที่ 9. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคมะเร็ง SP Excellence แผนงานที่ 6 เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด วัตถุประสงค์ : ประชาชนจะเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน ลดระยะเวลารอคอย ลดอัตราตาย จากโรคมะเร็ง ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการ รักษาภายในระยะเวลาที่กำหนด 80 % : 2.อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ ต่อแสนประชากร 3. อัตราตายจากโรคมะเร็งปอด 19.8 ต่อแสนประชากร สถาน การณ์ /ข้อมูลพื้นฐาน 1. ร้อยละผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการ รักษาภายในระยะเวลาที่กำหนด ทำได้ % ยังไม่สามารถลดระยะเวลารอคอยการผ่าตัด และ ระยะเวลารอคอยการฉายแสงได้ 2. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ ผลงาน = ต่อแสนประชากร อ.ที่ต้องพัฒนา คือ ปางศิลาทอง =32.58 และ อ.คลองลาน = 25.07 3. อัตราตายจากโรคมะเร็งปอด ผลงาน = 16,17 ต่อแสนประชากร อ.ที่ต้องพัฒนา คือ ขาณุวรลักษบุรี =25.43 และ อ. พรานกระต่าย = 22.51 ยุทธศาสตร์/มาตรการ มาตรการที่ 1 กลุ่มปกติ มาตรการที่ 2 กลุ่มเสี่ยง มาตรการที่ 3 กลุ่มป่วย - คัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีอายุ30-70ปีและดำเนินตามโครงการสืบสาน พระราชปณิธานสมเด็จย่าต้านภัยมะเร็งเต้านมทั้งจังหวัด -คัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ30-60ปีด้วยวิธี Pap Smear หรือVIA เป้าหมายร้อยละ 80 -คัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงในประชาชนอายุ 50-70ปี โดยการตรวจอุจจาระด้วย FIT Test -มีแผนรณรงค์การป้องกันโรคมะเร็งที่สำคัญชัดเจน 4 ครั้ง/ปี -ฟื้นฟูความรู้อสม.และอสค.ในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคมะเร็ง -ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ด้วย 7 สัญญาณอันตราย 5 ทำ 5ไม่ห่างไกลมะเร็ง -คลินิกอดบุหรี่ เลิกสุรา -รณรงค์เลิกบุหรี่ โครงการ3 ล้าน 3 ปีเลิกบุหรี่ทั่วไทย -สนับสนุนให้เข้าร่วมโครงการเรารักษ์ตับของมูลนิธิโรคตับแห่งประเทศเพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคตับจากไวรัสตับบี -รพช.ทุกแห่งให้สามารถU/Sก้อนผิดปกติ ทำFNA CNBได้ -พัฒนาศักยภาพให้รพ.ทุกแห่งสามารถจ่ายยาTamoxifen -เพิ่มศักยภาพโรงพยาบาลM2และFที่มีความพร้อมให้สามารถให้Chemotherapy first line ได้ -พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย แบบประคับประคอง(Palliative Care) และการดูแลผู้ป่วยระยะ สุดท้าย โรงพยาบาลทุกระดับให้ได้มาตรฐานครบ ทั้ง 5 องค์ประกอบ -พัฒนาการทำทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล(Hospital-Based Cancer Registry) -พัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยโรคมะเร็ง กิจกรรมหลัก ระดับความ สำเร็จ KPI ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1. ร้อยละผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการ รักษาภายในระยะเวลาที่กำหนด 75 % 80 % 2.อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ <24.6 ต่อแสนประชากร <24.6 ต่อแสนปชก 3. อัตราตายจากโรคมะเร็งปอด <19.8 ต่อแสนประชากร
29
แผนงาน/โครงการปี 2561 ระดับ แผนงาน/โครงการ กิจกรรม เขต 3 จังหวัด
โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงในประชาชนอายุ ปีด้วย FIT test (30 บาท/ราย x 17,000 ราย) Colonoscope (2,500 บาท/ราย x 340 ราย) Biopsy(ค่าตรวจชิ้นเนื้อ) (240 บาท/ราย x 120 ราย) จังหวัด โครงการพัฒนาศักยภาพ รพช.ในการตรวจวินิจฉัยมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2561 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยมะเร็งเต้านมด้วย U/S,FNA,CNB แพทย์และพยาบาล รพช. 2.ฟื้นฟูความรู้และขั้นตอนการตรวจเต้านมด้วยตนเองภายใต้โครงการสืนสานพระราชปณิธานสมเด็จย่าต้านภัยมะเร็งเต้านม 3.การผ่าตัดมะเร็งเต้านม รพ.ขาณุวรลักษบุรี และ รพ.คลองขลุง
30
Strategy 1 : การพัฒนามาตรฐานบริการ
แผนงาน การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไต หน่วยงานหลัก: หน่วยงานร่วม: Service Excellence แผนงานที่ 6 ตัวชี้วัด เป้าหมาย/ เป้าหมาย CKD กำแพงเพชรโมเดล วัตถุประสงค์ 1) ลดจำนวนผู้ป่วยโรคไตรายใหม่ 2) ชะลอไตเสื่อม 3) ผู้ป่วยระยะสุดท้ายได้รับการดูแลที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr เป้าหมาย ร้อยละ 66 สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr ปีงบประมาณ 2558 – 2560 เท่ากับ และ ตามลำดับ ยุทธศาสตร์/ มาตรการ Strategy 1 : การพัฒนามาตรฐานบริการ Strategy 2 : การพัฒนาฐานข้อมูลผู้ป่วย โรคไตเรื้อรัง Strategy 3 : การจัดการความรู้ กิจกรรมหลัก 1. การประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบบริการสาขาโรคไต 2. การนิเทศ และประเมินคลินิกโรคไตเรื้อรัง ทีมรักษ์ไต 3. การประชุมคณะทำงานพัฒนารูปแบบการดูแลแบบประคับประคองในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 4. การสร้างและพัฒนารูปแบบการดูแลแบบประคับประคองในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 5. การดำเนินงาน mini CKD Clinic 1. การประชุมคณะทำงานฐานข้อมูลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 2. การพัฒนารูปแบบฐานข้อมูลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 3. การทดลองใช้ฐานข้อมูล 4. การสรุปและนำเสนอ 1. การประชุมคณะกรรมการความร่วมมือระหว่างสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชรและสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์ 2. การสัมมนาการจัดการความรู้โรคไตเรื้อรัง ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 1. ผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr ร้อยละ 60 2. การสร้างรูปแบบฐานข้อมูลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 3. มีการกำหนดหน่วยบริการ mini CKD Clinic 4. มีการกำหนดหัวข้องานวิจัย R2R อย่างน้อย 1 เรื่อง ไตรมาส 2 1. ผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr ร้อยละ 62 2. มีการทดลองใช้ฐานข้อมูลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 3. มีและทดลองใช้รูปแบบการดูแลแบบประคับประคองในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ไตรมาส 3 1. ผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr ร้อยละ 65 2. มีการพัฒนาฐานข้อมูลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 4. mini CKD Clinic ดำเนินการได้ตามมาตรฐาน ไตรมาส 4 1. ผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr ร้อยละ 66 2. ฐานข้อมูลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่เชื่อถือได้ 3. รูปแบบการดูแลแบบประคับประคองในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้มาตรฐาน 4. งานวิจัย R2R อย่างน้อย 1 เรื่อง เสร็จสมบูรณ์
