ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยHeloísa Meneses Galindo ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
การจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน (Sustainable Forest Management: SFM) 20 ธันวาคม 2560 สถานีวนวัฒนวิจัยสะแกราช วังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา
2
บทนำ การเตรียมความพร้อม มาตรฐานการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
การออกหนังสือรับรองการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืนมี ๒ ประเภท ทำแล้วได้ประโยชน์อะไร เกณฑ์มาตรฐาน
3
การเตรียมความพร้อม ใคร ? ๑ เจ้าหน้าที่กรมป่าไม้ที่ทำหน้าที่ส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจ ๒ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไม้เพื่อการส่งออก อะไร ? ๑ องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ. สวนป่า ต้องรู้จริง แม่นยำ ๒ องค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน อย่างไร ? ๑ จัดฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ทำหน้าที่ในการส่งเสริม ๒ จัดสัมมนาเจ้าหน้าที่รัฐ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไม้เพื่อการส่งออก เกษตรกรผู้ปลูกต้นไม้เป็นอาชีพ
4
มาตรฐานการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
๑ การจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน คือ การจัดการเพื่อรักษาและส่งเสริมสภาพความสมบูรณ์ของป่าไม้ในระยะยาวของระบบนิเวศป่าไม้ และสามารถอำนวยประโยชน์แก่ประชาชนในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ๒ มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร -เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ การใช้ประโยชน์ และการเพิ่มพูนมูลค่าของผลผลิตจากสวนป่าเศรษฐกิจ -ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชน -ส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่สวนป่า -คุ้มครอง อนุรักษ์ และบูรณแหล่งที่อยู่อาศัยที่มีคุณค่าและระบบนิเวศป่าไม้
5
การออกหนังสือรับรองการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืนมี ๒ ประเภท
๑ การรับรองพื้นที่ปลูก (SFM) แยกตามขนาดพื้นที่ได้ ๓ ประเภท -พื้นที่ขนาดใหญ่ -พื้นที่ขนาดกลาง หรือขนาดเล็กหลายแปลง หรือหลายเจ้าของรวมกัน -พื้นที่ขนาดเล็กไม่เข้าหลักเกณฑ์ ตัวชี้วัด แต่สามารถแสดงความถูกต้องตามกฎหมายได้ เรียกว่าการรับรองไม้ที่ควบคุม (Controlled wood) เป็นการรับรองของค่าย FSC ๒ การรับรองสายการผลิต (Chain of Custody: COC) เป็นการรับรองห่วงโซ่การ ผลิต ตั้งแต่ การตัด การนำเคลื่อนที่ การแปรรูป การผลิต การจำหน่าย และการส่งออก
6
ทำแล้วได้ประโยชน์อะไร
ได้รับการยอมรับระบบการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืนในระบบสากล ตอบสนองความต้องการของตลาด ได้โอกาสเข้าสู่ตลาดโลกที่ต้องการผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการรับรอง ได้ประโยชน์จากการส่งมอบวัสดุที่ได้รับการรับรองมากขึ้น ได้เปรียบในการแข่งขันเปรียบเทียบกับบริษัทที่ไม่ได้รับการรับรอง สามารถสอบย้อนกลับแหล่งที่มาของผลิตภัณฑ์จากป่าไม้ได้
7
เกณฑ์ของอาเซียน (ASEAN, 2007)
