ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ระบบการบำรุงรักษาในโรงงานอุตสาหกรรม รหัสวิชา IEM3105 Industrial Maintenance System อาจารย์ผู้สอนผู้ช่วยศาสตราจารย์สมศักดิ์ มีนคร Mobile: .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
2
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University .: บทที่ 8 หลักการหล่อลื่น โรงงานมักให้ความสำคัญในเรื่องของการจัดระบบการหล่อลื่นน้อยมาก มักจะเน้นแต่ในเรื่องของการซ่อมแซม ที่ซึ่งเป็นการแก้ไขหลังการเกิดเหตุ จริงๆ แล้วการจัดระบบการหล่อลื่นมีส่วนช่วยให้ปัญหาที่ต้องแก้ไขนั้นลดลงได้อย่างมากทีเดียว การหล่อลื่นนั้นเรามีวัตถุประสงค์เพื่อลดแรงเสียดทาน การสึกหรอที่เกิดขึ้นกับชิ้นส่วนเครื่องจักรต่าง ๆ นอกจากนี้แล้วสารหล่อลื่นยังช่วยในการระบายความร้อน ช่วยรักษาความสะอาดภายใน และการเป็นฉนวนไฟฟ้าในหม้อแปลงไฟฟ้า .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
3
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ข้อมูลพิจารณาเพื่อการจัดการหล่อลื่นที่ดีนั้นควรประกอบไปด้วย 1. แรงเสียดทาน (Friction) 2. การหล่อลื่น (Lubrication) 3. การสึกหรอ (Wear) 4. น้ำมันหล่อลื่น (Oil) 5. มาตรฐานน้ำมันหล่อลื่นในอุตสาหกรรม 6. จาระบี (Grease) .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
4
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University แรงเสียดทาน (Friction) แรงเสียดทาน (Friction) คือ แรงต้านทางกลศาสตร์ใน ตัวกลางใดตัวกลางหนึ่ง หรือในวัตถุใด ๆ ซึ่งจะต้องต้านทาน การเคลื่อนที่ของตัวกลาง หรืออีกนัยหนึ่งคือแรงที่ทำให้เกิด ความฝืด ผลกระทบต่อเครื่องจักรคือ - พลังงานที่ใช้ในการส่งกำลังให้กับเครื่องจักรต้องเสียไปกับการเอาชนะความฝืด - พลังงานนี้ยังต้องสูญเสียไปในรูปของความร้อนที่อาจจะเป็นอันตราย .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
5
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
6
ประเภทของแรงเสียดทาน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ประเภทของแรงเสียดทาน 1. Dry Friction Semi Friction Fluid Friction .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
7
ประเภทของแรงเสียดทาน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ประเภทของแรงเสียดทาน 1. Dry Friction เป็นแรงเสียดทานที่เกิดจากการสัมผัสระหว่างยอดแหลมของผิวหน้าสัมผัสของวัสดุที่เป็นชิ้นงาน โดยไม่มีการหล่อลื่นเลยสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน จะกระทบต่อการใช้งาน คือ - ต้องใช้พลังงานมากในการขับเคลื่อน - ทำให้เกิดความร้อนขึ้นสูง - ทำให้เกิดการสึกหรอมาก - ทำให้เกิดการหลอมติดของผิวสัมผัส .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
8
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 2. Semi Friction เป็นแรงเสียดทานที่เกิดจากยอดแหลมของผิวสัมผัสบางส่วนสัมผัสกัน และมีบางส่วนหล่อลื่น สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจะอยู่ระหว่าง เมื่อใช้งานไปนาน ๆ จะทำให้เกิดการสึกหรอมาก แต่การสึกหรอแบบนี้จะเกิดขึ้นน้อยกว่าแบบ Dry Friction .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
9
