ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
มาตรฐาน IEEE 802.11 มาตรฐาน IEEE 802.11
2
มาตรฐาน IEEE 802.11 มาตรฐาน IEEE 802.11
มาตรฐานการทำงานของระบบเครือข่ายไร้สาย เป็นมาตรฐานกลางที่นำมาปฏิบัติใช้เพื่อที่จะเชื่อมโยงอุปกรณ์เครือข่ายไร้สายเข้าด้วยกันบนระบบเครือข่ายโดยกำหนดขึ้นจากองค์กร Institute of Electrical and Electronics Engineers (IEEE) องค์กรจะกำหนดมาตรฐานการสื่อสารข้อมูลบนระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้อุปกรณ์จะมีหลายยี่ห้อหลายรุ่นสามารถเชื่อมต่อกันได้ และกำหนดมาตรฐานย่อยขึ้นคือ a, b, g และ n ตามลำดับ มาตรฐาน IEEE a มาตรฐาน IEEE b มาตรฐาน IEEE g มาตรฐาน IEEE n
3
มาตรฐาน IEEE 802.11a มาตรฐาน IEEE 802.11b มาตรฐาน IEEE 802.11g
โดยแต่ละมาตรฐานมีความเร็วและคลื่นความถี่สัญญาณที่แตกต่างกัน มีรายละเอียดดังนี้ มาตรฐาน IEEE a มาตรฐาน IEEE b มาตรฐาน IEEE g มาตรฐาน IEEE n
4
ทำงานบนย่านความถี่ 5 GHz มีความเร็วในการรับส่งข้อมูล 54 Mbps
มาตรฐาน IEEE a ทำงานบนย่านความถี่ 5 GHz มีความเร็วในการรับส่งข้อมูล 54 Mbps ระยะการรับส่ง ระยะโครงสร้างตึก 35 M ที่โล่ง 120 M มาตรฐาน IEEE a มาตรฐาน IEEE b มาตรฐาน IEEE g มาตรฐาน IEEE n
5
ทำงานบนย่านความถี่ 2.4 GHz มีความเร็วในการรับส่งข้อมูล 11 Mbps
มาตรฐาน IEEE b ทำงานบนย่านความถี่ 2.4 GHz มีความเร็วในการรับส่งข้อมูล 11 Mbps ระยะการรับส่ง ระยะโครงสร้างตึก 38 M ที่โล่ง 140 M มาตรฐาน IEEE a มาตรฐาน IEEE b มาตรฐาน IEEE g มาตรฐาน IEEE n
6
ทำงานบนย่านความถี่ 2.4 GHz มีความเร็วในการรับส่งข้อมูล 54 Mbps
มาตรฐาน IEEE g ทำงานบนย่านความถี่ 2.4 GHz มีความเร็วในการรับส่งข้อมูล 54 Mbps ระยะการรับส่ง ระยะโครงสร้างตึก 38 M ที่โล่ง 140 M มาตรฐาน IEEE a มาตรฐาน IEEE b มาตรฐาน IEEE g มาตรฐาน IEEE n
7
ทำงานบนย่านความถี่ 2.4/5 GHz มีความเร็วในการรับส่งข้อมูล 300Mbps
มาตรฐาน IEEE n ทำงานบนย่านความถี่ 2.4/5 GHz มีความเร็วในการรับส่งข้อมูล 300Mbps ระยะการรับส่ง ระยะโครงสร้างตึก 70 M ที่โล่ง 250 M มาตรฐาน IEEE a มาตรฐาน IEEE b มาตรฐาน IEEE g มาตรฐาน IEEE n
8
ตารางเทียบ มาตรฐาน IEEE 802.11 a-n
ย่านความถี่ อัตราความเร็วสูงสุด ระยะโครงสร้างตึก ที่โล่ง IEEE a 5 GHz 54 Mbps 35 เมตร 120 เมตร IEEE b 2.4 GHz 11 Mbps 38 เมตร 140 เมตร IEEE g IEEE n 2.4/5 GHz 300 Mbps 70 เมตร 250 เมตร
9