Criterions Indicators Criterion 1; Extent of Forest Resources 6 Criterion 2; Biological Diversity 7 Criterion 3; Forest Health and Vitality 2 Criterion 4; Productive Functions of Forest Resources 12 Criterion 5; Protective Functions of Forest Resources 5 Criterion 6; Socio-economic Functions 14 Criterion 7; Legal, Policy and Institutional Framework 13 59 Criterions Indicators Criterion 1; Extent of Forest Resources 6 Criterion 2; Biological Diversity 7 Criterion 3; Forest Health and Vitality 2 Criterion 4; Productive Functions of Forest Resources 12 Criterion 5; Protective Functions of Forest Resources 5 Criterion 6; Socio-economic Functions 14 Criterion 7; Legal, Policy and Institutional Framework 13 59
8
เกณฑ์ของ ITTO (Criterions, 2005)
Indicators Criterion 1; Enabling Conditions for SFM 11 Criterion 2; Extent and Conditions of Forest 6 Criterion 3; Forest Ecosystem Health 2 Criterion 4; Forest Production 12 Criterion 5; Biological Diversity 7 Criterion 6; Soil and Water Protection 5 Criterion 7; Economic, Social and Cultural Aspects 14 57
9
เกณฑ์ของ FSC (Principle, 1993)
Criterions Indicators Principle 1; Compliance with Laws and FSC Principles 6 Principle 2; Tenure and Use Rights and Responsibilities 3 Principle 3; Indigenous Peoples’ Rights 4 Principle 4; Community Relations and Worker’ Rights 5 Principle 5; Benefits from the Forest Principle 6; Environmental Impact 10 Principle 7; Management Plan Principle 8; Monitoring and Assessment Principle 9; Maintenance of High Conservation Value Forests Principle 10; Plantations 9 56
10
เกณฑ์ของ PEFC (Criterion, 1999)
Criterions Indicators Criterion 1; Maintenance and appropriate enhancement of forest resources and their contribution to the global carbon cycle 12 Criterion 2; Maintenance of forest ecosystem health and vitality Criterion 3; Maintenance and encouragement of productive functions of forests (wood and non-wood) 8 Criterion 4; Maintenance, conservation and appropriate enhancement of biological diversity in forest ecosystems 13 Criterion 5; Maintenance and appropriate enhancement of protective functions in forest management (notably soil and water) 5 Criterion 6; Maintenance of other socio-economic functions and conditions 14 Criterion 7; Compliance with legal requirements 2 66
11
เกณฑ์ของ มอก. 14061-2559 (2016) Criterions Indicators
หลักการ 1; การปฏิบัติตามข้อกำหนดกฎหมาย 2 หลักการ 2; การบำรุงรักษาสวนป่าอย่างเหมาะสม เพื่อเป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอน 9 หลักการ 3; การรักษาความสมบูรณ์และระบบนิเวศของสวนป่า 10 หลักการ 4; การรักษาสภาพและการสนับสนุนการทำหน้าที่ด้านผลผลิตของสวนป่า (ผลผลิตเนื้อไม้และผลผลิตที่ไม่ใช่เนื้อไม้) 8 หลักการ 5; การรักษาสภาพ การอนุรักษ์ และการส่งเสริมความหลากหลายทาง ชีวภาพของระบบนิเวศสวนป่า 12 หลักการ 6; การรักษาสภาพและการส่งเสริมการทำหน้าที่ด้านการป้องกันของ การจัดการสวนป่า (เพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ) 5 หลักการ 7; การรักษาสภาพการทำหน้าที่ด้านเศรษฐกิจสังคมของสวนป่า 13 59