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 3. Fluid Friction เป็นแรงเสียดทานในรูปแบบที่เกิดขึ้นน้อยครั้งมาก เพราะไม่มีการสัมผัสกันระหว่างผิวงานโดยตรง จะมีน้ำมันแทรกตัวอยู่ตรงกลางทำให้ผิวงานแยกออกจากกันตลอดเวลา สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจะอยู่ระหว่าง แรงเสียดทานแบบนี้จะไม่มีการสึกหรอ ถ้ามีก็จะเกิดขึ้นน้อยมาก .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
10
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การหล่อลื่น (Lubrication) การหล่อลื่นเป็นวิธีการลดแรงเสียดทาน อันเป็นสาเหตุของการสึกหรอผลกระทบจากการขาดการหล่อลื่น - แรงเสียดทานของชิ้นส่วนจะเกิดขึ้นสูง - อุณหภูมิชิ้นส่วนจะสูงขึ้นเมื่อแรงเสียดทานสูง ชิ้นส่วนนั้น ก็จะขยายตัว - ต้องใช้พลังงานมากขึ้นในการเคลื่อนที่ชิ้นส่วนของ เครื่องจักร - การสึกหรอเกิดขึ้นมากในบริเวณที่มีการเสียดสีใช้นานวันก็ จะทำให้เกิดการหลวมคลอน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
11
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การหล่อลื่นแบ่งตามวิธีการหล่อลื่น 2 ประเภท 1) การหล่อลื่นแบบ Pressure oil feed การหล่อลื่นลักษณะนี้ จะใช้วิธีการส่งสารหล่อลื่นไปตามท่อจนถึงจุดที่ต้องการหล่อลื่น จะต้องมีส่วนประกอบอื่น ๆ ร่วมด้วยอาทิ เช่น ปั๊มน้ำมัน ท่อโลหะ เป็นต้น 2) การหล่อลื่นแบบ Forming Wedge การหล่อลื่นลักษณะนี้ เป็นการแทรกตัวของสารหล่อลื่นที่เกาะตัวเป็นฟิล์มบาง ๆ ข้นระหว่างวัสดุที่ต้องการหล่อลื่น .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
12
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การสึกหรอ (Wear) เป็นการสูญเสียเนื้อวัสดุไปจำนวนหนึ่งจากวัตถุโดยไม่พึงปรารถนา จากการแยกหลุดของอนุภาคบนผิวอันเกิดจากภาระทางกลหรือทางเคมี โดยที่พลังงานทางกลที่ป้อนเข้าไปจะเปลี่ยนเป็นพลังงานทางความร้อน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
13
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University สามารถแบ่งชนิดได้ตามความแตกต่างของภาระกระทำที่เกิดจาก พลังงานที่ก่อให้เกิดการสึกหรอได้ 3 ชนิด ) การสึกหรอแบบถู ) การสึกหรอแบบฉีดพ่น ) การสึกหรอแบบชะล้าง .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
14
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ชนิดของการสึกหรอกับชนิดชิ้นส่วนเครื่องจักร ชนิดของการสึกหรอ ชนิดของชิ้นส่วนเครื่องจักร การสึกหรอแบบลื่นไถล ชิ้นส่วนที่เสียดสีกัน เช่น ลูกสูบกับเสื้อสูบ, โก่งเลื่อยเครื่องกับร่องหางเหยี่ยว เป็นต้น การสึกหรอแบบกลิ้ง ชิ้นส่วนที่หมุนกลิ้งตามกัน เช่น ลูกปืนต่าง ๆ , ล้อต่าง ๆ และเฟือง เป็นต้น การสึกหรอโดยมีการเสียดสีของเม็ดธาตุ ชิ้นส่วนเครื่องผสมคอนกรีต, เครื่องบด และเครื่องย่อย เป็นต้น การสึกหรอโดยมีการเป่าพ่นเม็ดแร่ธาตุหรือของเหลว ท่อน้ำ, ท่อลม, อุปกรณ์ข้อต่อท่อต่าง ๆ , แผ่นบังคับทิศทางของไหล และไซโล เป็นต้น การสึกหรอเกิดจาก Cavitation หรือ หยดน้ำปะทะ ใบพัดเรือ, ใบพัดปั๊มน้ำ และใบกังหันไอน้ำ เป็นต้น .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
15
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University น้ำมันหล่อลื่น น้ำมันหล่อลื่นที่มีคุณภาพที่ดีต้องมีองค์ประกอบที่สำคัญ 2 อย่างคือ 1. สารน้ำมันหล่อลื่น (Basic oils) 2. สารเพิ่มคุณภาพ (Additives) .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
