ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สังคมและการเมือง : 03751112 Social and Politics
: แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาสังคม - จุดกำเนิดแนวคิดและทฤษฎี - สาระสำคัญแนวคิดและทฤษฎี - การประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎี 9 : 14 พ.ย. 58
2
ทฤษฎีภาวะทันสมัย (Modernization Theory)
มุ่งสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ด้วย : - กระบวนการพัฒนาอุตสาหกรรม - การจัดโครงสร้างทางการเมือง - การบริหารแบบประเทศตะวันตก วัดผล : การเพิ่มรายได้ / การพัฒนาเมือง ผลการพัฒนา : ภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตร ภาคการค้าและธุรกิจ ภาคการเงินและธนาคาร ภาคก่อสร้าง และภาคอื่นๆ
3
1) การประสบความสำเร็จในโครงการฟื้นฟูยุโรป
จุดกำเนิดทฤษฎี 1) การประสบความสำเร็จในโครงการฟื้นฟูยุโรป , ERP (European Recovery Progamme) โครงการมุ่งบูรณะประเทศอุตสาหกรรมยุโรปตะวันตกให้พ้นจากหายนะสงครามโลกครั้งที่ 2 - เพิ่มบทบาทรัฐบาลในการวางแผนเพื่อพัฒนาสร้างความเจริญเติบโต - อาศัยทุนและความช่วยเหลือระหว่างประเทศ โดยเฉพาะสหรัฐตาม Marshall Plan สมัยประธานาธิบดี Truman - เป้าหมายต้องการให้อัตราการเติบโตเศรษฐกิจไม่ต่ำกว่า 5% ต่อปี ใน England Italy France Western German
4
2) แนวความคิดของนักทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อการ กำหนดทฤษฎีภาวะทันสมัย
1. นักทฤษฎีเศรษฐศาสตร์พัฒนาการ W.W.Rostow เสนอแนวคิด “การสร้างความเจริญเติบโตตามลำดับขั้น (The Stages of Growth) เชื่อว่า “การพัฒนามีแนวทางเดียวที่ใช้ได้กับทุกสังคม” หนังสือชื่อว่า The Stages of Economic Growth : A Non Communist Manifesto ปี 1960 สังคมต่างๆ มีลำดับขั้นความเจริญเติบโตอยู่ 5 ขั้นตอน และไม่มีการข้ามขั้นตอนในการพัฒนา ยังเป็นแนวทางการขจัดสภาวะสังคมทวิภาค (Dualistic Society) ที่เกิดความไม่เท่าเทียมกันระหว่างสาขาการผลิตและพื้นที่
5
W.W. Rostow เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาระดับขั้นของความเจริญเติบโต (Stages of Growth) 1) The Traditional Society 2) The Pre-conditions for Take-off 3) The Take-off into Self-Sustaining Growth 4) The Drive to Maturity 5) The Age of High Mass Consumption
6
2. นักทฤษฎีสังคมวิทยา ความคิดของ Max Weber และ Talcott Parson ถูกนำมาประยุกต์ใช้กำหนดแนวทาง 2.1 สังคมทันสมัย 2.2 สถาบันทันสมัย 2.3 บุคคลทันสมัย
7
3. นักรัฐศาสตร์และนักรัฐประศาสนศาสตร์
Samuel P. Hungtintion เสนอแนวความคิดและทฤษฎีภาวะทันสมัย โดยอาศัยแนวทางสังคมวิทยา Max Weber สถาปนาระบบราชการ สังคมเชิงจริยธรรมของศาสนาโปรแตสแตน ที่เปลี่ยน Tradition Soc. Modern Soc. Parson นำไปสร้างแนวคิด Tradition Society และ Modern Society Hungtintion นำมาใช้กำหนดคุณลักษณะภาวะทันสมัย Characteristic of Modernity
8
Tradition Soc. Modern Soc.
1) ความผูกพันทางสังคม Particularistis Universalistic 2) ความสำเร็จในหน้าที่การงาน Ascription Achievement 3) การตัดสินใจเชิงคุณค่า Affectivity Objectivity 4) บทบาทองค์กร/สถาบัน Differseness Specification 5) การกำหนดอำนาจ/หน้าที่/แบ่งงาน Centralization Decentralization
9
Tradition Soc. Modern Soc.
