งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Principles of Accounting I

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Principles of Accounting I"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Principles of Accounting I
Asst.Prof.Dr. Panchat Akarak School of Accounting Chiang Rai Rajabhat University Principles of Accounting I

2 Principles of Accounting I
Introductions Principles of Accounting I

3 Principles of Accounting I
วิวัฒนาการก่อนคริสตกาลจนถึงศตวรรษที่ 13 ช่วง ค.ศ (พ.ศ. 1883) พบว่ามีการบันทึกทางการเงินตามระบบบัญชีคู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ และเมืองเจนัว ประเทศอิตาลี ปัจจุบันเขียนไว้ในตำราของ Luca ซึ่งนักคณิตศาสตร์และบาทหลวง ชาวอิตาเลี่ยน และมีการตั้งธนาคารที่กรุงเวนิส Principles of Accounting I

4 Principles of Accounting I
ศตวรรษที่ 13-17 Luca Pacioli เขียนตำราชื่อ “Summa de Arithmetica Geoetria, Proportioniet Proportionalite” ในตำรามีบทหนึ่งว่าด้วยการคำนวณและการบัญชีคู่ และได้รับความนิยมแพร่หลายในยุโรป Principles of Accounting I

5 Principles of Accounting I
ศตวรรษที่ 13-17 . ในปลายศตวรรษที่ 15 ประเทศอิตาลี เริ่มเสื่อมอำนาจทางการค้า เพราะมีการค้นพบเส้นทางการค้าใหม่ ๆ ศูนย์กลางการค้าจึงย้ายจากประเทศอิตาลีไปอยู่แถบสเปน โปรตุเกส และฮอลันดา ทำให้ระบบบัญชีคู่แพร่หลายไปประเทศต่าง ๆ เพิ่มขึ้น Principles of Accounting I

6 Principles of Accounting I
การถือกำหนดของระบบการบัญชีคู่ ระบบบัญชีคู่ (Double-entry System) หมายถึง การบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นแต่ละรายการ สองด้านเสมอ ด้านซ้ายเรียกว่า “เดบิต” และด้านขวาเรียกว่า “เครดิต” บัญชีหนึ่งหรือหลายบัญชี ทั้งนี้ยอดจำนวนเงินรวมกันในแต่ละด้านต้องเท่ากันเสมอ Debit มาจาก Debitor เขียนย่อว่า Dr. Credit มาจาก Creditor เขียนย่อว่า Cr. Principles of Accounting I

7 การบัญชีในประเทศไทย(ต่อ)
การบัญชีคู่ในประเทศไทยสันนิษฐานว่าน่าจะเกิดขึ้นในรัชกาลที่ 5 ซึ่งได้มีการปฏิรูปการเงิน การคลังและ ที่กำหนดให้ธุรกิจการค้านำส่งรายได้ให้กับรัฐบาล โดยต้องจัดเก็บข้อมูลรายได้และค่าใช้จ่ายเพื่อยื่นต่อรัฐบาล ซึ่งเป็นผลให้เกิดการพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลในธุรกิจเอกชน Principles of Accounting I

8 การบัญชีในประเทศไทย(ต่อ)
สมัยรัชกาลที่ 5 ให้มีการจัดทำรายรับ รายจ่าย และตั้งสำนักงานตรวจสอบบัญชีต่างๆ ที่นำขึ้นทูลเกล้าให้ทรงทราบทุกปี พ.ศ ให้มีการบรรจุการบัญชีในโรงเรียนหลวง พ.ศ ให้เปิดสอนการค้าขายและเริ่มการสอนการบัญชี ตามหลักการบัญชีคู่โดยบาทหลวงชาวฝรั่งเศส สมัยรัชกาลที่ 6 ตั้งโรงเรียนพาณิชยการ เพื่อให้ความรู้ใน วิชาการค้าขาย

9 การบัญชีในประเทศไทย(ต่อ)
การบัญชีในประเทศไทย จึงน่าจะมีการพัฒนาเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของรัฐบาลเป็นสำคัญ นั่นคือ ด้านกฎหมายและภาษีอากร มีผลต่อการปฏิบัติการทางบัญชีของธุรกิจในสมัยนั้น Principles of Accounting I