16
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University สารน้ำมันหล่อลื่น (Basic oils) สารน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันมี 3 ชนิดด้วยกัน คือ น้ำมันพืชหรือน้ำมันสัตว์ (Vegetable or Animal oils) น้ำมันละหุ่ง น้ำมันปาล์ม น้ำมันหมู น้ำมันแร่ (Mineral oils) พาราฟินนิก (Paraffinic) แนฟทานิก (Naphthenic) น้ำมันสังเคราะห์ (Synthetic oils) Polyalphaolefins (PAO) Esters Polyglycols Polypheny Ethers .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
17
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University สารเพิ่มคุณภาพ (Additives) ชนิดสารเพิ่มคุณภาพ การใช้งาน สารป้องกันปฏิกิริยาออกซิเดชั่น ใช้ในงานที่มีอุณหถูมิสูงและสัมผัสกับอากาศหมุนเวียน ใช้ลดการเกิดวานิชและตะกอน สารป้องกันการกัดกร่อน ใช้ป้องกันการกัดกร่อนของสารเคมี เช่น กรดที่กระทำต่อผิวชิ้นส่วนเครื่องจักร สารป้องกันสนิม ใช้ป้องกันสนิมในงานที่อาจ มีความชื้น หรือน้ำเข้ามาสัมผัสผิวโลหะได้ สารป้องกันการสึกหรอ ใช้ป้องกันการสึกหรอของผิวชิ้นส่วนเครื่องจักรที่รับภาระน้ำหนักมาก ๆ มักจะเกิด Boundary Lubrication ขึ้นบ่อย สารรับแรงกดสูง ใช้เพิ่มความหนาของฟิล์มน้ำมัน และเพิ่มความสามารถในการรับภาระน้ำหนักมาก ๆ ได้ สารชะล้างและกระจายสิ่งสกปรก ใช้ชะล้างสิ่งสกปรกออกจากผิวชิ้นส่วนเครื่องจักร และกระจายมิให้รวมตัวกันเป็นโคลน ตะกอน สารเพิ่มดัชนีความหนืด ใช้ลดอัตราการเปลี่ยนแปลงค่าความหนืดตามอุณหภูมิน้ำมัน ใช้ในน้ำมันชนิดมัลติเกรด สารลดจุดไหลเท ใช้ลดจุดแข็งตัวน้ำมัน ซึ่งเกิดขึ้นเพราะไขน้ำมันแยกตัวเป็นผลึก ป้องกันไม่ให้ผลึกเกาะตัวเป็นกลุ่มให้ไหลตัวได้ สารช่วยทำให้น้ำมันเข้ากับน้ำ ใช้ลดแรงตึงผิวระหว่างน้ำมัน น้ำมันสามารถแขวนตัวเป็นเม็ดละเอียดในน้ำได้ ใช้ใส่ในน้ำมันสบู่ สารฆ่าเชื้อโรค ใช้เติมในน้ำมันสบู่เพื่อป้องกันการบูดเน่า ทำให้น้ำมันแยกตัวออกจากน้ำ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
18
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University องค์ประกอบสำคัญของน้ำมันหล่อลื่น องค์ประกอบสำคัญที่กำหนดให้เป็นคุณสมบัติของน้ำมันหล่อลื่นประกอบไปด้วย ความหนืด ดัชนีความหนืด จุดไหลเท จุดวาบไฟ ต้านทานการรวมตัวกับออกซิเจน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
19
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 1. ความหนืด(Viscosity) ความหนืด (Viscosity) คุณสมบัติแรกสุดที่สำคัญในการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน น้ำมันที่มีความหนืดต่ำจะให้ฟิล์มหล่อลื่นที่บาง ทำให้รับภาระน้ำหนักได้น้อย แต่สามารถแทรกตัวไปตามส่วนต่างๆ ที่ต้องการหล่อลื่นได้อย่างรวดเร็วและระบายความร้อนได้ดี .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
20
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
Suan Sunandha Rajabhat University ความหนืดจะมีค่าแปรเปลี่ยนไปตามอุณหภูมิของน้ำมัน กล่าวคือ ความหนืดสูงขึ้นเมื่ออณุหภูมิลดลงและความหนืดต่ำลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น น้ำมันหล่อลื่นที่มีความหนืดต่ำ น้ำมันหล่อลื่นที่มีความหนืดสูง รอบสูง รอบต่ำ อุณหภูมิสูง อุณหภูมิต่ำ แรงกดต่ำ แรงกดสูง .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