6) การผลิต Low Productivity High Productivity 7) ความสัมพันธ์ทางการแลกเปลี่ยน Local-Exchange Inter-Exchange 8) ระบบการบริหาร Inefficient Efficient
10
สาระสำคัญของทฤษฎีภาวะทันสมัย
1) จุดมุ่งหมายการพัฒนา เร่งการขยายตัวทางเศรษฐกิจในอัตราเฉลี่ย 5% ต่อปี (คิดจาก GNP ทั้งในและนอกประเทศ) GNP Percapita สูง Conceptualization : เศรษฐกิจเป็นแกนนำผลักดันให้เกิดการแพร่กระจายออกสู่สาขาและพื้นที่อื่นๆ (Trickle Down Effect) 2) สาขาการผลิต รัฐควรลงทุน/ผลักดันการผลิตในภาคอุตสาหกรรมแทนภาคเกษตรกรรม เพราะทำให้อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจดีขึ้น
11
3) พื้นที่ที่ให้ความสำคัญ
การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเอื้อต่อการพัฒนา (Infra-Structure) - พื้นที่เมืองรองรับการผลิต เกิด Urbanization/ เมืองอุตสาหกรรม - พื้นที่วิจัยและพัฒนารองรับการพัฒนาอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรม 4) วิธีการผลิต เน้นการใช้ทุนอย่างเข้มข้น (Capital Intensive) เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพหรือผลิตภาพสูง (High Productivity) ทุน/เทคโนโลยีมากกว่าแรงงาน
12
5) เทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิต
ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง (High/Advanced Technology) มีนวัตกรรม/พลวัตรตัวเอง (Dynamics) การเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว 6) การจัดลำดับการผลิตและการแลกเปลี่ยน อาศัยกลไกระบบตลาด (Marketing System) ภาครัฐและเอกชนสถาปนาขึ้นมา ลักษณะ Invisible Hand 7) การวัดผลการพัฒนา ใช้ GNP Percapita Income หรือ รายได้ต่อหัวต่อปี ชี้วัดผลสำเร็จการพัฒนา
13
8) ความสัมพันธ์ระหว่างสาขาการผลิต
ลงทุนภาคอุตสาหกรรม แพร่ขยาย (Trickle Down Effect) - ภาคเกษตรกรรม ภาคบริการ ภาคพาณิชยกรรม ภาคอื่นๆ - โดยอาศัย Marketing System ถ้า Trickle Down Effect ไม่เกิด การ Take Off จะไม่มี 9) แหล่งทุน ปกติการออมภายในประเทศจะเกิดทุนได้ - การสะสมทุนภายในประเทศด้วยการออม (Internal Saving) - การก่อหนี้สาธารณะ - การส่งเสริมการลงทุนต่างประเทศ
14
10) บทบาทภาครัฐ - สร้างองค์กรภาครัฐกำหนดนโยบายและแผนพัฒนา - วิธีการวางแผนลักษณะ Top Down โดยมี Leader Sector กลุ่มข้าราชการ นักวิชาการ ผู้ประกอบการ
15
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีและตัวแบบ
1) โครงการฟื้นฟูเศรษฐกิจในยุโรป (European Recovery Programme) - โครงการ ERP ประสบผลสำเร็จมากโดยอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจไม่ต่ำกว่า 5% ซึ่งรัฐต้องเข้ามาวางแผนและอาศัยความช่วยเหลือระหว่างประเทศ - การระดมทุนในรูปแบบต่างๆ เช่น เงินกู้ยืม เงินให้เปล่า เงินช่วยเหลือ เงินลงทุนเอกชนและอื่นๆ - การช่วยเหลือวิชาการในรูปแบบ ส่งผู้เชี่ยวชาญ ชำนาญการ ให้คำปรึกษาและบริการ ให้ทุนศึกษา ดูงานและอบรม - การปกป้องระบบการเมืองเสรี ส่งทหาร การช่วยเหลือร่วมมือทางทหาร
16
2) การพัฒนาในประเทศด้อย/กำลังพัฒนา
