ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก สาระการเรียนรู้ ประวัติความเป็นมา ความหมายของกราฟิกและคอมพิวเตอร์กราฟิก บทบาทและความสำคัญของงานกราฟิก กระบวนการออกแบบกราฟิก หลักการทำงานและการแสดงผลของภาพคอมพิวเตอร์กราฟิก ประเภทของภาพกราฟิก หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกในงานต่างๆ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานกราฟิก จุดประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะประจำหน่วย แสดงความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก อธิบายประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิกได้ อธิบายความหมายของกราฟิกและคอมพิวเตอร์กราฟิกได้ อธิบายบทบาทและความสำคัญของงานกราฟิกได้ อธิบายกระบวนการออกแบบกราฟิกได้ อธิบายหลักการทำงานและการแสดงผลของภาพคอมพิวเตอร์กราฟิกได้ บอกประเภทของภาพกราฟิกได้ อธิบายหลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์ได้ อธิบายการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกในงานต่างๆ ได้ บอกอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานกราฟิกได้ กิจกรรมเตรียมความพร้อม สู่ประชาคมอาเซียน ศึกษาค้นคว้าจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อหาข้อมูลและโอกาสในการประกอบอาชีพ สำหรับสาขางานคอมพิวเตอร์ภายในประเทศ สมาชิกอาเซียน 6
2
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก 1. ประวัติความเป็นมา การออกแบบกราฟิกสมัยก่อนประวัติศาสตร์เป็นการเริ่มต้นการสื่อความหมายด้วยการวาดเขียนให้ผู้อ่านตีความหมายได้ เรียกว่า Pictogram ต่อมาประมาณ 9,000 ปี ก่อนคริสตกาล ชาวสุเมเรียน (Sumerian) เริ่มเขียนตัวอักษรรูปลิ่ม (Cuneiform) และตัวอักษร Hieroglyphic ของชาวอียิปต์ งานกราฟิกเริ่มได้รับการยอมรับมากขึ้น เมื่อได้คิดค้นกระดาษและวิธีการพิมพ์ ปี ค.ศ Johann Gutenberg ชาวเยอรมันได้ประดิษฐ์เครื่องพิมพ์แบบตัวเรียงที่สามารถพิมพ์ได้ครั้งละจำนวนมาก 7
3
2. ความหมายของกราฟิกและคอมพิวเตอร์กราฟิก
1 2. ความหมายของกราฟิกและคอมพิวเตอร์กราฟิก กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน และอื่นๆ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการจัดการ 8
4
3. บทบาทและความสำคัญของงานกราฟิก
1 3. บทบาทและความสำคัญของงานกราฟิก 1. ความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิชาการ 2. ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี 3. จำนวนประชากรโลกที่เพิ่มขึ้นและความเป็นโลกไร้พรมแดน 4. ความแตกต่างระหว่างบุคคล 9
5
4. กระบวนการออกแบบกราฟิก
1 4. กระบวนการออกแบบกราฟิก 1. การวิเคราะห์และแก้ปัญหา 1.1 จุดมุ่งหมายในการทำงาน 1.2 กลุ่มเป้าหมาย 2. การสร้างแนวคิดในการออกแบบ 3. การศึกษา 4. การร่างแบบ 5. การออกแบบจริง 10
6
5. หลักการทำงานและการแสดงผลของภาพคอมพิวเตอร์กราฟิก
1 5. หลักการทำงานและการแสดงผลของภาพคอมพิวเตอร์กราฟิก 1. หลักการทำงานของภาพกราฟิก คือ ภาพที่เกิดบนจอคอมพิวเตอร์ เกิดจากการทำงานของโหมดสี RGB ประกอบด้วย สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน โดยใช้หลักยิงประจุไฟฟ้าให้เกิดการเปล่งแสงของสีทั้ง 3 สีมาผสมกัน ทำให้เกิดเป็นจุดสีสี่เหลี่ยมเล็กๆ ที่เรียกว่า พิกเซล (Pixel) 2. การแสดงผลของภาพกราฟิก 2.1 การสร้างภาพภาพแบบเวกเตอร์ (Vector) หรือสโตรก (Stroked Display) 2.2 การสร้างภาพแบบบิตแมป (Bitmap) 11
7
รูปที่ 1 ระบบภาพแบบ Bitmap
6. ประเภทของภาพกราฟิก 1. กราฟิกแบบบิตแมป (Bitmap) คือ มีลักษณะเป็นช่องๆ เหมือนตาราง รูปที่ 1 ระบบภาพแบบ Bitmap 12
8