IEEE ac Wave 1 คือ อะไร 802.11ac Wave 1 เป็นมาตรฐานของระบบเครือข่ายไร้สายใหม่ในปัจจุบัน ที่คาดว่าจะมาแทนที่มาตรฐาน IEEE n ในอนาคต โดยใช้การมอดูเลตสัญญาณแบบใหม่, ปรับอัลกอริธึมให้ดีขึ้น, ปรับช่องสัญญาณให้มีขนาด 80 MHz แทนของเดิมที่ขนาด 40 MHz ใน n ส่งผลให้มีอัตราการรับส่งข้อมูลสูงถึง 433 Mbps 802.11ac Wave 1 ยังรองรับการส่งข้อมูลพร้อมกันถึง 4 ชุด (4 Spatial Streams) ทำให้สามารถทำความเร็วสูงสุดได้ถึง 1.73 GHz แต่ในปัจจุบัน เทคโนโลยีรองรับการส่งข้อมูลพร้อมกันได้สูงสุดเพียง 3 ชุดเท่านั้น จึงได้ความเร็วสูงสุดที่ 1.3 GHz หรือ Data Sheet ทั่วไป
10
IEEE 802.11ac Wave 1 เทคโนโลยี MIMO
เทคโนโลยีที่เราได้ยินกันมากในช่วงหลัง คือ multiple-input, multiple-output (MIMO) ที่อาศัยสัญญาณช่องเท่าเดิม แต่เพิ่มจำนวนเสาส่งและเสารับให้มากขึ้น ทำให้ได้รับความเร็วสุดท้ายที่เพิ่มขึ้น MIMO อาศัยความจริงที่ว่าในการส่งสัญญาณออกไป คลื่นจะเดินทางไปหลายเส้นทาง เรียกว่า multipath ก่อนหน้านี้คลื่นที่แยกออกเป็นหลายเส้นทางนี้เคยเป็นปัญหาในการสื่อสาร เพราะแต่ละเส้นทางจะไปกวนกันเองที่ตัวรับ ทำให้ถอดข้อมูลกลับมาได้ยาก
11
ความสามารถเทคโนโลยี MIMO
เป็นการปรับ phase และ amplitude ของสัญญาณวิทยุที่ส่งออกจากแต่ละเสา เพื่อให้สัญญาณไปถึงภาครับได้ชัดเจนที่สุด Beam-forming การส่งข้อมูลหลายชุดออกไปพร้อมกันในช่องสัญญาณเดียวกัน แต่ส่งออกไปจากตัวส่งหลายชุดแยกกันไป Spatial Multiplexing รองรับการส่งข้อมูลชุดเดิมไปที่เข้ารหัสเป็น matrix เพื่อส่งออกไปยังเสาหลายต้น เพิ่มความเสถียรของสัญญาณได้เป็นอย่างดี Space Time Coding
12
เตรียมเดินหน้าสู่ 802.11ac Wave 2
มาตรฐาน n และ ac Wave 1 มีข้อจำกัดทางเทคโนโลยีที่เรียกว่า SU-MIMO (Single-User Multiple Input / Multiple Output) คือ สามารถรับส่งข้อมูลได้พร้อมกันหลายชุดพร้อมกัน แต่ได้เพียงทีละผู้ใช้เท่านั้น ac Wave 2 จะถูกออกแบบมาเพื่อแก้ไขเทคโนโลยีตรงจุดนี้ คือ รองรับการใช้งานแบบ MU-MIMO (Multi-User Multiple Input / Multiple Output) ซึ่งสามารถรับส่งข้อมูลหลายๆชุดกับหลายๆผู้ใช้ได้พร้อมกัน สูงสุดที่ 4 ผู้ใช้ นอกจากนี้ ac Wave 2 จะทำการขยายช่องสัญญาณจากของเดิม (Wave 1) คือ 80 MHz ไปเป็น 160 MHz และเพิ่มอัตราการรับส่งข้อมูลพร้อมกันจากเดิม 4 ชุด ไปเป็น 8 ชุด (8 Spatial Streams) ซึ่งเมื่อรวม 2 ปัจจัยนี้เข้าด้วยกัน พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพของการทำ Beamfoaming และเทคนิคอื่นๆ คาดว่ามาตรฐาน ac Wave 2 จะทำความเร็วสูงสุดที่ประมาณ 7 ~ 10 Gbps มาตรฐาน ac Wave 2 ถูกคาดการณ์ไว้ว่าจะพร้อมใช้งานภายในปี 2015
