ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMyles Arnold ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
ผศ.ดร.กมลพร สอนศรี คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การสกัดบทวิเคราะห์สภาพแวดล้อมสู่การวิเคราะห์ SWOT และ TOWS MATRIX เพื่อเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ และการออกแบบโครงการและกิจกรรม ผศ.ดร.กมลพร สอนศรี คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
2
วิเคราะห์ความคาดหวังของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์หลัก (ถ้ามี) และประเด็นยุทธศาสตร์ ตามลำดับ โดยให้สอดคล้องกัน กำหนดเป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ ในระดับองค์กร (ภายใต้พันธกิจ หรือประเด็นยุทธศาสตร์) กำหนดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก และกลยุทธ์ตามลำดับ องค์กรสามารถกำหนดโครงการริเริ่มไว้ล่วงหน้าได้ นำกลยุทธ์ที่ต้องดำเนินการในแต่ละปี มากำหนดโครงการ วัตถุประสงค์ และตัวชี้วัดระดับโครงการ กำหนดงบประมาณของโครงการ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมองค์กรทั้งภายใน และภายนอก โดยใช้ SWOT Analysis จัดทำแผนที่กลยุทธ์โดยกำหนดเป้าประสงค์ แต่ละมิติ Balance Scorecard – BSC. แผนกลยุทธ์ ๔ ปี แผนปฏิบัติการประจำปี กำหนดตัวชี้วัด (KPIs) ตามหลัก Result Based Management Action Plan
3
กระบวนการในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
การวิเคราะห์ปัจจัยทางยุทธศาสตร์ การกำหนดทิศทางของหน่วยงาน การวิเคราะห์ถึงประเด็นสำคัญที่จะต้องมุ่งเน้น / ให้ความสำคัญเพื่อที่จะบรรลุวิสัยทัศน์ การกำหนดเป้าประสงค์สำหรับแต่ละประเด็น การกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายของแต่ละเป้าประสงค์ การกำหนดกลยุทธ์หรือสิ่งที่จะทำเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ภัยคุกคาม (SWOT) วิสัยทัศน์ (Vision) และพันธกิจ (Mission) ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) เป้าประสงค์ (Goals) ตัวชี้วัด (Key Performance Indicators) และเป้าหมาย (Target) กลยุทธ์ (Strategies)
4
Environmental Analysis -> SWOT ANALYSIS
5
Internal Strategic Factor (IFAS)
Strengths and weaknesses are evaluated on 3 categories: Importance. Importance shows how important a strength or a weakness is for the organization in its industry as some strengths (weaknesses) might be more important than others. A number from 0.01 (not important) to (very important) should be assigned to each strength and weakness. The sum of all weights should equal 1.0 (including strengths and weaknesses). Rating. A score from 1 to 3 is given to each factor to indicate whether it is a major (3) or a minor (1) strength for the company. The same rating should be assigned to the weaknesses where 1 would mean a minor weakness and 3 a major weakness. Score. Score is a result of importance multiplied by rating. It allows prioritizing the strengths and weaknesses. You should rely on your most important strengths and try to convert or defend your weakest parts of the organization.
7
External Strategic Factor (EFAS)
Opportunities and threats are prioritized slightly differently than strengths and weaknesses. Their evaluation includes: Importance. It shows to what extent the external factor might impact the business. Again, the numbers from 0.01 (no impact) to 1.0 (very high impact) should be assigned to each item. The sum of all weights should equal 1.0 (including opportunities and threats). Probability. Probability of occurrence is showing how likely the opportunity or threat will have any impact on business. It should be rated from 1 (low probability) to 3 (high probability). Score. Importance multiplied by probability will give a score by which you’ll be able to prioritize opportunities and threats. Pay attention to the factors having the highest score and ignore the factors that will not likely affect your business.
8
Importance Rating Score
9
TOWS - Matrix การกำหนดกลยุทธ์ หรือเลือกใช้กลยุทธ์ที่เหมาะสม กับปัจจัยแวดล้อมทั้งภายในภายนอก จากการวิเคราะห์ SWOT มี 4 ประเภท SO Strategy (Advancement) ST Strategy (Avoid Threats) WO Strategy (Overcome weakness) WT Strategy (Avoid and Overcome)
10
O W S T S+O=Matching approach W+O=Off-set approach
ความสัมพันธ์ผัง SWOTและกลยุทธ์ ทางเลือก “การกำหนดกลยุทธ์ที่เหมาะสมกับสภาวะแวดล้อม SWOT” W+O=Off-set approach S+O=Matching approach O กลยุทธ์ “ผนึกพลัง” ที่เน้นการใช้จุดแข็ง เพื่อเปิดโอกาสใหม่การแข่งขันขององค์กร Keyword ขยายงาน ส่งเสริม กระจายงาน สนับสนุน เพิ่มเครือข่าย เพิ่มเป้าหมาย พัฒนา กลยุทธ์ “ทดแทน” แก้ไขจุดอ่อน เพื่อใช้โอกาสที่มีอยู่ขององค์กร Keyword ปรับปรุง เพิ่มช่องทาง พัฒนา สร้างเครือข่าย ร่วมทุน เร่งรัด หาแนวร่วม ร่วมมือ W S S+T=Covering approach W+T=Mitigation approach กลยุทธ์ “บรรเทา” หาทางผ่านพ้นจุดอ่อน และเลี่ยงภาวะคุกคามที่ปดบังวัตถุประสงค์องค์กร Keyword ทบทวน ลดกิจกรรม ชะลอการดำเนินการ ถ่ายโอน ปรับเปลี่ยนกิจกรรม กลยุทธ์ “โอบล้อม”อาศัยจุดแข็งต้านและตรึง ภาวะคุกคามที่มีต่อวัตถุประสงค์ขององค์กร Keyword ขยายงานที่เป็นจุดแข็ง ควบคุม รักษา หลีกเลี่ยงอุปสรรค ป้องกัน T การวางแผนกลยุทธ อุทิศ/เมษายน/2544
11
TOWS Matrix ประเด็น ยุทธศาสตร์ 1 TOWS Matrix 1.............