10 การบัญชีในประเทศไทย(ต่อ)
เมื่อธุรกิจการค้าเริ่มมีมากขึ้น การจัดเก็บและการบันทึกข้อมูลที่แตกต่างกัน ทำให้การจัดเก็บรายได้ของหน่วยงานรัฐบาลเริ่มมีปัญหามากขึ้น เนื่องจากมีวิธีการบัญชีที่แตกต่างกัน จนทำให้ไม่สามารถประเมินความถูกต้องของบัญชีที่ยื่นรายงานต่อหน่วยงานรัฐบาลได้ Principles of Accounting I

11 การบัญชีในประเทศไทย(ต่อ)
พ.ศ มีพระราชบัญญัติลักษณะการเข้าหุ้นส่วนและบริษัท กำหนดให้บริษัทจำกัดต้องจัดทำบัญชีและมีผู้สอบบัญชี ตรวจสอบ (เรียกว่า รัตนโกสินทร์ ศก 130) พ.ศ ยกเลิก รัตนโกสินทร์ ศก 130 และประกาศใช้ประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ลักษณะ 22 ว่าด้วยหุ้นส่วนและบริษัท และกำหนดให้มีการบันทึกบัญชี จำนวนเงินรับจ่าย และจัดทำงบดุล บัญชีกำไรขาดทุนอย่างน้อยปีละครั้ง งบดุลจะต้องมีผู้สอบบัญชีตรวจสอบ

12 การบัญชีในประเทศไทย(ต่อ)
พ.ศ มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ 24 มิ.ย ทำให้มีการตื่นตัวทางเศรษฐกิจ และเนื่องจากมีผู้สำเร็จการศึกษา ทางการบัญชีจากต่างประเทศ เช่น พระยาไชยยศสมบัติ หลวง ดำริอิศรานุวรรต นายห้อง บุนนาค นายจรูญ วิมลศิริ นายยุกต์ ณ ถลาง ได้รวมกลุ่มกันตั้งสมาคมวิชาชีพ

13 การบัญชีในประเทศไทย (ต่อ)
พ.ศ รัฐบาลได้ออกประมวลรัษฎากรบังคับใช้จัดเก็บภาษีเงินได้นิติ บุคคลจากกำไรสุทธิสำหรับปี และจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาโดยประเมินจากยอดรายรับ พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ เป็นกฎหมายว่าด้วย การบัญชีฉบับแรก และมีการแก้ไขเพิ่มเติม ปี พ.ศ และถูกยกเลิกในปี พ.ศ (ใช้ ปว.285) และปว.285 ถูกยกเลิกด้วย พ.ร.บ. การบัญชี พ.ศ.2543 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2543 เป็นต้นมา Principles of Accounting I

14 การบัญชีในประเทศไทย(ต่อ)
ประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ลักษณะ 22 ว่าด้วยหุ้นส่วนและบริษัทและกำหนดให้มีการบันทึกบัญชี จำนวนเงินรับจ่าย และจัดทำงบดุล บัญชีกำไรขาดทุนอย่างน้อยปีละครั้ง งบดุลจะต้องมีผู้สอบบัญชีตรวจสอบ พ.ร.บ. ผู้สอบบัญชี พ.ศ เพื่อให้มีผู้สอบบัญชีรับอนุญาต และตรวจสอบงบดุลของห้างหุ้นส่วนและบริษัท จนกระทั่งมีการปรับปรุงกฎหมายใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์เปลี่ยนแปลง จึงได้มี พ.ร.บ. วิชาชีพบัญชี พ.ศ จึงทำให้ พ.ร.บ.ผู้สอบบัญชี พ.ศ ถูกยกเลิกไปตั้งแต่ปี 2547 Principles of Accounting I