31
อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ รายอำเภอ ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐
Service Plan สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช KPI :อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ (ไม่เกิน 6.3 ต่อแสนประชากร) สถานการณ์ปัญหาสุขภาพจิตในจังหวัดกำแพงเพชร ในระหว่างปีงบประมาณ , 2558 และ พบว่า อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยพบเป็น , 9.76 และ ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ อำเภอที่มีอัตราการฆ่าตัวตายสูงสุดในปีงบประมาณ ได้แก่ อำเภอไทรงาม รองลงมาได้แก่ อำเภอคลองลาน และอำเภอเมืองกำแพงเพชร ในปีงบประมาณ 2560 แนวโน้มอัตราการฆ่าตัวตายลดลง พบอัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ เป็น ต่อประชากรแสนคน อำเภอที่มีอัตราการฆ่าตัวตายสูงสุด ได้แก่ อำเภอคลองขลุง อำเภอเมืองกำแพงเพชร และอำเภอ ไทรงาม เป็นชายร้อยละ เป็นหญิง อายุน้อยที่สุดที่ทำร้ายตนเองสำเร็จ 17 ปีอายุมากที่สุดที่ทำร้ายตนเองสำเร็จ 87 ปี ส่วนใหญ่อยู่ในวัยทำงานร้อยละ อยู่ในวัยสูงอายุร้อยละ วิธีการที่ทำร้ายตนเองสำเร็จมากที่สุดคือ การผูกคอร้อยละ 51.72 อัตราการพยายามฆ่าตัวตาย เท่ากับ ต่อประชากรแสนคน เป็นชายร้อยละ เป็นหญิงร้อยละ ร้อยละ อยู่ในวัยทำงาน ร้อยละ เป็นเด็กและเยาวชน อายุน้อยที่สุดที่พยายามทำร้ายตนเอง คือ 12 ปี อายุมากที่สุดที่พยายามทำร้ายตนเอง คือ 82 ปี สาเหตุที่ทำให้ทำร้ายพบมากที่สุดคือความขัดแย้งกับคนใกล้ชิด คนในครอบครัว นอกจากนี้ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ปัญหาเศรษฐกิจ การเจ็บป่วยด้วยโรคทางกายเรื้อรัง ปัญหาโรคซึมเศร้า ภาวะซึมเศร้า และปัญหาการเสพสุรา วิธีการพยายามฆ่าตัวตาย ร้อยละ ใช้วิธีการกินยาเกินขนาด เช่น ยานอนหลับ ยาแก้ปวดลดไข้ รองลงมาได้แก่ วิธีการกินสารกำจัดวัชพืช ร้อยละ และ กินสารกำจัดแมลง ร้อยละ 12.96 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ รายอำเภอ ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐
32
Service Plan สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช
ตัวชี้วัด ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ (ไม่เกิน 6.3 ต่อแสนประชากร) 9.76 12.16 10.71 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต(มากกว่า ร้อยละ 55) 55.08 56.13 57.53 ด้านการบริการ คน 1. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จสูงเกินเกณฑ์ 2. ไม่สามารถเปิดให้บริการผู้ป่วยในเฉพาะจิตเวชได้ แต่มีการดูแลแบบผู้ป่วยในร่วมกับแผนกอายุรกรรม 3. ยังมีปัญหาการเชื่อมต่อระบบบริการในการดูแลผู้ป่วยที่อาการสงบ ระหว่างรพ.จังหวัดกับหน่วยบริการปฐมภูมิ/รพ.ชุมชน ยังขาดแคลนบุคลากรเฉพาะทางในการดูแลผู้ป่วย - มีจิตแพทย์ 1 คน รับผิดชอบดูแลผู้ป่วยทั้งจังหวัด - ไม่มีจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น - ไม่มีนักสังคมสงเคราะห์ทางจิตเวช - นักจิตวิทยาทางคลินิกมีเพียง 1 คน - พยาบาลเฉพาะทางไม่เพียงพอ