Strengths 1. 2. 3. Weaknesses 3 Opportunities Threats จุดแข็ง (S) จุดอ่อน (W) ประเด็น ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ SO ยุทธศาสตร์ WO โอกาส (O) “รุก” ใช้จุดแข็งหา ประโยชน์ จากโอกาส “ปรับปรุง” จุดอ่อน โดยใช้ประโยชน์ จากโอกาส ฯลฯ ยุทธศาสตร์ ST ยุทธศาสตร์ WT ภัยคุกคาม (T) “ป้องกัน” ใช้จุดแข็ง หลบภัยคุกคาม “รับ/เปลี่ยน” ลด จุดอ่อน หลีกเลี่ยงภัยคุกคาม TOWS Matrix? ตรวจสอบความเป็นไปได้ของโอกาส ตรวจสอบผลกระทบของอุปสรรค ตรวจสอบสภาพแวดล้อมของจุดแข็ง (ต่อยอด / ตั้งรับ) ตรวจสอบสภาพแวดล้อมของจุดอ่อน (ทุ่มเท / ปรับเปลี่ยน)
12
โอกาส (Opportunities)
SWOT Analysis November 15, 2018 ตัวอย่าง จุดอ่อน (Weaknesses) จุดแข็ง (Strengths) เป็นศูนย์รวมที่ตั้งของโรงงานอุตสาหกรรมหลายประเภท มีทำเลที่ตั้งอยู่ใจกลางประเทศ อันสามารถเชื่อมโยงกับภูมิภาคต่างๆในประเทศ มีพื้นที่ลุ่มแม่น้ำที่เหมาะสม และมีระบบชลประทานที่ดี เป็นสถานที่ตั้งของสถาบันการศึกษาและสถาบันทางวิชาการ เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ที่สำคัญ ระบบการศึกษาผลิตบุคลากรไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในพื้นที่ ขาดองค์ความรู้ในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี โครงข่ายการคมนาคมขนส่งไม่เพียงพอ ปัญหาการขยายตัวของชุมชนและอุตสาหกรรมที่ไร้ระเบียบ ขาดการประชาสัมพันธ์ด้านการท่องเที่ยว โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats) การเปิดการค้าเสรีและการพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศโดยเฉพาะสาขาเกษตร เปิดโอกาสให้จังหวัดพัฒนาการผลิตอาหารปลอดภัยสู่ตลาดโลก การแข่งขันทางการค้าที่สูงขึ้นในตลาดโลก มาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี ค่าแรงงานที่ถูกกว่าในประเทศเพื่อนบ้าน เช่น จีน เวียดนาม การอพยพเคลื่อนย้ายของแรงงานต่างถิ่นและแรงงานต่างด้าวที่ผิดกฎหมาย ตุลาคม-พฤศจิกายน ๒๕๕๗ หลักสูตรนักยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด มหาดไทย Sasin Management Consulting 12
13
ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ SO โอกาส (Opportunities)
TOWS Matrix: SO (รุก) November 15, 2018 ตัวอย่าง จุดแข็ง (Strengths) เป็นศูนย์รวมที่ตั้งของโรงงานอุตสาหกรรมหลายประเภท มีทำเลที่ตั้งอยู่ใจกลางประเทศ อันสามารถเชื่อมโยงกับภูมิภาคต่างๆในประเทศ มีพื้นที่ลุ่มแม่น้ำที่เหมาะสม และมีระบบชลประทานที่ดี เป็นสถานที่ตั้งของสถาบันการศึกษาและสถาบันทางวิชาการ เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ที่สำคัญ ฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมที่สำคัญของประเทศและเพื่อการส่งออก ศูนย์กลางกระจายสินค้าและบริการสู่ภูมิภาคอื่นๆ (Distribution Center) พัฒนาการเป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรแปรรูปสู่ตลาดโลก พัฒนาการเป็นเมืองน่าอยู่ หรือ เมืองบริวาร เพื่อรองรับการขยายตัวของกรุงเทพฯ ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ SO โอกาส (Opportunities) การเปิดการค้าเสรีและการพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศโดยเฉพาะสาขาเกษตร เปิดโอกาสให้จังหวัดพัฒนาการผลิตอาหารปลอดภัยสู่ตลาดโลก มนุชญ์ วัฒนโกเมร (2557) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หลักสูตรนักยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด มหาดไทย ตุลาคม-พฤศจิกายน ๒๕๕๗ Sasin Management Consulting 13
14
TOWS Matrix: ST (ป้องกัน) ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ ST