ประเทศต่างๆ นำทฤษฎีและตัวแบบมาใช้วางแนวทางการพัฒนาคล้ายคลึงกัน ดังนี้ 1. การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การเพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GNP) การพัฒนา อุตสาหกรรม ทดแทนนำเข้า (ISI) รายได้ประชาชาติเพิ่ม รายได้ต่อหัวประชากร สูงขึ้น ISI = Import-Substituting Industrialization
17
2) การส่งเสริมการพัฒนาเมือง โดยเร่งความเป็นเมือง (Urbanization)
- สังคมเมืองทันสมัย - รูปแบบการผลิตอุตสาหกรรมเป็นพื้นฐานสำคัญ - ขยายการแผ่กระจาย (Trickle-down) 3) การเสริมสร้างความก้าวหน้าระบบราชการ ในแง่ปฏิรูป - การจัดองค์กร พัฒนาบุคคล เพื่อเอื้อต่อการบริหารการพัฒนาที่ดี สถาบันอื่นนอกระบบราชการเสนอแนะและตรวจสอบ เช่น รัฐสภา พรรคการเมือง องค์กรเอกชน องค์กรอิสระ
18
4) หน่วยงานรัฐมีบทบาทวางแผน (Development Planning)
การมีส่วนร่วมภาคเอกชนและธุรกิจ การเร่งสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจและการพัฒนาสังคม 5) ส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ (Direct & Indirect Foreign Investment) เพื่อขจัดปัญหาการขาดแคลนแหล่งทุนและการถ่ายโอนทางเทคโนโลยี (Technological Transfer) การยอมรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศทั้งรูปแบบให้เปล่าและผูกพันเงื่อนไข
19
การปรับทิศทางนโยบาย โดยเฉพาะการวางแผน
เดิม : จากส่วนกลาง ล่าง Top down ใหม่ : จากส่วนกลาง บน Bottom up เปลี่ยนเป้าหมายใหม่ จะทำให้การพัฒนามีความเป็น ตัวของตัวเองมากกว่า การเรียกร้องปลดพันธนาการจาก ทุนนิยม
20
กระบวนการพัฒนา อาศัยบทบาทของสถาบันการเมือง การบริหารและอื่นๆ
1) รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ บทบาทสำคัญกำหนดแผนพัฒนาลักษณะวางแผนส่วนกลาง (Top-down Planning) 2) จัดตั้งสถาบัน 3) ขยายตัวเขตเมืองและบริการ 4) การให้บริการทางสังคมแก่ชุมชนชนบท
21
ทฤษฎีพึ่งพา (Dependency Theory) 1960 - 1970
เป็นแนวความคิดและทฤษฎีที่มีการตอบโต้และปฏิเสธข้อเสนอหลักของทฤษฎีภาวะทันสมัย โดยอาศัย แนวความคิดเศรษฐกิจการเมือง (Political Economic) แนวความคิดประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ (Historical Economy)
22
การปฎิรูปการจัดระบบสังคมใหม่
เสนอ : การปฎิรูปการจัดระบบสังคมใหม่ คำนึงถึง : ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง รวมถึงวัฒนธรรม และจริยธรรมของแต่ละประเทศ * การพัฒนาขึ้นอยู่กับสถานการณ์เงื่อนไขที่แท้จริง = Concrete Situations *
23
จุดกำเนิดทฤษฎี 1. ความล้มเหลวของทฤษฎีภาวะทันสมัย
ข้อเสนอหลักทฤษฎีภาวะทันสมัย ถูกพิสูจน์และวิจารณ์ ตามข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical Data) “ตัวแบบการสร้างความเจริญเติบโตจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และการบริหารและวัฒนธรรม” แต่ “ภาวะด้อยพัฒนาก็เห็นอย่างชัดเจน” ยิ่งพัฒนายิ่งด้อยพัฒนา หรือ การพัฒนาภาวะด้อยพัฒนา (Development of Underdevelopment)
24
ความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง
- การบริการพื้นฐานดี - การศึกษาดี มีความรู้/ทักษะ ความยากจนคงอยู่ เมือง ชนบท ว่างงานรุนแรง ความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง
25
ความหมายการพึ่งพา (The Meaning of Dependency)