21
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ความหนืดจะมีหน่วยวัดหลายละบบ และอุณหภูมิที่ใช้วัดก็จะแตกต่างกัน ภายใต้สภาวะอุณหภูมิถูกควบคุมให้คงที่ ค่าความหนืดที่นิยมใช้แพร่หลายมากที่สุดคือ ค่าความหนืด Kinematic Viscosity หน่วยเป็น Centistoke (cSt) ระบบหรือประเทศ หน่วยวัดความหนืด อุณหภูมิที่ใช้วัด ระบบสากล Centistoke (cSt) 40 ํ C และ 100 ํ C สหรัฐเอมริกา Second Saybolt Universal (SSU) 100 ํ F และ 210 ํ F สหราชอาณาจักร Redwoold No.1 (RW1) 70 ํ F และ 200ํ F ยุโรป Engler ( ํE) 20 ํ C, 50 ํ C และ 100ํ C .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
22
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 2. ดัชนีความหนืด (Viscosity Index ; V.I.) ดัชนีความหนืดของน้ำมันหล่อลื่นเป็นตัวบ่งชี้ว่าน้ำมันหล่อลื่นชนิดนี้จะมีความหนืดเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิ น้ำมันหล่อลื่นที่มีค่าดัชนีความหนืดสูง จะมีค่าความหนืดเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิที่เปลี่ยนไปน้อยกว่าน้ำมันที่มีค่าดัชนีความหนืดต่ำ น้ำมันหล่อลื่นในแต่ละตัวจะมีค่าดัชนีความหนืดเฉพาะอยู่ในตัวเอง จึงสามารถที่ใช้ค่าดัชนีความหนืดเป็นตัวเปรียบเทียบเพื่อพิจารณาเลือกใช้ให้ถูกต้องและมีคุณภาพตรงตามต้องการ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
23
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 3. จุดไหลเท เมื่ออุณหภูมิของน้ำมันหล่อลื่นลดต่ำลงความหนืด หรือความต้านทานการไหลของน้ำมันจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ จนในที่สุดน้ำมันเริ่มจะหยุดไหล อุณหภูมิที่ทำให้น้ำมันหล่อลื่นเริ่มหยุดไหลนี้เรียกว่า จุดไหลเท จะใช้พิจารณาในการออกแบบระบบ การหล่อลื่น .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
24
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
25
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 4. จุดวาบไฟ จุดไหลเท เมื่ออุณหภูมิของน้ำมันถูกทำให้ร้อนขึ้นจนไอของน้ำมันระเหยออกมามากพอที่จะสามารถติดไฟได้เมื่อมีเปลวไฟ จะใช้ในการพิจารณาหาความเหมาะสมของน้ำมันหล่อลื่นในด้านความปลอดภัยสำหรับการใช้งานที่อุณหภูมิสูง .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
26
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 5. ความต้านทานการรวมตัวกับออกซิเจน น้ำมันเป็นส่วนผสมอันซับซ้อนของสารไฮโดรคาร์บอน เมื่อไฮโดรคาร์บอนสัมผัสกับออกซิเจนในอากาศ จะทำปฏิกิริยากันจะเกิด กรด คราบยางเหนียว ถ้าหากอุณหภูมิของน้ำมันหล่อลื่นสูงอัตราการรวมตัวกับออกซิเจนก็จะเร็วขึ้น .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
27
มาตรฐานน้ำมนหล่อลื่นอุตสาหกรม .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University มาตรฐานน้ำมนหล่อลื่นอุตสาหกรม การแยกประเภทน้ำมันหล่อลื่นสำหรับอุตสาหกรรมแยกโดยสถาบันต่างๆดังนี้ ASTM (American Societ for Testing and Materials) 2. BSI (British Standards Institute) 3. AGMA (American Gear Manufactuers Association) 4. DIN (Deutsche industie Norm) .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