33
หน่วยงานหลัก : คกก.Service Plan สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช
หน่วยงานร่วม : สสจ.กำแพงเพชร Service Excellence แผนงาน การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช แผนงานที่ 6 ตัวชี้วัด ๑. ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต เป้าหมาย ร้อยละ 55 ๒. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ เป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 6.3 หรือ ลดลงจากปีงบประมาณที่ผ่านมาร้อยละ 10 เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน อัตราการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ปีงบประมาณ ประชาชนจังหวัดกำแพงเพชรที่มีปัญหาซึมเศร้า เข้าถึงบริการโรคซึมเศร้าร้อยละ ของความชุกตามลำดับ อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จมีแนวโน้มลดลง โดยมีอัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ ปีงบประมาณ เท่ากับ และ ตามลำดับ ยุทธศาสตร์/ มาตรการ Strategy 1 : การพัฒนาสุขภาพจิตตามกลุ่มวัย Strategy 2 : การเข้าถึงบริการผู้ป่วยจิตเวช Strategy 3 : การพัฒนาบริการวิกฤตสุขภาพจิต ๑. พัฒนาการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชนในระบบบริการปฐมภูมิ ๒. พัฒนาเครือข่ายและระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์/การเรียนรู้ กิจกรรม ๑. การพัฒนาองค์ความรู้สุขภาพจิตชุมชนในระบบบริการปฐมภูมิ ๒. การสัมมนาเพื่อเสริมพลังเครือข่ายการดูแลสุขภาพจิตเด็กปฐมวัยและวัยเรียน ๑. พัฒนาคุณภาพมาตรฐานของระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชของหน่วยบริการในพื้นที่ ๒. พัฒนาระบบข้อมูลผู้ป่วยสุขภาพจิตและจิตเวช ๑. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต ๑. การขับเคลื่อนการบังคับใช้ พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ.๒๕๕๑ ๒. การพัฒนาและทบทวนกระบวนการช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบภาวะวิกฤต ๑. การประชุมคณะอนุกรรมการระดับจังหวัด ๒. การขึ้นทะเบียนพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. ๓. การสัมมนาการดูแลช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ ๔. พัฒนาบริการศูนย์พึ่งได้ กิจกรรมหลัก ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 1. ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จากปีงบประมาณ 2560 2. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จลดลง ร้อยละ 5 (จากปีงบประมาณ 2560) ไตรมาส 2 2. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จลดลง ร้อยละ 10 ไตรมาส 3 2. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จลดลง ร้อยละ 15 ไตรมาส 4 2. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จลดลง ร้อยละ 20
34
แผนการดำเนินงานสุขภาพจิตและจิตเวชปี 2561
Service Plan สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช แผนการดำเนินงานสุขภาพจิตและจิตเวชปี 2561 การดำเนินโครงการแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตาย โดยบูรณาการ แก้ไขปัญหาร่วมกับชุมชน และการพัฒนาคุณภาพการ บำบัดรักษาผู้ป่วยสุราในสถานบริการ (พบว่าการฆ่าตัวตายในจ.กำแพงเพชรมีความสัมพันธ์กับการใช้ สุรา) การพัฒนาเครือข่ายการดูแลด้านจิตเวชเด็กและวัยรุ่น การพัฒนาศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) โดยเชื่อมโยงกับงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดการใช้ สุราและสารเสพติด