12
ขอบเขตการบรรยาย (Outline)
บทนำ (Introduction) มาตรการและการสนับสนุนทางการค้า (Measures and Trade Support) การดำเนินการ FLEGT VPA ในประเทศไทย
13
บทนำ (introduction)
14
บทนำ (Introduction) สาเหตุของการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ในประเทศไทย มาจาก
การจัดตั้งหมู่บ้านป้องกันตนเองตามแนวชายแดน การจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ ตามพระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ (1968) การจัดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ (1975) การที่ทางราชการไม่สามารถดำเนินการตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ (1998) การจัดตั้งนิคมสร้างตนเอง การสัมประทานของรัฐ การบุกรุกยึดครองพื้นที่ของประชาชน
15
บทนำ (Introduction) นโยบายป่าไม้แห่งชาติ
กำหนดให้มีพื้นที่ป่าไม้ทั่วประเทศอย่างน้อย ร้อยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ เพื่อประโยชน์ 2 ประการ ดังนี้ 1. ป่าเพื่อการอนุรักษ์ กำหนดไว้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ดิน น้ำ พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ที่หายาก และป้องกันภัยธรรมชาติอันเกิด จากน้ำท่วมและการพังทลายของดิน ตลอดทั้ง เพื่อประโยชน์ในการ ศึกษาวิจัย และนันทนาการของประชาชนใน อัตราร้อยละ 25 ของพื้นที่ประเทศ 2. ป่าเพื่อเศรษฐกิจ กำหนดไว้เพื่อการผลิตไม้และ ของป่าเพื่อประโยชน์ในทางเศรษฐกิจใน อัตราร้อยละ 15 ของพื้นที่ประเทศ ปัจจุบันประเทศไทยมีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 323 ล้านไร่ มีพื้นที่ป่าไม้ ประมาณร้อยละ ของพื้นที่ ประเทศ หรือประมาณ 102 ล้านไร่ (16.32 ล้านเฮกแตร์)
16
มาตรการและการสนับสนุนทางการค้า (Measures and Trade Support)
17
การรับรองทางป่าไม้ (Forest Certification)
ความเป็นมา Forest Certification: เป็นเครื่องมือหรือวิธีการที่มีผลกระทบต่อวงการป่าไม้ทั่วโลก โดยการใช้การตลาดเป็นข้อกำหนดในการจูงใจให้ปรับปรุงวิธีการจัดการป่าไม้ ให้ ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายและเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะเป็นการชักจูงให้ กระทำตามโดยความสมัครใจ และประการสำคัญวิธีการนี้สามารถช่วยให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง กับการป่าไม้หันหน้าเข้าหากันเพื่อจะเดินไปตามหลักการของการพัฒนาแบบยั่งยืน
18
การรับรองทางป่าไม้ (Forest Certification)
ความเป็นมา Forest Certification เป็นการพัฒนาต่อจากการประชุม UNCED (United Nation Conference on Environment and Development), Rio de Janeiro, Brasil, 3-14 June 1992 มีหลักสำคัญ 3 ประการ คือ ความหลากหลายทางชีวภาพ (Bio-diversity) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) การต่อต้านการเป็นทะเลทราย (Combat Desertification)
19
การรับรองทางป่าไม้ (Forest Certification)
ความเป็นมา 1993: มีการประชุมการป่าไม้ของยุโรป ที่ประเทศฟินแลนด์ ได้มีการ กำหนดหลักเกณฑ์การจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน รวมทั้งการติดฉลาก รับรองสินค้าจากไม้ และในปีเดียวกันได้มีการประชุมเพื่อก่อตั้ง องค์กร FSC (Forest Stewardship Council) ขึ้นมาดำเนินการ โดยมี สำนักงานใหญ่อยู่ที่เมือง Oaxaca ประเทศเม็กซิโก