15 Definitions of Accounting
ราชบัณฑิตยสถาน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึง สมุดหรือกระดาษสำหรับจดรายการต่างๆ ไว้เป็นหลักฐาน “การบัญชี” หมายถึง เรื่องที่เกี่ยวกับการจดรายการไว้ในสมุดหรือกระดาษ เพื่อเป็นหลักฐาน หมายถึง งาน สิ่ง หรือเรื่องที่ทำ ถ้าอยู่หน้านาม หมายความว่า เรื่อง ธุระ หน้าที่ “การ” “บัญชี” + = Principles of Accounting I

16 Definitions of Accounting
คณะกรรมการศัพท์บัญชีของสมาคม ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งสหรัฐอเมริกา “การบัญชี” คือ ศิลปะของการบันทึก การจัดประเภท และการสรุปในลักษณะที่มีนัยสำคัญและในรูปของจำนวนเงินของรายการและเหตุการณ์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของลักษณะ ทางการเงินและการแปลความหมายของผลลัพธ์ดังกล่าว Principles of Accounting I

17 Definitions of Accounting
สมาคมการบัญชีสหรัฐอเมริกา “การบัญชี” เป็นกระบวนการของการระบุ การวัดมูลค่า และการสื่อสารข้อมูลหรือสารสนเทศทางเศรษฐกิจ เพื่อให้ผู้ใช้สารสนเทศนั้น มีดุลยพินิจและตัดสินใจ Principles of Accounting I

18 Definitions of Accounting
สภาวิชาชีพบัญชีแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ “การบัญชี” คือ ศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จำแนก และทำสรุปข้อมูล อันเกี่ยวกับข้อมูลทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลงานขั้นสุดท้ายของการบัญชีคือ การให้ข้อมูลทางการเงินที่เป็นประโยชน์แก่บุคคลหลายฝ่ายและ ผู้ที่สนใจในกิจกรรมงบการเงิน Principles of Accounting I

19 Definitions of Accounting
การบัญชีมีความหมายที่สำคัญ 2 ประการ คือ 1) การรวบรวม (Collecting) 2) การบันทึก (Recording) 3) การจำแนก (Classifying) 4) การสรุป (Summarizing) เพื่อประโยชน์แก่บุคคลที่เกี่ยวข้องหลายฝ่าย การทำบัญชี การให้ข้อมูลทางการเงิน Principles of Accounting I

20 Definitions of Accounting
2) การบันทึก (Recording) 3) การจำแนก (Classifying) การทำบัญชี 1) การรวบรวม (Collecting) 4) การสรุป (Summarizing) Principles of Accounting I

21 Definitions of Accounting
2) การบันทึก (Recording) 3) การจำแนก (Classifying) การทำบัญชี 1) การรวบรวม (Collecting) 4) การสรุป (Summarizing) การรวบรวมข้อมูลหรือรายการค้าที่เกิดขึ้นประจำวัน และหลักฐานข้อมูลที่เกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจ เช่น หลักฐานการซื้อเชื่อ และขายเชื่อ หลักฐานการรับและจ่ายเงิน เป็นต้น Principles of Accounting I

22 Definitions of Accounting
2) การบันทึก (Recording) 3) การจำแนก (Classifying) การทำบัญชี 1) การรวบรวม (Collecting) 4) การสรุป (Summarizing) การจดบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นแต่ละครั้งให้ถูกต้องตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน พร้อมกับบันทึกข้อมูลให้อยู่ในรูปของหน่วยเงินตรา Principles of Accounting I

23 Definitions of Accounting
2) การบันทึก (Recording) 3) การจำแนก (Classifying) การทำบัญชี 1) การรวบรวม (Collecting) 4) การสรุป (Summarizing) การนำข้อมูลที่จดบันทึกไว้แล้ว มาจำแนกให้เป็นหมวดหมู่บัญชีประเภทต่างๆ ได้แก่ สินทรัพย์ (Assets) หนี้สิน (Liabilities) ส่วนของเจ้าของ (Owners’ Equity) รายได้ (Revenues) และค่าใช้จ่าย (Expenses) Principles of Accounting I