35
ผลดำเนินการแยกตามตำแหน่งกระดูกหัก
Service Plan สาขา ออร์โธปิดิกส์ เป้าหมาย เขต : รพ.ระดับ M2 ลงไปให้การดูแลรักษาเองไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของ Non Displace จังหวัด : อัตราการดูแลรักษาเองของ รพ. ระดับ M2 ลงไป ดูแลรักษาเองไม่น้อยของร้อยละ 70 ของ Non Displace ใน จังหวัด ผลดำเนินการแยกตามตำแหน่งกระดูกหัก Fracture Clavicle เป้าหมาย ปี 58 ปี 59 ปี 60 เขต(70%) 70.7 % 72.2 % 80.6 % จังหวัด(70%) 68.50 % 72.24 % 89.11 % Fracture Distal Radius เป้าหมาย ปี 58 ปี 59 ปี 60 เขต(70%) 41 % 90 % 60 % จังหวัด(70%) 75.54 % 49.07 % 61.90 % Fracture distal phalanx of finger and toe เป้าหมาย ปี 58 ปี 59 ปี 60 เขต(70%) 41 % 90 % 60 % จังหวัด(70%) 54.59 % 64.52 % 74.89 %
36
หน่วยงานหลัก: คกก. Service Plan ออร์โธปิดิกส์
แผนงานที่6 โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลักด้านออร์โธปิดิกส์ หน่วยงานหลัก: คกก. Service Plan ออร์โธปิดิกส์ หน่วยงานร่วม: สสจ.กำแพงเพชร service Excellence แผนงานที่ 6… ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีทีม Capture the fracture = 100 / ร้อยละของผู้ป่วย Capture the fracture ที่มีภาวะกระดูกหักซ้ำ = < 30 / ร้อยละของผู้ป่วย Capture the fracture ที่ได้รับการผ่าตัดภายใน 72 ชั่วโมง หลังจากได้รับการรักษาในโรงพยาบาล = > 50 เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน ผู้ป่วยที่มีกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนมาก่อน มีโอกาสเกิดกระดูกสะโพกหักซ้ำสองถึง 50% และ ผุ้ป่วยที่มีกระดูกสะโพกหัก 20%จะตายภายใน 1 ปี ที่เหลือไม่สามารถเดินได้ปกติเหมือนเดิม ค่าใช้จ่ายในการดูแลเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์/ มาตรการ Strategy 1 การสร้างทีม Strategy 2 การป้องกัน Strategy 3 ส่งเสริมความรู้ กิจกรรมหลัก Fracture Liaison Service coordinator หรือ case manager เป็นผู้ประสานระหว่างแพทย์ 1. ให้การวินิจฉัยและรักษาโรคกระดูกพรุน 2. ประเมินความเสี่ยงและป้องกันการหกล้ม 3. ออกกำลังกายให้กระดูกแข็งแรง ให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคกระดูกพรุน ในเรื่องของปัจจัยเสี่ยง อาหาร ออกกำลังกาย ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 วิเคราะห์สถานการณ์ จัดทำแผนงานฯ ไตรมาส 2 กำกับติดตามร้อยละของผู้ป่วย Capture the fracture ที่มีภาวะกระดูกหักซ้ำ ไตรมาส 3 กำกับติดตาม ร้อยละของผู้ป่วย Capture the fracture ที่ได้รับการผ่าตัดภายใน 72 ชั่วโมง ไตรมาส 4 ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีทีม Capture the fracture = 100
37
หน่วยงานหลัก: คกก. Service Plan ออร์โธปิดิกส์