20
การรับรองทางป่าไม้ (Forest Certification)
ความเป็นมา 1999: PEFC (Program for the Endorsement of Forest) เป็นองค์กรระดับ นานาชาติ จัดตั้งขึ้นในปี 1999 มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองเจนีวา ประเทศ สวิสเซอร์แลนด์ และมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
21
การรับรองทางป่าไม้ (Forest Certification)
ความเป็นมา 2000: ประเทศสมาชิกของ ITTO (International Tropical Timber Organization) ตกลงกันว่าให้สมาชิกไปดำเนินการ กำหนดหลักการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืนเพื่อนำไปใช้ปฏิบัติ
22
การรับรองทางป่าไม้ (Forest Certification)
ความเป็นมา ISO (International Organization for Standardization) เป็นองค์กรมาตรฐานระหว่าง ประเทศ เป็นองค์กรอิสระ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ (1947) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ส่งเสริมการกำหนดมาตรฐานและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การแลกเปลี่ยนสินค้า และบริการเป็นไปโดยสะดวก และช่วยพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศในด้าน วิชาการ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และเศรษฐกิจ มาตรฐานที่กำหนดขึ้นเรียกว่า มาตรฐานระหว่างประเทศ (International Standard) เพื่อให้เกิดความเสมอภาคใน การปฏิบัติ
23
มาตรฐานการค้าระหว่างประเทศ (International trade standard)
Lacey Act FLEGT License CSG: Country Specific Guidance GOHO FSC: Forest Stewardship Council PEFC: Programme for the Endorsement of Forest Certification TIS 14061
24
การดำเนินงาน FLEGT VPA ในประเทศไทย
25
Outline Part 1 Part 2 FLEGT Introduction Negotiation Structure
EU FLEGT Guideline Export to EU Market VPA Advantage FLEGT License Timber Legality Assurance System (TLAS) VPA Status Part 2 Negotiation Structure Timber standard trade with EU International trade VPA Roadmap Work Plan Database searching Q&A
26
ความเป็นมาของ FLEGT พฤศจิกายน 2546 (2003) สหภาพยุโรปประกาศแผนปฏิบัติการเพื่อการบังคับใช้กฎหมายป่าไม้ ธรรมาภิบาล และ การค้า หรือ Forest Law Enforcement, Governance and Trade (FLEGT) ตุลาคม 2553 (2010) สหภาพยุโรปประกาศกฎหมายการค้าไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ หรือ EU Timber Regulation (EUTR) มีนาคม 2556 (2013) EUTR มีผลบังคับใช้
27
EU-FLEGT Mean: FLEGT Introduction (1)
European Union – Forest Law Enforcement, Governance and Trade
28
(EU Timber Regulation: EUTR)
EU-FLEGT Guideline Partner Countries (EU Timber Regulation: EUTR) Due Diligence System: DDS Voluntary Partnership Agreement: VPA ขั้นตอนการเตรียมการก่อนการเจรจาหรือการเตรียมการเพื่อให้เกิดการเจรจา ปี ๒๐๐๙ กรมป่าไม้ เริ่มการประชุมครั้งแรกกับทางสหภาพยุโรป ปี ๒๐๑๐ กรมป่าไม้ตั้งคณะกรรมการ FLEGT ภายในกรมป่าไม้ ปี ๒๐๑๑ ทส. แต่งตั้งคณะกรรมการ FLEGT แห่งชาติ ปี ๒๐๑๒ คณะกรรมการเจรจาฯ ตั้งคณะอนุกรรมการ ๓ ชุด เพื่อจัดเตรียมข้อมูลให้คณะกรรมการเจรจา /ข้อมูลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องและได้รับผลกระทบ / เพื่อจัดทำระบบตรวจสอบรับรองความถูกต้องของไม้