“การพึ่งพา” = เงื่อนไขสถานภาพของประเทศกำลังพัฒนาดำเนินการพัฒนาอุตสาหกรรมทดแทนการนำเข้าสินค้าอุตสาหกรรม (Import - Substituting Industrialization : ISI) โดยต้องพึ่งพาประเทศทุนนิยมตะวันตกอย่างมากทางด้าน : สินค้าประเภททุนและเทคโนโลยีการผลิต ผู้เชี่ยวชาญ/ชำนาญการ เงินลงทุนจากต่างประเทศ การศึกษา วัฒนธรรมและสังคม ฯลฯ
26
ลักษณะการครอบงำภายใต้ภาวะพึ่งพา
1. ทางเศรษฐกิจ (Economic) ลงทุนผลิต นายทุนต่างชาติ ผ่าน การค้า บรรษัทข้ามชาติ (Translation Corporation) ร่วมมือประสาน & องค์กร/โครงการ รัฐบาล นายทุนในประเทศ ประเทศที่ 3 ด้อยพัฒนา
27
: ยิ่งพัฒนา ยิ่งต้องพึ่งพา :
: ยิ่งพัฒนา ยิ่งต้องพึ่งพา : ประเทศโลกที่ 3 พัฒนาตามแนวทางภาวะทันสมัย ทำให้ต้องพึ่งพาประเทศโลกที่ 1 มากขึ้น - ไม่มีทุน - ไม่มีความสามารถ - ไม่มี… ฯลฯ กลายเป็น “สังคมบริวาร” (Peripheral Society)
28
: ยิ่งพัฒนา ยิ่งต้องพึ่งพา :
: ยิ่งพัฒนา ยิ่งต้องพึ่งพา : P P P เกิด Xyphon off P W.I P P P P P
29
ผลการครอบงำทางเศรษฐกิจเกิดขึ้น 2 ประการ :
1.1 การผูกขาด ทางการตลาดมีการขยายตัว 1.2 นายทุนในประเทศเติบโตค่อนข้างช้า ส่วนใหญ่เป็น นายทุนการค้ามากกว่านายทุนอุตสาหกรรมและถูก ครอบงำจากนายทุนต่างชาติ โดยตัดสินใจเนินงาน นโยบายการค้าและการผลิตเพื่อประโยชน์ระยะสั้น มากกว่าระยะยาว 2. ทางการเมือง (Political) รัฐบาลประเทศด้อยพัฒนาดำเนินนโยบายตามคำแนะนำของรัฐบาลประเทศทุนนิยมตะวันตก ผ่านองค์กรความช่วยเหลือระหว่างประเทศ/การทหาร ฯลฯ แทรกแซง
30
2) บทบาทและอิทธิพลนักสังคมศาสตร์ลาตินอเมริกัน
นักวิชาการกลุ่มนี้โจมตีทฤษฎีภาวะความทันสมัย ทฤษฏีภาวะทันสมัยล้มเหลวที่สุด นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมทดแทนนำเข้า นำประเทศพึ่งพาประเทศทุนนิยมตะวันตกมากขึ้น สร้างสรรค์ทฤษฎีใหม่ แนวความคิดเชิงเศรษฐศาสตร์การเมือง :ปรับโครงสร้างสังคมและการเมือง/วิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงครอบงำและขูดรีด แนวความคิดเชิงเศรษฐศาสตร์โครงสร้าง :ลักษณะการแลกเปลี่ยนที่ไม่เป็นธรรมระหว่างประเทศ อุตสาหกรรมกับประเทศเกษตรกรรม
31
ข้อวิพากษ์แนวความคิดและทฤษฎีกลุ่มก้าวหน้า (The Three Critiques of the Radicals)
หลังการนำเสนอแนวความคิดกระแสหลัก (Conventional wisdom = ภูมิปัญญาหลัก) หลังสงครามโลก 2 เกิดการปฏิเสธและวิจารณ์ตัวแบบและแนวความคิดการพัฒนาที่ผ่านมาออกเป็น 3 กลุ่ม:
32
1) นักวิชาการสายลาตินอเมริกัน
1.1 เพิ่มการพิจารณาทางประวัติศาสตร์เข้าในการวิเคราะห์เชิงโครงสร้างและสถาบัน 1.2 การใช้ระเบียบวิธีประวัติศาสตร์โครงสร้าง/สถาบัน (Historical/Structural/Institutional Method) จะต้องสร้างทฤษฎีพึ่งพาและภาวะการด้อยพัฒนาด้วยข้อมูลที่ปรากฎจริงเป็นหลัก (Empirical Data)
33
2) นักวิชาการสายภาวะด้อยพัฒนา
The Underdevelopment Line นำโดย Andre’ Gunder Frank ซึ่งส่วนใหญ่มีแนวความใกล้เคียงกับกลุ่ม 1 ข้อเสนอสำคัญ : 2.1 ลักษณะพึ่งพาในประเทศด้อยการพัฒนาเป็นตามเงื่อนไขระบบทุนนิยมโลก (World Capitalist System 2.2 การวิเคราะห์ต้องมุ่งเน้นลักษณะทุนนิยม โดยอาศัยแนวความคิดแบบมาร์กซิสต์ (The Marxists) ใช้ในการวิจารณ์
34