28
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University จาระบี จาระบีเป็นสารประกอบของน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน สารอุ้มน้ำมัน และ สารเพิ่มคุณภาพ ประกอบกันขึ้นเป็นสารหล่อลื่นมีลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลว สารเพิ่มคุณภาพที่ใช้มากได้แก่ สารป้องกันปฏิกิริยาออกซิเดชั่น (Antioxidants) สารป้องกันสนิม (Anti-rust) สารรับแรงกดสูง (EP Additives) สารขับน้ำ (Waterproofants) สารลดปฏิกิริยาเร่งผิวโลหะ (Metals Deactivators) สารเหนียวเกาะติด (Tackiness Additives) สารหล่อลื่นที่เป็นของแข็ง (Solid Lubricants) สารเพิ่มความคงทนของโครงสร้างเนื้อจาระบี (Structure Stabilizers) .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
29
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University จาระบีที่จะนำไปใช้ในการหล่อลื่นนั้นต้องมีคุณสมบัติอันเกิดจากองค์ประกอบดังต่อไปนี้ ความแข็งอ่อน จุดหยด ความคงทนต่อแรงเฉือน การแยกตัวของน้ำมัน ความคงทนต่อการชะของน้ำ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
30
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การเลือกใช้จาระบี จาระบีที่จะนำไปใช้ในการหล่อลื่นนั้นต้องมีคุณสมบัติอันเกิดจากองค์ประกอบดังต่อไปนี้ อุณหภูมิการทำงาน ความเร็วรอบ สภาวะภาระน้ำหนัก การทนน้ำ วิธีการอัด .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
31
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University .: แผนงานระบบหล่อลื่น เครื่องจักรต่างประเภทกันก็มีการจักการระบบหล่อลื่นที่ต่างกัน หากไม่มีการวางแผนในระบบการหล่อลื่นที่ดีแล้ว ย่อมเป็นเหตุที่ทำให้เครื่องจักรนั้นขาดการเอาใจใส่หรือการหล่อลื่นที่ทำกันอย่างไม่จริงจัง การจัดระบบการหล่อลื่นเครื่องจักร จึงมีความจำเป็นที่ต้องดูแลและควบคู่กับการใช้งานของเครื่องจักรตลอดเวลา ถึงจะสามารถยืดอายุการใช้งานของเครื่องจักรนั้นได้ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
32
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
Suan Sunandha Rajabhat University การจัดระบบการหล่อลื่นเครื่องจักรในโรงงาน 1.การสำรวจความต้องการในการหล่อลื่นของเครื่องจักรในโรงงาน 2.การจัดทำป้ายชื่อ การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ ในการเติมหรือเปลี่ยนถ่าย การทำใบประวัติการหล่อลื่น การคุมสต๊อกน้ำมันหรือจาระบี .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
33
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 1.การสำรวจความต้องการในการหล่อลื่นของเครื่องจักรในโรงงาน สำรวจกลุ่มเครื่องจักร รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม รวมและลดเกรดน้ำมันหล่อลื่น จัดทำรายงานการสำรวจวามต้องการหล่อลื่น .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
34
แบบสำรวจการหล่อลื่นเครื่องจักร .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University แบบสำรวจการหล่อลื่นเครื่องจักร ผู้สำรวจ เครื่อง ชนิด รุ่น โรงงาน จำนวน ชื่อผู้ผลิต วันที่ติดตั้ง แผนก จุดที่หล่อลื่น วิธีการหล่อลื่น ชื่อ น้ำมัน/จาระบี การเติม การเปลี่ยนถ่าย หมายเหตุ (เงื่อนไข) ที่ใช้ปัจจุบัน ตามกำหนด ปริมาณ (ลิตร) ความถี่ จำนวนความจุ (ลิตร) ระยะเวลา (...) วัน สัปดาห์ เดือน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