29
การส่งสินค้าไปยังตลาดอียู
ช่องทางการส่งสินค้าไปยัง EU Market มี 2 ช่องทาง 1. Due Diligence System: DDS หมายถึง ระบบสอบทานเอกสาร หลักฐานความถูกต้องของสินค้าไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ โดยผู้เป็นเจ้าของสินค้า มีหน้าที่ในการแสดงหลักฐานความถูกต้องให้กับผู้ซื้อเอง 2. Voluntary Partnership Agreement: VPA หมายถึง การเจรจา ข้อตกลงเป็นหุ้นส่วนด้วยความสมัครใจกับ EU
30
4. Issuing of FLEGT Licenses
Timber Legality Assurance System Five elements of Timber Legality Assurance Systems 5. Independent Audit 4. Issuing of FLEGT Licenses 3. Verification of compliance for operators and timber products 1. Legality Definition 2. Timber Supply chain
31
FLEGT License FLEGT License process has 3 steps;
Pre-negotiation Stage: giving information by the EU/preparation of Thailand side Negotiation Stage: start since Thailand intent to negotiate with EU until conclusion and ratification The Action steps to achieve the FLEGT License by developing the TLAS for EU to accept
32
FLEGT License กระบวนการเพื่อให้ได้ FLEGT License มี 3 ขั้นตอน
ก่อนการเจรจา (Pre-negotiation) การเจรจา (Negotiation) การดำเนินการเพื่อให้ได้ FLEGT License FLEGT License กระบวนการเพื่อให้ได้ FLEGT License มี 3 ขั้นตอน ขั้นตอนก่อนการเจรจา (Pre-negotiation Stage) เป็นการให้ข้อมูลของ EU/การเตรียมความพร้อมของฝ่ายไทย ขั้นตอนการเจรจา (Negotiation Stage) เริ่มตั้งแต่ไทยประกาศเจตจำนงที่จะเจรจากับ EU จนถึงสรุปผลข้อตกลงและให้สัตยบรรณ (Ratification) ขั้นตอนการดำเนินการเพื่อให้ได้ FLEGT License โดยการพัฒนาระบบประกันความถูกต้องของไม้ (TLAS) ให้ EU ยอมรับ
34
VPA Status Implementing countries
- Cameroon - Central African Republic - Ghana - Liberia - Republic of the Congo - Indonesia Negotiating countries - Gabon - Democratic Republic of the Congo - Honduras - Malaysia - Vietnam - Thailand Preparing countries - Middle and South of America: Bolivia, Colombia, Ecuador, Guatemala, Peru, Guyana - Asia Pacific Region: Laos, Cambodia, Burma, Papua new guinea and Solomon islands - Africa: Cote d’livoire (ivory coast), Sierra Leone
35
ขั้นตอนการเตรียมการก่อนการเจรจาหรือการเตรียมการเพื่อให้เกิดการเจรจา
ปี ๒๐๐๙ กรมป่าไม้ เริ่มการประชุมครั้งแรกกับทางสหภาพยุโรป ปี ๒๐๑๐ กรมป่าไม้ตั้งคณะกรรมการ FLEGT ภายในกรมป่าไม้ ปี ๒๐๑๑ ทส. แต่งตั้งคณะกรรมการ FLEGT แห่งชาติ ปี ๒๐๑๒ คณะกรรมการเจรจาฯ ตั้งคณะอนุกรรมการ ๓ ชุด เพื่อจัดเตรียมข้อมูลให้คณะกรรมการเจรจา /ข้อมูลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องและได้รับผลกระทบ / เพื่อจัดทำระบบตรวจสอบรับรองความถูกต้องของไม้
36
VPA Voluntary Partnership Agreement
ข้อตกลงการเป็นหุ้นส่วนด้วยความสมัครใจ เนื้อหาข้อตกลง (Main Text) ภาคผนวกในบันทึกข้อตกลง VPA (VPA Annex)
37
ภาคผนวกในบันทึกข้อตกลง VPA