แผนงานที่6 โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลักด้านออร์โธปิดิกส์ หน่วยงานหลัก: คกก. Service Plan ออร์โธปิดิกส์ หน่วยงานร่วม: สสจ.กำแพงเพชร service Excellence แผนงานที่ 6… ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด Arthroscopic ACL Reconstruction มากกว่าร้อยละ 10 เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน พบผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเส้นเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าจากอุบัติเหตุการเล่นกีฬาและอุบัติเหตุอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น ยุทธศาสตร์/ มาตรการ Strategy 1 การสร้างทีม Strategy 2 การป้องกัน Strategy 3 ส่งเสริมความรู้ กิจกรรมหลัก -ส่งเสริมความรู้บุคลากร ของทีมพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัด -ส่งเสริมความรู้บุคลากร ของทีมพยาบาลห้องผ่าตัด 1. ส่งเสริมความรู้ของประชาในเรื่องของการป้องกันอุบัติเหตุต่างๆ การฟื้นฟูหลังผ่าตัด ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด Arthroscopic ACL Reconstruction มากกว่าร้อยละ 10 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
38
สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ Service Excellence 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน
แผนงาน : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ โครงการพัฒนาระบบเครือข่ายผู้บริจาคอวัยวะ Service Excellence Target / อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย ต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล ( เป้าหมายเดิม 1:100 Hospital death ) KPI No. Situation/Baseline 1.จังหวัดกำแพงเพชรมีจำนวนผู้ป่วย ESRD 214 ราย,ผู้ป่วยต้องทำการรักษาด้วยการฟอกเลือด 57 ราย,ผู้ป่วยต้องทำการล้างไตทางหน้าท้อง 181 ราย, ผู้ป่วย waiting list for kidney transplant จำนวน 5 ราย 2.จำนวนผู้แสดงความจำนงบริจาคอวัยวะ 245 ราย, จำนวนผู้แสดงความจำนงบริจาคดวงตา 345 ราย 3.ปีงบประมาณ 2560 เจรจาขอรับบริจาคอวัยวะจากญาติผู้ป่วยสมองตายสำเร็จ 3 ราย ได้รับการผ่าตัดอวัยวะไปปลูกถ่าย ได้แก่ หัวใจ 1,ตับ 1,ไต 4,ดวงตา รวมทั้งสิ้น 12 อวัยวะ Strategy มาตการ มาตรการที่ 1 พัฒนาระบบการคัดกรองผู้ป่วยสมองตาย มาตรการที่ 2 พัฒนาศักยภาพทีมเจรจาและทีมผู้ดูแลผู้ป่วย ภาวะสมองตาย มาตรการที่ 3 การสื่อสารสาธารณะ Key Activity กิจกรรมหลัก จัดอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการรับบริจาคอวัยวะและการคัดกรองผู้ป่วยสมองตายแก่แพทย์และพยาบาล รพช. จัดอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการรับบริจาคอวัยวะและการคัดกรองผู้ป่วยสมองตายแก่หัวหน้าตึกและผู้ตรวจการณ์พยาบาล ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมหลักสูตรการเจรจา บริจาค อวัยวะและดวงตา จัดโดยสภากาชาดไทย ส่งบุคลากรเข้าอบรมหลักสูตรการจัดเก็บดวงตา กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้ ความเข้าใจ และ ประโยชน์จากการบริจาคอวัยวะร่วมกับกาชาด จังหวัด โครงการให้ความรู้และขั้นตอนกระบวนการบริจาค อวัยวะสำหรับ อสม.และผู้นำชุมชน อ.ขาณุ และ อ.คลองขลุง Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.สื่อสารนโยบายและแนวทางปฏิบัติแก่บุคลากรหอผู้ป่วย หัวหน้าตึก และผู้ตรวจการณ์พยาบาล 2.ผู้บริจาคอวัยวะสมองตาย 1 ราย 1.บุคลากรได้รับการอบรมหลักสูตรการเจรจา และการจัดเก็บดวงตา 1.อสม.และประชาชนทั่วไปได้รับความรู้เรื่องการบริจาคอวัยวะ ประเมินผลประสิทธิภาพโครงการและวางแผนพัฒนาการดำเนินงานต่อเนื่อง