รูปที่ 2 ระบบภาพแบบ Pixel
1 2. พิกเซล (Pixel) หมายถึง ความละเอียดของภาพที่พิมพ์โดยเครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ รูปที่ 2 ระบบภาพแบบ Pixel 13
9
รูปที่ 3 ระบบภาพแบบ Pixel
1 3. สัดส่วนของภาพ (Image Aspect Ratio) คือ อัตราส่วนระหว่างจำนวนพิกเซลทางแนวขวาง และจำนวนพิกเซลทางแนวดิ่งที่ใช้ในการสร้างภาพ รูปที่ 3 ระบบภาพแบบ Pixel 14
10
รูปที่ 4 ภาพแสดงค่า Resolution
1 4. รีโซลูชัน (Resolution) หมายถึง รายละเอียดที่อุปกรณ์แสดงกราฟิกชนิดหนึ่งมีอยู่ ค่ารีโซลูชันจะระบุเป็นจำนวนพิกเซลในแนวนอน คือ แนวแกน X และจำนวนพิกเซลในแนวตั้ง คือ แนวแกน Y รูปที่ 4 ภาพแสดงค่า Resolution 15
11
รูปที่ 5 ระบบภาพแบบ Vector
1 5. กราฟิกแบบเวกเตอร์ (Vector) การรวมเอาคำสั่งทางคอมพิวเตอร์และสูตรทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายเกี่ยวกับอ็อบเจกต์ ซึ่งจะปล่อยให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เป็นตัวกำหนดเองว่าจะวางจุดจริงๆ ไว้ที่ตำแหน่งใดในการสร้างภาพ รูปที่ 5 ระบบภาพแบบ Vector 16
12
รูปที่ 6 ระบบภาพแบบ Object
1 6. อ็อบเจกต์ (Object) กราฟิกแบบเวกเตอร์สามารถสร้างรูปภาพโดยการรวมเอาอ็อบเจกต์หลายๆ ชนิดมาผสมกัน ซึ่งสามารถผสมอ็อบเจกต์ต่างชนิดกัน เพื่อสร้างภาพที่แตกต่างกัน รูปที่ 6 ระบบภาพแบบ Object 17
13
7. หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์
1 7. หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์ 1. ระบบสีแบบ RGB รูปที่ 7 ระบบสีแบบ RGB 18
14
1 2. ระบบสีแบบ CMYK รูปที่ 8 ระบบสีแบบ CMYK 19
15
3. ระบบสีแบบ HSB 1 3.1 Hue 3.2 Saturation 3.3 Brightness
20
16
1 4. ระบบสีแบบ Lab 4.1 L หรือ Luminance เป็นการกำหนดความสว่างซึ่งมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 100 4.2 A เป็นค่าของสีที่ไล่จากสีเขียวไปสีแดง 4.3 B เป็นค่าของสีที่ไล่จากสีน้ำเงินไปสีเหลือง 21
17
1 รูปที่ 10 ระบบสีแบบ HSB 22
18
8. การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกในงานต่างๆ
1 8. การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกในงานต่างๆ 1. คอมพิวเตอร์กราฟิกกับการออกแบบ 1.1 การออกแบบทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 1.2 การออกแบบพาหนะต่างๆ 1.3 การออกแบบโครงสร้า 2. กราฟและแผนภาพ 3 ภาพศิลป์โดยคอมพิวเตอร์กราฟิก 4. ภาพเคลื่อนไหวโดยใช้คอมพิวเตอร์ 5. อิมเมจโปรเซสซิง (Image Processing) 23
19
รูปที่ 11 เครื่องสแกนเนอร์
9. อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานกราฟิก 1. สแกนเนอร์ (Scanner) รูปที่ 11 เครื่องสแกนเนอร์ 24
20
2. กล้องดิจิตอล (Digital Camera)
1 2. กล้องดิจิตอล (Digital Camera) รูปที่ 12 กล้องดิจิตอล 25
21
3. จอสัมผัส (Touch Screen)
1 3. จอสัมผัส (Touch Screen) รูปที่ 13 จอสัมผัส 26
22
4. ปากกาแสง (Light Pen) เป็นอุปกรณ์รับ
1 4. ปากกาแสง (Light Pen) เป็นอุปกรณ์รับ รูปที่ 14 ปากกาแสง 27
23
5. กระดานกราฟิก (Graphic Tablet)
1 5. กระดานกราฟิก (Graphic Tablet) รูปที่ 15 กระดานกราฟิก 28
24
รูปที่ 16 เลเซอร์พรินเตอร์
6. เครื่องพิมพ์ (Printer) ใช้แสดงผลงาน 6.1. เลเซอร์ รูปที่ 16 เลเซอร์พรินเตอร์ 29
25
รูปที่ 17 อิงค์เจ็ตพรินเตอร์
6.2 อิงค์เจ็ตพรินเตอร์ (Inkjet Printer) รูปที่ 17 อิงค์เจ็ตพรินเตอร์ 30
26
รูปที่ 18 ดอทเมทริกซ์พรินเตอร์
6.3 ดอทเมทริกซ์พรินเตอร์ (Dot Matrix Printer) รูปที่ 18 ดอทเมทริกซ์พรินเตอร์ 31
27
1 6.4 พล็อตเตอร์ (Plotter) รูปที่ 19 พล็อตเตอร์ 32
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.