3) นักวิชาการสายยุโรป (The European Line) หรือนักทฤษฎีสถาบันสังคมใหม่ (Neo-Institutional Social Theory : NIST) นำโดย Myrdal/Seers/Streeten เสนอทางเลือกแตกต่างจาก Lewis/Rostow คือ แนวความเศรษฐศาสตร์ดั่งเดิมใช้วิเคราะห์ปัญหาโลกที่ 3 ไม่ได้นัก Seers เสนอ 3.1 พิจารณาลักษณะสังคมและสถาบัน (Socail and Institutional Context) 3.2 พิจารณาลักษณะระบบเศรษฐกิจโลก (World Economic Context) * เงื่อนไขทิศทางเศรษฐกิจโลกที่ 3*
35
แนวความคิดของนักทฤษฎีพึ่งพา
ทฤษฎีพึ่งพามีสาขาความคิดแตกออกมากมายและใช้แนวทางวิเคราะห์ปรากฎการณ์ทางประวัติศาสตร์แตกต่างกัน - Marxists Socialist - Political Economy Capitalist 1) Furnando Henriqe Cardoso 2) Andre’ Gunder Frank 3) Thiotonio Dos Santos
36
Furnando Henrique Cardoso:
ชาวบราซิลเสนอแนวความคิด ความสัมพันธ์ระหว่างพลังอำนาจ ภายใน + ภายนอก ด้วยการวิเคราะห์ : - การขูดรีด - การเอารัดเอาเปรียบ ซึ่งเกิดจากเงื่อนไขการพึ่งพาที่ไม่ใช่ภายนอกอย่างเดียว แต่เป็นผลประโยชน์ร่วมระหว่างชนชั้นที่มีอิทธิพลภายในกับภายนอกประเทศ ลักษณะการพึ่งพาเชิงโครงสร้าง
37
พลังอำนาจภายนอก บรรษัทข้ามชาติ เทคโนโลยี ระบบการเงิน
ผู้เชี่ยวชาญทางเศรษฐกิจ & ทหาร ฯลฯ
38
อิทธิพลการครอบงำ ในรูปการใช้พลังในประเทศ โดย:
อิทธิพลการครอบงำ ในรูปการใช้พลังในประเทศ โดย: กลุ่มภายในประเทศที่มีผลประโยชน์ & ค่านิยม สอดคล้องกับนายทุนต่างชาติจะเอื้อและใช้พลัง ให้เป็นประโยชน์ต่อพลังภายนอก Codoso : ยอมรับภาวะจำกัดของการพัฒนาทุนนิยมในประเทศกำลังพัฒนาเกิดจากอิทธิพลทางพึ่งพาที่มากับ จักรวรรดินิยม : หากปรับเงื่อนไขบางอย่างโอกาสการพัฒนาทุนนิยมเกิดขึ้นได้ถ้ารับความร่วมมือจาก พลัง ภายนอก แต่ทุนนิยมเป็น ทุนนิยมพึ่งพา
39
Andre’ Gunder Frank เยอรมันที่ใช้วิธีการศึกษา : เสนอ :
- การพัฒนาเศรษฐกิจประเทศด้อยพัฒนาใช้แนวทางตะวันตกไม่ได้ เพราะความสัมพันธ์ประเทศทุนนิยมกับประเทศกำลังพัฒนาเป็นแบบศูนย์กลางกับบริวาร เศรษฐศาสตร์การเมือง
40
Andre’ Gunder Frank - ประเทศกำลังพัฒนาจะพัฒนาได้ต้องปลดเปลื้องภาระผูกพันกับประเทศทุนนิยม - ความขัดแย้งในระบบทุนนิยมจะเกิดการต่อสู้ระหว่าง ชนชั้น ปฏิวัติ สังคมนิยม
41
Thiotonio Dos Santos บราซิลเสนอแนวความคิดทฤษฎีพึ่งพา ลักษณะใหม่
ภาวะพึ่งพานำประเทศลาติน ล้าหลัง และมืดมน การพัฒนาทุนนิยมเป็นประโยชน์แก่คน กลุ่มเดียวเท่านั้น แก้ไข โดย Popular Movement
42
สาระสำคัญของทฤษฎี จุดมุ่งหมายการพัฒนา ประเทศกำลังพัฒนาต้อง ปฏิรูประบบโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมให้สอดคล้องกับ ลักษณะเฉพาะทางความสัมพันธ์ทางการเมือง คุณลักษณะทางวัฒนธรรมและจริยธรรมของ ประเทศตนเอง จะเป็นแนวทุนนิยม/สังคมนิยม? อะไรก็ได้ขึ้นกับสถานการณ์เงื่อนไขที่แท้จริง (Concrete Situations)
43
ภาวะด้อยการพัฒนา : เกิดจาก
ความไม่เท่าเทียมกันทาง โครงสร้าง ไม่ใช่อุปสรรคทางเศรษฐกิจภายในประเทศด้อยพัฒนา ข้อเสนอการพัฒนา การเปลี่ยนโครงสร้างอย่างไม่รุนแรงปรับจากสภาพเดิมโดยไม่ถอนรากถอนโคน - ใช้โครงสร้างเดิมมาสู่การพัฒนา หรือ - ใช้วิธีการเจรจาต่อรองกับประเทศโลกที่ 1 : Engagement D.C. :- “การปฏิรูป” -:
44
: ไม่เสนอทฤษฎีแบบกระบวนการเชิงเทคนิควิธี :
:- “การปฏิวัติ” -: การปรับโครงสร้างอย่างถอนรากถอนโคน หรือ ใช้วิธีการตัดขาดการพึ่งพากลุ่มประเทศโลกที่ 1 : Political Disengagement : ไม่เสนอทฤษฎีแบบกระบวนการเชิงเทคนิควิธี :