39
แผนงาน/โครงการปี 2561 แผนงาน/โครงการ กิจกรรม
โครงการอบรมหลักสูตรบริจาคอวัยวะและดวงตา สภากาชาดไทย 1. ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมหลักสูตรการเจรจา บริจาคอวัยวะและดวงตา จัดโดยสภากาชาดไทย 2. ส่งบุคลากรเข้าอบรมหลักสูตรการจัดเก็บดวงตา พัฒนาระบบการคัดกรองและการดูแลผู้ป่วยสมองตาย ประชุมอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการการคัดกรองและการดูแลผู้ป่วยสมองตายแก่แพทย์และพยาบาล รพช.และรพ.สต. (ผู้เข้าร่วมประชุม 80 คน) การให้ความรู้เรื่องการบริจาคอวัยวะสำหรับ อสม.และผู้นำชุมชน อ.ขาณุ และ อ.คลองขลุง ประชุมอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการรับบริจาคอวัยวะแก่ อสม.และผู้นำชุมชน อ.ขาณุวรลักษบุรี และ อ.คลองขลุง (ผู้เข้าร่วมประชุมอำเภอละ 50 คน)
40
แผนงาน การพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาสุขภาพช่องปาก
รพ.สต./ศสม. จัดบริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ Service Plan Excellence สาขาสุขภาพช่องปาก แผนงานที่ SP8 Target/ KPI No. ร้อยละของรพ.สต./ศสม. จัดบริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 Situation/Base มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง พัฒนาและเพิ่มจำนวน รพ.สต./ศสม. จัดบริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ ผลงานปีงบประมาณที่ผ่านมาร้อยละ 61.29 Strategy/มาตรการ เพิ่มบริการทันตกรรม ในรพ.สต.ที่ไม่มีทันตบุคลากรประจำ พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ให้เป็น รพ.สต. ติดดาว พัฒนาระบบการลงข้อมูล Key activity/ กิจกรรมหลัก 1.จัดประชุมเพื่อวิเคราะห์ปัญหา/ประเด็นพัฒนาเรื่องความครอบคลุมของจำนวนรพ.สต.ที่ให้บริการทันตกรรม 2.จัดทำแผนออกหน่วยหมุนเวียนโดยทันตบุคลากรใน รพ.สต. ที่ไม่มีทันตบุคลากรประจำ 1.จัดประชุมเพื่อวิเคราะห์ปัญหา ประเด็นพัฒนาคุณภาพการบริการของแต่ละ รพ.สต. 2.มีการดำเนินงานกิจกรรมสุขภาพช่องปากครอบคลุม 14 กิจกรรม 6 กลุ่มเป้าหมายในทุกรพ.สต ที่มีทันตบุคลากรประจำและหมุนเวียน 2.จัดทำแผนนิเทศ/ติดตามส่งเสริมการดำเนินงานของ รพ.สต. 1.จัดประชุมเพื่อวิเคราะห์ปัญหา/ประเด็นพัฒนา 2.จัดทำทีมนิเทศ/ติดตามการลงข้อมูลของแต่ละรพ.สต.เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง รวดเร็ว Small success ไตรมาส 1 วิเคราะห์ปัญหาและสามารถหาแนวทางในการดำเนินงานที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ได้ ไตรมาส 2 นิเทศ ติดตามการเนินงาน ดำเนินงานได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ไตรมาส 3 มีการนิเทศ ติดตามการเนินงาน ดำเนินงานได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ไตรมาส 4 ดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
41
อัตราการใช้บริการสุขภาพช่องปากของประชาชนในพื้นที่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 35