24 Definitions of Accounting
2) การบันทึก (Recording) 3) การจำแนก (Classifying) การทำบัญชี 1) การรวบรวม (Collecting) 4) การสรุป (Summarizing) การนำข้อมูลที่ได้จำแนกให้เป็นหมวดหมู่บัญชีประเภทต่างๆ มาสรุปเป็นรายงานทางการเงิน ซึ่งแสดงถึงผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของกิจการ ตลอดจนการได้มาและการใช้ไปของเงินสดในรอบระยะเวลาบัญชีหนึ่ง Principles of Accounting I

25 เพื่อประโยชน์แก่บุคคลที่เกี่ยวข้องหลายฝ่าย Financial Information
Benefit of Accounting เพื่อประโยชน์แก่บุคคลที่เกี่ยวข้องหลายฝ่าย Investor Public Sector Financial Information Employee Revenue Sector Lender Government Supplier Customer Creditor Principles of Accounting I

26 ความเป็นมาของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป (Generally Accepted Accounting Principles : GAAP) มาตรฐานการบัญชี (Accounting Standards : AS) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน (Financial Reporting Standards : FRS) ปัจจุบัน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน 2 ชุด (PAEs & NPAEs) ปัจจุบัน Principles of Accounting I

27 ความเป็นมาของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป (Generally Accepted Accounting Principles : GAAP) ใช้ GAAP ซึ่งมาจากหลักการบัญชีของอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ผ่านทางตำราเรียนทางการบัญชี และอาจารย์ผู้สอนทางการบัญชี ที่สำเร็จการศึกษามาจาก 2 ประเทศดังกล่าว Principles of Accounting I

28 ความเป็นมาของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
มาตรฐานการบัญชี (Accounting Standards : AS) - ในช่วงแรก ส.บช. ออกมาตรฐานการบัญชีไทย (Thai Accounting Standards : TAS) โดยอ้างอิงมาจากมาตรฐานการบัญชีของสหรัฐอเมริกา และมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (International Accounting Standards : IAS) - ในระยะหลังตั้งแต่ปี 2542 เป็นต้นมา ประเทศไทยพัฒนา TAS โดยอ้างอิงจาก IAS เป็นหลัก จึงมีมาตรฐานการบัญชีเพียงชุดเดียวที่ใช้กับทุกกิจการ ตามแนวคิดที่ว่า “One size fits all” (มาตรฐานการบัญชีชุดเดียวเหมาะกับกิจการทุกขนาดทุกประเภท ด้วยเหตุผลที่ว่า มาตรฐานการบัญชีมีความยืดหยุ่นเพียงพอที่จะนำไปใช้ได้กับทุกกิจการ) Principles of Accounting I

29 ความเป็นมาของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
(Financial Reporting Standards : FRS) ปัจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีออกมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (Thai Financial Reporting Standards : TFRS) โดยอ้างอิงมาจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ (International Financial Reporting Standards : IFRS) ซึ่งออกโดย IASB ที่ยังคงยึดแนวคิดเดิมคือ “One size fits all” Principles of Accounting I

30 ความเป็นมาของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
2 ชุด ปัจจุบัน ในปี พ.ศ สภาวิชาชีพบัญชีฯ ได้กำหนดมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for NPAEs) ขึ้นมาชุดหนึ่งเรียกว่า ชุดเล็ก และมาตรฐานการรายงานทางการเงินเดิมใช้สำหรับกิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for PAEs) เรียกว่า ชุดใหญ่ ดังนั้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป ประเทศไทยมีมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 2 ชุด คือ ชุดใหญ่ (TFRS for PAEs) และชุดเล็ก (TFRS for NPAEs) Principles of Accounting I

31 ความเป็นมาของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
สภาวิชาชีพบัญชี กำหนดให้มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เป็น 2 ระดับ 1 PAEs (Public Accountable Entities = กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ ชุดใหญ่ TFRSs for PAEs แปลและเรียบเรียงจาก IFRSs + US GAAP + Local GAAP NPAEs (Non-Public Accountable Entities = กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ = กิจการที่ไม่ใช่ PAEs 2 ชุดเล็ก TFRSs for NPAEs Principles of Accounting I