45
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีและตัวแบบ
ทฤษฎีพึ่งพาไม่ได้เสนอกระบวนการในเชิงเทคนิค/กลไกชัดเจน (Mechanicaformal Formulation) เพราะ 1) ไม่มีรูปแบบสำเร็จรูปที่ใช้ได้อย่างเหมาะสมทุกสังคม ในการพัฒนา 2) นักวิชาการทฤษฎีพึ่งพาอาศัยข้อมูลพื้นฐานสังคม (Base Line Sociological Data) เกี่ยวกับภาวะด้อยพัฒนาของภูมิภาคมาวิพากษ์ และสร้างข้อเสนอให้โลกที่ 3
46
1. วิเคราะห์ชี้ปัญหาการพัฒนา
ความก้าวหน้าของสังคมเมือง & ความล้าหลังของสังคมชนบท : Dualistic Society สังคมทวิลักษณ์ การละเลยภาคเกษตรกรรมหลัก & การส่งเสริมลงทุนภาคอุตสาหกรรม : สิ่งอำนวยความสะดวก/บริการอยู่เขตภาคอุตสาหกรรม การกระจายรายได้แตกต่างกัน ทำให้อัตรารายได้ต่ำกว่า “เส้นวัดความยากจน” มากกว่า 20 % แต่อัตราเหนือเส้นนี้ที่มีรายได้สูงน้อยกว่า 20 %
47
: เกิดกลุ่ม G7 = 1 กลุ่ม G77 = 3 กีดกันทางการค้า ขูดรีด/เอาเปรียบกัน
ปัญหาการค้าระหว่างประเทศโลกที่ 1 & โลกที่ 3 ที่มีการกำหนดเงื่อนไขทางการค้า : เกิดกลุ่ม G7 = 1 กลุ่ม G77 = 3 กีดกันทางการค้า ขูดรีด/เอาเปรียบกัน
48
รัฐ/ราชการ + นายทุนผลประโยชน์
การผูกขาดตลาดต่างๆ เกิดขึ้นในประเทศและต่างประเทศ การค้า การบริหาร วัฒนธรรม อำนาจการเมือง อื่นๆ - ทุน ความล้าหลังทางการเมืองที่เกิดจากการผูกขาดในกลุ่มข้าราชการ & นายทุน รัฐ/ราชการ + นายทุนผลประโยชน์
49
2. การพัฒนาต้องพิจารณาเงื่อนไขสภาพ สถานการณ์จริงใน ระบบสังคมนั้นๆ โดยพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง :
ระบบเศรษฐกิจ ระบบการเมือง ระบบสังคม ระบบวัฒนธรรม “Concrete Situation”
50
ความปรารถนาสำคัญสังคมกำลังพัฒนา :
การปลดเปลื้อง/สลัดภาวะพันธนาการของการพึ่งพาที่แฝงด้วยความไม่เท่าเทียมออกจากสังคม นำไปสู่ : ภาวการณ์พึ่งพาระหว่างกัน (Interdependence) ที่ปราศจากการครอบงำ และขูดรีด ศักยภาพการพึ่งตนเอง (Self-reliance) ทั้งระดับบุคคลและระดับประเทศ
51
การลดเงื่อนไขการพึ่งพา :
- เพิ่มศักยภาพการพึ่งตนเองทั้งหมดโดยเฉพาะ เทคโนโลยี - เพิ่มขีดความสามารถในการเจรจาต่อรองกับ บรรษัทข้ามชาติ/ประเทศทุนนิยม
52
ลักษณะการครอบงำภายใต้ภาวะพึ่งพา
โดย - การลงทุน - กำหนดนโยบาย - นโยบายภาษี - ถ่ายเทคโนโลยี - การบริหารการผลิต - การโฆษณา
53
ทฤษฎีความจำเป็นขั้นพื้นฐาน (Basic Needs Theory)
ผลงาน : International Labour Organization, ILO เสนอ : World Employment Conference 2519 จุดกำเนิดทฤษฎี 1) การรวมตัวของนักวิชาการเสนอทางเลือกการพัฒนาใหม่ : Dag Hammarskjold Another Development 2) การตอบสนองข้อเสนอเรียกร้องของทฤษฎีพึ่งพา 3) การแก้ปัญหาความล้มเหลวทฤษฎีภาวะทันสมัย 4) ความสำเร็จของการพึ่งพาตนเอง
54
แนวความคิดนักทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดทฤษฎีความจำเป็นขั้นพื้นฐาน
แนวความคิดที่มีอิทธิพลมาจากกลุ่มนักเศรษฐศาสตร์สำนัก สถาบัน คือ Gunnar Myrdal Paul Streeten โดยให้ดำเนินการวิเคราะห์เพื่อกำหนดเงื่อนไขทางสังคมและจัดเตรียมสถาบันต่างๆ ก่อนดำเนินการพัฒนา ต่อมาผลงานวิจัย World Bank/ILO และ Institute of Development Studies at the University of Susex เสนอให้มีการแสวงหากรอบความคิดในการกำหนดแนวทางการพัฒนาที่นำไปสู่การตอบสนองความจำเป็นขั้นพื้นฐานของคนมากยิ่งขึ้น ประกอบกับประเทศจีนพัฒนาได้