ภาคผนวกที่ 1: ขอบเขตของผลิตภัณฑ์ (Product Scope) ภาคผนวกที่ 2: นิยามความถูกต้องตามกฎหมาย (Legality Definition) ภาคผนวกที่ 3: กระบวนการนำเข้าไม้ของสหภาพยุโรป (EU Import Procedures) ภาคผนวกที่ 4: กระบวนการออกใบอนุญาตเฟล็กที (FLEGT licensing procedures) ภาคผนวกที่ 5: คำอธิบายระบบการรับประกันความถูกกฎหมายของไม้ (TLAS Description) ภาคผนวกที่ 6: การควบคุมการนำเคลื่อนที่ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ (Supply Chain Controls) ภาคผนวกที่ 7: การตรวจสอบโดยอิสระ (Independent Audit) ภาคผนวกที่ 8: การประเมินผลระบบการรับประกันความถูกต้องตามกฎหมายของไม้ (TLAS evaluation) ภาคผนวกที่ 9: กำหนดการการดำเนินการ (Implementation Schedule) ภาคผนวกที่ 10: การวัดความโปร่งใส (Transparency measures)
38
ภาคผนวกที่ 1 ขอบเขตของผลิตภัณฑ์ (Product Scope)
การกำหนดขอบเขตและชนิดของสินค้าไม้ที่จะส่งออกไปยังสหภาพยุโรปภายใต้ ข้อตกลง VPA ประชุมคณะทำงานจัดทำข้อตกลงเป็นหุ้นส่วนด้วยความสมัครใจฯ เพื่อหารือเรื่องการ กำหนดขอบเขตของผลิตภัณฑ์ไม้ 2 ครั้ง ประเทศไทยได้ร่างขอบเขตผลิตภัณฑ์ร่างแรก และส่งไปยังผู้แทนด้านเทคนิคของ สหภาพยุโรปอย่างเป็นทางการเพื่อขอความเห็น ยังไม่ได้รับการตอบกลับมาจากสหภาพยุโรป
39
ภาคผนวกที่ 2 นิยามความถูกต้องตามกฎหมาย (Legality Definition)
Ad-hoc WG Meeting Technical Meeting Sub-Committee National Committee Negotiation Thai-EU TEFSO ได้จัดประชุมคณะทำงานจัดทำข้อตกลงการเป็นหุ้นส่วนด้วยความสมัครใจฯ เรื่อง การกำหนดนิยามความถูกต้องตามกฎหมายไปแล้วทั้งหมด 7 ครั้ง และได้จัดทำร่างนิยามฯ ขึ้นมาแล้ว 2 ฉบับ ประเทศไทยก็ได้ดำเนินการจัดส่งร่างนิยามฯ ฉบับที่ 2 ไปยังผู้แทนของสหภาพยุโรปเพื่อขอความคิดเห็นต่อร่างนิยามฯ สหภาพยุโรปฯ ได้ตอบกลับพร้อมกับความเห็นต่อร่างนิยามฯ ดังกล่าว จึงนำไปสู่การประชุมหารือด้านเทคนิคเกี่ยวกับข้อคิดเห็นของสหภาพยุโรปต่อร่างนิยามฯ ของไทย ระหว่างคณะทำงานฝ่ายไทยและผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคจากสถาบันป่าไม้ยุโรป และตอนนี้ร่างนิยามฯ ใกล้จะเสร็จสมบูรณ์และพร้อมที่จะนำเข้าเจรจา
40
ภาคผนวกที่ 6 การควบคุมการนำเคลื่อนที่ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ (Supply Chain Controls)
การควบคุมระบบห่วงโซ่อุปทานของการนำเคลื่อนที่ไม้ในประเทศไทยตั้งแต่ ต้นทางจนถึงปลายทาง รวมถึงการนำเข้าและส่งออกสินค้าไม้ของประเทศ อยู่ในช่วงร่างแผนภาพและรายละเอียด
41
แผนงานที่จะดำเนินการในปี 2560
National Committee Meeting (15 มีนาคม 2560) Field Test ตัวชี้วัดและตัวตรวจพิสูจน์ภายใต้ร่างนิยามฯ ร่วมกับ EFI การประชุม เรื่องผลที่ได้จาก Field Test ตัวชี้วัดและตัวตรวจพิสูจน์ภายใต้ร่างนิยามฯ ภาคผนวกที่ 3: กระบวนการนำเข้าไม้ของสหภาพยุโรป (EU Import Procedures) ภาคผนวกที่ 5: คำอธิบายระบบการรับประกันความถูกกฎหมายของไม้ (TLAS Description)
42
2561 2562 ภาคผนวกที่ 4: กระบวนการออกใบอนุญาตเฟล็กที
ภาคผนวกที่ 7: การตรวจสอบโดยอิสระ 2561 ภาคผนวกที่ 8: การประเมินผลระบบการรับประกันความถูกต้องตามกฎหมายของไม้ ภาคผนวกที่ 9: กำหนดการการดำเนินการ ภาคผนวกที่ 10: การวัดความโปร่งใส 2562
43
ช่องทางการติดต่อ (Database searching)
44
ขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.