35
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 2.การจัดทำป้ายชื่อ - บอกถึงชื่อน้ำมัน หรือจาระบีที่ต้องใช้ - ชนิด เกรดของน้ำมันหรือจาระบีที่ใช้ - ความจุที่ต้องเติม - ติดไว้ ณ ตำแหน่งที่เติม น้ำมันหล่อลื่น SAE 50 ผสมสารสังเคราะห์ SEME-SYNTHETIC API SJ/CF ACEA A3-96, B3-96 JASO SG. .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
36
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 3.การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ ในการเติมหรือเปลี่ยนถ่าย - การเติมน้ำมัน หรือการอัดจาระบีที่ต้องกระทำเป็นประจำวันหรือบ่อย ๆ ควรเป็นหน้าที่ของแผนกผู้ควบคุมกระบวนการผลิตที่ใช้เครื่องนั้น ๆ - การเปลี่ยนถ่ายน้ำมันหล่อลื่นหรือเปลี่ยนจาระบีต่าง ๆ ควรเป็นงานของฝ่ายซ่อมบำรุงรับผิดชอบ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
37
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 4.การทำใบประวัติการหล่อลื่น - เพื่อบันทึกรายละเอียดการเปลี่ยนถ่ายน้ำมัน หรือจาระบีของเครื่องจักรนั้น ๆ - ใบประวัตินี้อาจทำรวมกับใบประวัติการซ่อมบำรุงของเครื่องจักรนั้น ๆ - มีรายละเอียดต่าง ๆ เช่น ชนิด ชื่อน้ำมันหรือจาระบีที่ใช้ จุดบริเวณที่ต้องการหล่อลื่น ความถี่ในการเติม ระยะเวลาการเปลี่ยนถ่ายหรือกำหนดเวลาที่ต้องเปลี่ยนถ่ายในครั้งหน้าต่อไป .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
38
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 5.การคุมสต๊อกน้ำมันหรือจาระบี - ป้องกันการขาดแคลนผลิตภัณฑ์หล่อลื่น ใบคุมสต๊อคควรประกอบด้วยข้อมูล ชื่อ ชนิดน้ำมันหรือจาระบี บริษัทผู้จำหน่าย และหมายเลขโทรศัพท์ ปริมาณสต๊อคต่ำสุดที่ควรทำการสั่งซื้อ ปริมาณการสั่งซื้อแต่ละครั้งเป็นเท่าไร .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
39
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ชื่อน้ำมัน เกรด/คุณภาพ ปริมาณต่ำสุดที่ควรสั่ง ปริมาณสั่งซื้อในแต่ละครั้ง บริษัท/ตัวแทนจำหน่าย แผนกโรงงาน วัน/เดือน/ปี รายการ ปริมาณ ปริมาณคงเหลือ ชื่อ/รุ่นเครื่องจักร ผู้เบิก .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
40
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 1. หลักการบำรุงรักษาเครื่องจักร การเลือกใช้สารหล่อลื่น การเก็บรักษาและการเตรียมการใช้สารหล่อลื่นให้ถูกวิธี การบำรุงรักษาเครื่องจักรอย่างสม่ำเสมอในขณะใช้งาน 2. การเลือกใช้สารหล่อลื่นให้เหมาะสมกับงาน ความหนืด ความแข็งอ่อน สมรรถนะการใช้งานของสารหล่อลื่น .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
41
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 3. การหล่อลื่นอย่างสม่ำเสมอเพื่อการบำรุงรักษาที่ดี - ควรหมั่นสังเกต และตรวจสอบความเปลี่ยนแปลง - เปลี่ยนถ่ายสารหล่อลื่นตามกำหนดที่ผู้ผลิตเครื่องนั้นแนะนำ - ปรับแต่งเครื่องจักร ให้เป็นไปตามกำหนดของเครื่องจักรเสมอ - ชะล้างระบบด้วยน้ำมันชนิดเดิม - ใช้เครื่องจักรตามกำลังความสามารถ และใช้อย่างทะนุถนอม .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.