55
ความหมายความจำเป็นขั้นพื้นฐาน
1) International Labour Organization / ILO กำหนดนโยบายความจำเป็นขั้นพื้นฐานไว้ 2 ประการ 1.1 ประการที่ 1 : ความต้องการระดับขั้นพื้นฐานของครอบครัวในการบริโภคส่วนตน 1.2 ประการที่ 2 : ความต้องการรับบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานที่จำเป็นต่อการบริโภคในชุมชน
56
2) Johan Galtung พิจารณาเห็นว่านอกจากความต้องการที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิตแล้ว มนุษย์ยังมีความต้องการที่แฝงเร้นและฝังลึกในจิตใจ 2.1 ความมั่นคงปลอดภัยต่างๆ (security needs) เป็นความต้องการอยู่รอดและหลีกเลี่ยงความขัดแย้งแบบรุนแรง (Avoid violence) ทั้งระดับบุคคลและชุมชน ดังนั้นการมีบริการความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินจึงจำเป็น 2.2 สวัสดิภาพของชีวิต (Welfare needs) เพื่อหลีกเลี่ยงชีวิตทุกข์ยาก มนุษย์มีความต้องการปัจจัยด้านอาหาร น้ำ อากาศ เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยป้องกันและรักษาโรคภัย การศึกษา เรียนรู้และอื่นๆ
57
2.3 ความจำเป็นด้านเอกลักษณ์ (Identity needs) การยอมระบและอยู่ร่วมกันกับคนในสังคมอย่างใกล้ชิด ไม่รู้สึกแปลกแยก (Avoid alienation) การมีชีวิตดีงาม กระตือรือร้นและอื่นๆ ที่สำคัญการรักษาเอกลักษณ์การปฏิบัติธรรม 2.4 เสรีภาพ (Freedom needs) เป็นเสรีภาพความคิดเห็น การเลือกตัดสินใจเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกบังคับ (Avoid repression) เสรีภาพการติดต่อสื่อสาร การเดินทาง การเลือกตั้ง การเลือกคู่ครอง การเลือกวิถีชีวิตและการปฏิบัติ รวมทั้งการมีวิถีชีวิตที่มีคุณธรรม
58
3) Paul Streeten แยกความจำเป็นขั้นพื้นฐานออกเป็น 2 ประการ 3.1 ความค้องการทางกายภาพ เป็นสิ่งของวัตถุ อาหาร ที่อยู่ การคมนาคม การบริการต่างๆ 3.2 ความต้องการทางจิตภาพ เป็นสิ่งที่ไม่ใช่วัตถุ ความมั่นใจตนเอง การพึ่งตนเอง การมีศักดิ์ศรี การเข้ามีส่วนร่วม
59
บทบาทนักวิชาการจากประเทศกำลังพัฒนา
การประชุมที่ Karachi ประเทศปากีสถาน ปี 2518 Marc Nefrin เสนอกรอบแนวคิดเบื้องต้นสำหรับกำหนด นโยบายการพัฒนาประเทศกำลังพัฒนา 5 ประการ 1) ยึดความต้องการและความจำเป็นพื้นฐานเป็นหลัก 2) ยึดการใช้ทรัพยากรและเทคโนโลยีภายในประเทศ 3) ยึดหลักการพึ่งตนเอง 4) ยึดความสอดคล้องกับการอนุรักษ์สภาพแวดล้อม 5) ยึดการเปลี่ยนแปลงภาคเกษตรกรรมเป็นหลัก
60
กรอบนโยบายที่ Mabbub ul-Haq เสนอเป็นการแก้ไข ปรากฎการณ์ภาวะด้อยพัฒนาทั้งสิ้น สำหรับการกำหนดนโยบายเพื่อสร้างความเป็นธรรมในการพัฒนา Ozay Mehmet เสนอว่า 1) การผลิตและการบริโภคสินค้า/บริการต้องตอบสนองมาตรการทางประสิทธิภาพและความเสมอภาพ 2) นโยบายและโครงการต้องต่อต้านกับความยากจนและลดความแตกต่างระหว่างกลุ่มคนและภูมิภาค 3) การปฏิรูปกระบวนการกำหนดนโยบายที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจมากยิ่งขึ้น
61
ขณะเดียวกัน นักคิด/นักทฤษฎีอื่นๆ เสนอว่า ผู้กำหนดนโยบายในประเทศด้อยพัฒนาต้องพยายามคำนึงถึงประเด็น
- การกระจายอำนาจในการวางแผน - การเก็บภาษีก้าวหน้า - การสร้างความสมดุลระหว่างภูมิภาค - การปฏิรูปที่ดิน - การปฏิรูปองค์กรทางการเมืองและการบริหาร เพื่อ : แก้ไขปัญหาสังคม - ประสิทธิภาพ - เป็นธรรมมากขึ้น