แผนงาน การพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาสุขภาพช่องปาก อัตราการใช้บริการสุขภาพช่องปากของประชาชนในพื้นที่ Service Plan Excellence สาขาสุขภาพช่องปาก แผนงานที่ SP9 Target/KPI No. อัตราการใช้บริการสุขภาพช่องปากของประชาชนในพื้นที่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 Situation/Base มีการดำเนินงานพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพิ่มช่องทางในการรับบริการ ผลงานปีที่ผ่านมาร้อยละ 24.16 Strategy/มาตรการ เพิ่มการเข้าถึงการรับบริการสุขภาพช่องปากในทุกสิทธิการรักษาและทุกกลุ่มวัย พัฒนาระบบการลงข้อมูล Key activity/ กิจกรรมหลัก 1.มีการประชาสัมพันธ์ ชี้แจงขอบเขตการรับบริการทันตกรรมและช่องทางในการรับบริการที่เหมาะสมของทุกสิทธิการรักษา ทุกเพศวัย 2.จัดทำแผนออกหน่วยให้บริการทันตกรรมในโรงเรียนประถมศึกษาในเขตความรับผิดชอบ 3.มีแผนดำเนินงานร่วมในการให้บริการสุขภาพช่องปากในงาน ANC,WBC, เวชกรรมสังคม 4.จัดทำแผนออกให้บริการทันตกรรมในทัณฑสถานเรือนจำกลางจังหวัดกำแพงเพชร 5.ควบคุมระยะเวลาการรอคอยในทุกการรักษาไม่เกิน 3 เดือน 1.จัดประชุมเพื่อวิเคราะห์ปัญหา/ประเด็นพัฒนา 2.จัดทำทีมนิเทศ/ติดตามการลงข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง รวดเร็ว Small success ไตรมาส 1 สามารถวิเคราะห์ ปัญหาการดำเนินงานปีที่ผ่านมา และหาแนวทางในการแก้ไข ไตรมาส 2 ดำเนินงานได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ไตรมาส 3 ดำเนินงานได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ไตรมาส 4 ดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 35
42
รพ.สต./ศสม.บริการสุขภาพช่องปากอย่างมีคุณภาพร้อยละ 60
43
CUP เป้า หมาย เมือง ขาณุฯ คลอง ขลุง พรานกระต่าย คลองลาน ไทรงาม ลานกระบือ ปางฯ บึงสามัคคี ทรายทอง โกสัมพี จังหวัด บริการครบ 200 คน/1000ประชากร 60% 52.94 64.71 92.86 87.5 90 77.78 33.33 100 83.33 87.50 72.73 ครอบคลุม 14 กิจกรรม 85.29 94.12 93.75 44.44 88.64 รพ.สต.คุณภาพ 58.82 71.97
44
การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก ≥ 35% ปี2559 และ2560
สถานการณ์การมีฟันใช้งานอย่างน้อย 4 คู่สบ มากขึ้นตั้งแต่ปี 2555 จนปี 2558 ลดลงอยู่ที่ร้อยละ มีอำเภอคลองลาน และทุ่งโพธิ์ทะเลที่ผ่านเป้าหมายร้อยละ 60 ซึ่งจะได้เน้นการส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปากในวัยก่อนสูงอายุและการรณรงค์การใส่ฟันเทียมเพิ่มมากขึ้นต่อไป สำหรับปี 2559 สภาวะสุขภาพช่องปากในทุกกลุ่มวัยยังอยู่ในช่วงการสำรวจจะได้ผลในเดือนกรกฎาคม
45
CUP เป้า หมาย เมือง ขาณุฯ คลอง ขลุง พรานกระต่าย คลองลาน ไทรงาม
ลานกระบือ ปางฯ บึงสามัคคี ทรายทอง โกสัมพี ทุ่งโพธิ์ จังหวัด หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการทันตกรรม 35 34.52 72.12 55.39 59.90 58.13 49.52 36.92 70.27 76.92 88.10 64.91 61.46 52.28 0-2ปี ได้รับบริการทันต กรรม 69.29 79.48 62.93 75.9 73.95 77.86 71.92 80.97 82.90 88.52 86.22 89.67 74.88 3-5 ปี ได้รับบริการทันต กรรม 53.09 75.83 59.74 73.94 57.95 57.15 53.01 65.44 62.39 82.71 67.29 54.24 62.10 6-12 ปี ได้รับบริการทันต กรรม 46.37 46.47 51.89 63.47 64.43 30.33 70.24 45.18 61.03 52.27 44.75 53.36 ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับบริการทันตกรรม 43.43 66.11 65.15 57.14 63.44 71.06 58.83 74.52 52.46 59.62 53.41 67.57 57.78 ผู้สูงอายุได้รับบริการทันตกรรม 28.70 26.83 30.74 41.03 29.96 36.10 34.14 64.93 32.66 39.26 35.19 34.30 33.14
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.