13
ตารางเทียบ มาตรฐาน IEEE 802.11 g-ac ความเร็วสูงสุดที่ทำได้
ความถี่คลื่น ความกว้างช่องสัญญาณ ความเร็วสูงสุดที่ทำได้ รองรับ MIMO 802.11g 2.4 GHz 25 MHz 54 Mb/s ไม่รองรับ 802.11n 2.4 / 5 GHz 40 MHz 600 Mb/s รองรับ (3) 802.11ac 5 GHz 80 / 160 MHz 6.93 Gb/s รองรับ (8)
14
ข้อดีของ มาตรฐาน IEEE 802.11ac
802.11ac ทำความเร็วกว่า n เกิน 2 เท่า ทำให้รองรับการสตรีมวิดีโอระดับ HQ ไปยังอุปกรณ์หลายๆเครื่องพร้อมกันได้สบาย สามารถทำความเร็วได้ถึง 1.3 Gbps 802.11ac ทำงานบนช่วงความถี่ 5 GHz ทำให้สัญญาณการส่งแคบและสั้นกว่า 2.4 GHz จึงมีฟังชั่น Beam-forming ทำหน้าที่ปรับเสาแล้วยิงไปหาอุปกรณ์โดยตรงทำให้ระยะทางไกลขึ้น 802.11ac นั้น เพื่อให้ได้ความเร็วสูงขึ้น จึงใช้ช่องสัญญาณที่มีความกว้าง 80 และ 160 MHz แทนที่จะเป็น 20 MHz เหมือน n ส่งผลให้สามารถเลือกใช้ข่องสัญญาณที่จะทำให้ไม่เกิดการรบกวนกันของสัญญาณได้ มาตรฐาน ac สามารถรองรับเทคโนโลยี Wi-Fi แบบเก่าทั้งหมด
15
ข้อเสียของ มาตรฐาน IEEE 802.11ac
เพื่อให้ได้ความเร็วสูงสุด ต้องใช้การรับส่งข้อมูลพร้อมกัน 3 ชุด (3 Spatial Streams) ซึ่งแต่ละชุดจะได้ความเร็วสูงสุดที่ 433 Mbps ตอนนี้ AP รองรับการรับส่งข้อมูลพร้อมกันสูงสุด 3 ชุดแล้ว ในขณะที่อุปกรณ์รับสัญญาณ เช่น โน๊ตบุ๊ค มือถือ และแท็บเล็ตรุ่นใหม่ๆจะรองรับเพียงแค่ 1 – 2 ชุดเท่านั้น (ความเร็วสูงสุด 867 Mbps) ระบบ LAN ด้วย ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้สาย LAN แบบ CAT5c หรือ CAT6 ที่รองรับความเร็วสูงสุดที่ 1 Gbps เท่านั้น และสัญญาณอินเตอร์เน็ตจะอยู่ที่ประมาณ 10 – 200 Mbps ส่งผลให้ต่อให้สัญญาณเครือข่ายไร้สายเร็วแค่ไหน ก็จะเกิดคอขวดขึ้นที่ระบบ LAN และสัญญาณอินเตอร์เน็ตทันที ส่วนใหญ่มักจะคิดว่า มาตรฐาน ac จะช่วยให้เราใช้สาย LAN น้อยลง ใช้อุปกรณ์จำพวกสวิตช์น้อยลง ประหยัดค่าใช้จ่ายมากขึ้น … ที่จริงแล้วมันเป็นเรื่องตรงกันข้าม เนื่องจากถ้าเราต้องการให้ได้ความเร็วสูงถึง 1.3 GHz จริงๆ นั่นหมายความว่า เราต้องเชื่อมต่อ AP กับระบบเครือข่ายด้วยสาย LAN จำนวน 2 สาย และจำนวนสวิตช์ก็ต้องเพิ่มมากขึ้นเกือบ 2 เท่า
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.