32 Principles of Accounting I
1) กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (Publicly Accountable Entities : PAEs) 1.1 กิจการที่มีตราสารทุนหรือตราสารหนี้ของกิจการ ซึ่งมีการซื้อขายในตลาด สาธารณะ (ไม่ว่าจะเป็นตลาดหลักทรัพย์ในประเทศหรือต่างประเทศ หรือการซื้อขายนอก ตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งตลาดในท้องถิ่นหรือในภูมิภาค) หรือกิจการที่นำส่งหรืออยู่ใน กระบวนการของการนำส่งงบการเงินของกิจการให้แก่สำนักคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) หรือหน่วยงานกำกับดูแลอื่น เพื่อวัตถุประสงค์ในการออกขาย หลักทรัพย์ใดๆ ในตลาดสาธารณะ 1.2 กิจการที่ดำเนินธุรกิจหลักในการดูแลสินทรัพย์ของกลุ่มบุคคลภายนอกในวง กว้าง เช่น สถาบันการเงิน บริษัทประกันชีวิต บริษัทประกันวินาศภัย บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนรวม ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น 1.3 บริษัทมหาชนจำกัด ตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด 1.4 กิจการอื่นที่กำหนดเพิ่มเติม (ขณะนี้ยังไม่ได้กำหนด) Principles of Accounting I

33 บริษัท มหาชน จำกัด (Listed Company)
แบ่งเป็น 4 ประเภท คือ จดทะเบียนเป็น บริษัทมหาชนจำกัด แต่ยังไม่ได้เข้าตลาด ยื่นเรื่องต่อ กลต. เพื่อเข้าตลาด (IPO : Initial Public Offering) บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดแล้ว เคยเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แล้วออกมา Principles of Accounting I

34 Principles of Accounting I
2) กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (Non-Publicly Accountable Entities : NPAEs) หมายถึง กิจการที่ไม่ใช่กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (Publicly Accountable Entities : PAEs) Principles of Accounting I

35 กฎหมายการบัญชี : พ.ร.บ. การบัญชี พ.ศ. 2543
พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 -มีผลบังคับใช้ 10 สิงหาคม 2543 (บังคับใช้แทน ปว. 285 พ.ศ. 2515) -เป็นกฎหมายเกี่ยวกับการทำบัญชีของธุรกิจ -แบ่งเป็นผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี และ ผู้ทำบัญชี Principles of Accounting I

36 Principles of Accounting I
พ.ร.บ. การบัญชี พ.ศ. 2543 ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี 1) ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน 2) บริษัท จำกัด 3) บริษัท มหาชน จำกัด 4) นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ แต่ประกอบธุรกิจ ในประเทศไทย 5) กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร 6) สถานที่ประกอบธุรกิจเป็นประจำ (สาขา) 7) บุคคลธรรมดา/ห้างหุ้นส่วนสามัญ ที่เป็นผู้ผลิต ผู้จำหน่าย มีไว้เพื่อจำหน่าย นำเข้ามา หรือ ส่งออก สินค้าประเภทแถบเสียง แถบวีดีทัศน์ 8) กิจการประกอบธุรกิจ “งาช้าง” Principles of Accounting I

37 Principles of Accounting I
พ.ร.บ. การบัญชี พ.ศ. 2543 ผู้ทำบัญชี 1) พนักงานของกิจการ ผู้อำนวยการบัญชี/ สมุห์บัญชี /หัวหน้าแผนกบัญชี 2) สำนักงานบริการทำบัญชี หัวหน้าสำนักงาน/ หุ้นส่วนที่รับผิดชอบ 3) ผู้รับจ้างอิสระ ผู้ประกอบวิชาชีพ กรณีรับทำบัญชีเกินกว่า 100 ราย จะต้องมีผู้ช่วยทำบัญชีและรับผิดชอบด้วย Principles of Accounting I

