ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Meta data
2
Meta data คืออะไร Metadata คือ คำอธิบายข้อมูล หรือหมายถึงข้อมูล ที่บอกรายละเอียดของข้อมูล เช่น การค้นหาเบอร์โทรศัพท์จากสมุดโทรศัพท์ ซึ่งภายในเล่มจะเป็นแหล่งรวบรวม เมตะดาต้า ของแต่ละบุคคลเพื่อบอกรายละเอียดของบุคคลที่ต้องการค้นหา ได้แก่ ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์
3
ลักษณะหรืองค์ประกอบของ Meta data
1. Descriptive Metadata 2. Structural Metadata 3. Administrative Metadata 4. Technical Metadata 5. Preservation Metadata 6. Use Metadata
4
ประเภทของ Meta data 1. Descriptive Metadata
ใช้เพื่อการค้นหาและการระบุวัตถุสารสนเทศ เป็นกลุ่มที่บรรณารักษ์คุ้นเคยที่สุด ตัวอย่าง คือ MARC, Dublin Core records. 2. Structural Metadata ใช้เพื่อแสดงแก่ผู้ใช้ และนำทางให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงวัตถุสารสนเทศนั้นได้ ดังนั้นจึงประกอบด้วยข้อมูลการจัดหมวดหมู่ของวัตถุนั้น (ไม่ใช่จัดหมวดหมู่ด้านเนื้อหา) เช่น ตู้ >> ลิ้นชัก >> โฟลเดอร์ >> แฟ้มแต่ละแฟ้ม >> เอกสารแต่ละชิ้น
5
ประเภทของ Meta data 3. Administrative Metadata
ใช้เพื่อแสดงข้อมูลการจัดการวัตถุนั้น ๆ เช่น วันที่ที่ผลิต, format ของไฟล์ (JPEG, etc.), ผู้ผลิตหรือหน่วยงานเจ้าของวัตถุนั้น 4. Technical Metadata ใช้เพื่อแสดงข้อมูลเชิงเทคนิค เช่น ฮาร์ดแวร์-ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลงข้อมูล, format ของไฟล์ (JPEG, etc.), อัตราส่วนของการบีบอัดข้อมูล (compression ration) ฯลฯ
6
ประเภทของ Meta data 5. Preservation Metadata
ใช้แสดงข้อมูลด้านการสงวนรักษา เช่น สภาพทางกายภาพของต้นฉบับ, การสงวนรักษาไฟล์ เป็นต้น 6. Use Metadata ใช้แสดงข้อมูลเกี่ยวกับประเภทของผู้ใช้และลักษณะของการใช้ เช่น version ของวัตถุกับประเภทของผู้ใช้ เป็นต้น
7
ตัวอย่างของ Meta data ตัวอย่างของ metadata ที่เราเห็นในชีวิตประจำวันก็คือ ป้ายหรือฉลากที่ติดอยู่บนภาชนะบรรจุอาหาร เครื่องดื่ม หรือสิ่งของต่างๆ เพื่อที่จะอธิบายข้อมูลว่าแต่ละรายการคืออะไร เพียงแค่เราอ่านฉลากก็ทำให้เราทราบถึงคุณลักษณะของสิ่งที่บรรจุอยู่ภายใน
8
การประยุกต์ใช้ประโยชน์ของ Meta data
นำ Meta data มาประยุกต์ใช้กับกลุ่มผู้ผลิตข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ องค์กรระหว่างประเทศ เช่น International Monetary Fund (IMF) , United Nation(UN), Organization for Economic Cooperation and Development(OECD) เป็นต้น หรือ หน่วยงานภายในประเทศที่รวบรวบข้อมูลปฐมภูมิจากเจ้าของข้อมูลหรือ ต้นกำเนิดของข้อมูลแล้วนำมาเรียบเรียงและจัดระเบียบในการนำเสนอในรูปแบบต่างๆเพื่อความสะดวกในการพิจารณา
9
การประยุกต์ใช้ประโยชน์ของ Meta data
กลุ่มผู้ผลิตข้อมูลทุติยภูมิที่เป็นองค์กรระหว่างประเทศต้องการเมตะดาต้าที่เป็นมาตรฐาน(Standard metadata)สามารถเปรียบเทียบและแลกเปลี่ยนกันได้ จึงได้สร้างมาตรฐานของเมตะดาต้าเพื่อเป็นต้นแบบให้กับหน่วยสถิต ิในแต่ละประเทศใช้เป็นมาตรฐานสากลเพื่อการเผยแพร่และแลกเปลี่ยนข้อมูลทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เช่น สร้างมาตรฐานเมตะดาต้าเพื่อการเผยแพร่ข้อมูลสถิติทางอินเตอร์เน็ต กำหนดให้ใช้มาตรฐาน XML (Extensible Markup Language), Dublin Coreในการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
10
ที่มา
11
นางสาวปทุมนภา ไชยสิงห์ รหัส 493050199-6
จัดทำโดย นางสาวปทุมนภา ไชยสิงห์ รหัส สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา ชั้นปีที่ 3
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.