62
นอกจากนี้ International Labor Organization / ILO
ประชาชนจะมีบทบาทมากทางด้านการนิยามความจำเป็นพื้นฐาน การระดมทรัพยากรที่จำเป็นเพื่อบรรลุถึงความสำเร็จตามที่ต้องการ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจกำหนดแนวทางการกระจายสินค้าและบริการ การตอบสนองทางจิตใจ/จิตภาพของคนในฐานะผู้ได้รับการยอมรับจากสังคม
63
สาระสำคัญทฤษฎีความจำเป็นขั้นพื้นฐาน
ทฤษฎีระดับกลาง (Middle-range theory) ไม่ใช่ทฤษฎีหลัก (Grand theory) 1) จุดมุ่งหมายการพัฒนา : สนองตอบความจำเป็นขั้นพื้นฐานที่ต้องการของประชาชน 2) สาขาการผลิตที่มุ่งเน้น : การเกษตรเป็นแกนนำสำคัญ ประชากรมีจำนวนมากและยังยากจน เจ็บป่วยและคุณภาพชีวิตต่ำ 3) พื้นที่ให้ความสำคัญ : เขตชนบท โดยพัฒนาโครงสร้างขั้นพื้นฐานสนับสนุนการผลิตภาคเกษตร
64
5) วีถีการผลิต : 6) เทคโนโลยีการผลิต :
4) การจัดลำดับความสำคัญการพัฒนา : กลไกการตกลงทางการเมือง และสังคมเพื่อกำหนดเกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐานก่อนแล้วจัดลำดับสำคัญการพัฒนา 5) วีถีการผลิต : เน้นการใช้แรงงานอย่างเข้มข้นเพื่อให้เกิดการจ้างงานและแก้ไขปัญหาการว่างงาน 6) เทคโนโลยีการผลิต : เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิต โดยเป็นเทคโนโลยีภายในประเทศ 7) แหล่งทุนในการพัฒนา : การสะสมทุนภายในประเทศ สังคมและชุมชน จะเอื้อต่อการพัฒนามากกว่าภายนอกประเทศ
65
8) การวัดผลการพัฒนา : สวัสดิการสังคมและการเพิ่มคุณภาพชีวิตของประชาชนในสังคม 9) ความสัมพันธ์ระหว่างสาขาการผลิต : การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางการผลิตและการค้าให้ความสำคัญแก่สาขาการเกษตรเป็นหลัก พร้อมทั้งผลิตผสมผสาน 10) การวางแผนการพัฒนา : กำหนดจากระดับล่าง (bottom up approach) โดยสนองความต้องการประชาชนอย่างแท้จริง มุ่งใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นและทักษะประชาชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด การเพิ่มศักยภาพการพัฒนาเพื่อการพึ่งพา ตนเองของชุมชน
66
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความจำเป็นขั้นพื้นฐาน
การเปลี่ยนแปลงความคิดและความเชื่อเกี่ยวกับประเด็นต่างๆ : - รายได้ไม่ใช่สิ่งสำคัญในการพัฒนา - อุตสาหกรรมไม่ได้เป็นแนวทางการพัฒนา - กลไกการตลาดไม่ใช่นำไปสู่การพัฒนาเสมอ
67
1) การประชุมสัมมนาและเสนอปัญหาการพัฒนาร่วมกันระดับนานาชาติ :
- ที่ประชุม Alma Ata ประเทศสาธารณรัฐยูเคน “การพัฒนาสาธารณสุข” ปี 2000 “Health for All in 2000” - ที่ประชุม Cocoyoc “การพัฒนาการศึกษา” ความพร้อมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อการพัฒนา - ที่ประชุม Karachi ประเทศปากีสถาน “การพัฒนาคุณภาพชีวิต”
68
2) การคำนึงถึงปัญหา และวิธีการแก้ไขความสมดุลต่างๆ :
2) การคำนึงถึงปัญหา และวิธีการแก้ไขความสมดุลต่างๆ : - การพัฒนาเมือง = การพัฒนาชนบท - การพัฒนาอุตสาหกรรม = การพัฒนาเกษตร - เทคโนโลยีพื้นฐาน = เทคโนโลยีขั้นสูง - ฯลฯ 3) การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศการพึ่งตนเองในระดับภูมิภาคต่างๆ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.