38 Principles of Accounting I
พ.ร.บ. การบัญชี พ.ศ. 2543 หน้าที่ความรับผิดชอบของ ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี 1. ควบคุมดูแลการจัดทำบัญชี ดังนี้ 1) การจัดทำบัญชี -วันที่เริ่มจัดทำบัญชี -ประเภทบัญชีที่ต้องจัดทำ -การลงรายการในบัญชี 2) จัดทำบัญชีให้มีการแสดงผลการดำเนินงานและฐานะการเงินตาม ความเป็นจริงและมีเอกสารหลักฐานประกอบการลงบัญชีครบถ้วน 3) จัดเก็บเอกสารและสมุดบัญชีไว้ ณ สถานประกอบธุรกิจ Principles of Accounting I

39 Principles of Accounting I
พ.ร.บ. การบัญชี พ.ศ. 2543 หน้าที่ความรับผิดชอบของ ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี 1. ควบคุมดูแลการจัดทำบัญชี (ต่อ) 4) บัญชีและเอกสารฯ สูญหายจะต้องแจ้งภายใน 15 วัน 5) บัญชีและเอกสารฯ จะต้องจัดเก็บไว้ไม่ต่ำกว่า 5 ปีนับแต่วันปิดบัญชี 6) นิติบุคคลต่างประเทศ กิจการร่วมค้า บุคคลธรรมดาฯ เมื่อเลิกกิจการ จะต้องส่งมอบบัญชีและเอกสารฯภายใน 90 วันนับแต่วันเลิกประกอบ ธุรกิจ 7) ปิดบัญชีทุก 12 เดือน Principles of Accounting I

40 Principles of Accounting I
พ.ร.บ. การบัญชี พ.ศ. 2543 หน้าที่ความรับผิดชอบของ ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี 2. จัดทำและจัดส่งงบการเงิน 1) งบการเงินที่ต้องจัดทำ 2) รูปแบบงบที่ต้องจัดทำตามรายการย่อ 3) งบการเงินต้องผ่านการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชี 4) การนำส่งงบการเงินและสถานที่จัดส่ง Principles of Accounting I

41 Principles of Accounting I
รูปแบบงบที่ต้องจัดทำตามรายการย่อ (ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า พ.ศ. 2554)  ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน รายการย่อตามแบบ ๑  บริษัทจำกัด รายการย่อตามแบบ ๒  บริษัทมหาชนจำกัด รายการย่อตามแบบ ๓ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ รายการย่อตามแบบ ๔  กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร รายการย่อตามแบบ ๕ Principles of Accounting I

42 ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีแต่ละประเภทต้องจัดทำงบการเงิน ดังนี้
แบบ/ ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี งบแสดง ฐานะการเงิน งบกำไร ขาดทุน เบ็ดเสร็จ งบกำไร ขาดทุน งบแสดง การเปลี่ยนแปลง ส่วนของเจ้าของ งบกระแส เงินสด งบการเงิน รวม หมายเหตุ ประกอบ งบการเงิน งบการเงิน เปรียบเทียบ กับปีก่อน ๑ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน      /      - ๒ บริษัทจำกัด ๓ บริษัทมหาชนจำกัด ๔ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ ๕ กิจการร่วมค้าตาม      ประมวลรัษฎากร Principles of Accounting I

43 Principles of Accounting I
พ.ร.บ. การบัญชี พ.ศ. 2543 คุณสมบัติของผู้ทำบัญชี -สำเร็จการศึกษาสาขาการบัญชี ระดับ ปวส. ปริญญาตรี หน้าที่ของผู้ทำบัญชี -จัดทำบัญชีให้แสดงผลการดำเนินงานและฐานะการเงิน -ลงรายการบัญชีเป็นภาษาไทย -เขียนด้วยหมึก ดีดพิมพ์ ตีพิมพ์ -ทำบัญชีตามมาตรฐานการบัญชี Principles of Accounting I

44 Principles of Accounting I
Next Week Principles of Accounting I

45 Principles of Accounting I
กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงินThe Conceptual Framework for Financial Reporting (ฉบับปรับปรุง) สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ Principles of Accounting I


ดาวน์โหลด ppt Principles of Accounting I

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google