November 15, 2018 ตัวอย่าง จุดแข็ง (Strengths) เป็นศูนย์รวมที่ตั้งของโรงงานอุตสาหกรรมหลายประเภท มีทำเลที่ตั้งอยู่ใจกลางประเทศ อันสามารถเชื่อมโยงกับภูมิภาคต่างๆในประเทศ มีพื้นที่ลุ่มแม่น้ำที่เหมาะสม และมีระบบชลประทานที่ดี เป็นสถานที่ตั้งของสถาบันการศึกษาและสถาบันทางวิชาการ เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ที่สำคัญ ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ ST พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการ พร้อมทั้งเชื่อมโยงให้เกิดการรวมกลุ่มอุตสาหกรรม (Cluster) พัฒนาความร่วมมือระหว่างผู้ประกอบการกับสถาบันการศึกษา เพื่อเพิ่มพูนทักษะและฝีมือของแรงงาน สร้างมาตรการที่เข้มงวดในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของแรงงาน เพื่อป้องกันปัญหาสังคม อุปสรรค (Threats) การแข่งขันทางการค้าที่สูงขึ้นในตลาดโลก มาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี ค่าแรงงานที่ถูกกว่าในประเทศเพื่อนบ้าน เช่น จีน เวียดนาม การอพยพเคลื่อนย้ายของแรงงานต่างถิ่นและแรงงานต่างด้าวที่ผิดกฎหมาย มนุชญ์ วัฒนโกเมร (2557) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หลักสูตรนักยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด มหาดไทย Sasin Management Consulting 14
15
TOWS Matrix: WO (ปรับปรุง)
November 15, 2018 ตัวอย่าง จุดอ่อน (Weaknesses) ระบบการศึกษาผลิตบุคลากรไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในพื้นที่ ขาดองค์ความรู้ในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี โครงข่ายการคมนาคมขนส่งไม่เพียงพอ ปัญหาการขยายตัวของชุมชนและอุตสาหกรรมที่ไร้ระเบียบ ขาดการประชาสัมพันธ์ด้านการท่องเที่ยว ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ WO พัฒนาด้านการวิจัยและพัฒนา เพื่อนำเอาองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการสร้างมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์ เพิ่มความสามารถทางการแข่งขันด้านการเกษตร พัฒนาระบบโลจิสติกส์และโครงข่ายการคมนาคมขนส่งให้มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน จัดทำรูปแบบการบริหารจัดการที่ดินแบบ บูรณาการ โอกาส (Opportunities) การเปิดการค้าเสรีและการพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศโดยเฉพาะสาขาเกษตร เปิดโอกาสให้จังหวัดพัฒนาการผลิตอาหารปลอดภัยสู่ตลาดโลก มนุชญ์ วัฒนโกเมร (2557) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หลักสูตรนักยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด มหาดไทย ตุลาคม-พฤศจิกายน ๒๕๕๗ Sasin Management Consulting 15
16
TOWS Matrix: WT (เปลี่ยนแปลง) ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ WT
November 15, 2018 ตัวอย่าง จุดอ่อน (Weaknesses) ระบบการศึกษาผลิตบุคลากรไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในพื้นที่ ขาดองค์ความรู้ในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี โครงข่ายการคมนาคมขนส่งไม่เพียงพอ ปัญหาการขยายตัวของชุมชนและอุตสาหกรรมที่ไร้ระเบียบ ขาดการประชาสัมพันธ์ด้านการท่องเที่ยว ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ WT ปรับปรุงการศึกษาเพื่อผลิตบุคลากรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในพื้นที่ อุปสรรค (Threats) การแข่งขันทางการค้าที่สูงขึ้นในตลาดโลก มาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี ค่าแรงงานที่ถูกกว่าในประเทศเพื่อนบ้าน เช่น จีน เวียดนาม การอพยพเคลื่อนย้ายของแรงงานต่างถิ่นและแรงงานต่างด้าวที่ผิดกฎหมาย มนุชญ์ วัฒนโกเมร (2557) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หลักสูตรนักยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด มหาดไทย Sasin Management Consulting 16
17
รูปแบบการจัดทำยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์หน่วยงาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์หลัก โครงการ/งาน 1. 1.1 1.2 1.3 1.1.1 1.1.2 1.2.1 1.3.1 1.3.2 2. 2.1 2.2 2.3 2.1.1 2.2.1 2.2.3 3. 3.1 3.2 3.3 3.1.1 3.2.1 3.3.1
18
จากกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ
19
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ และ BSC/แผนที่ยุทธศาสตร์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ /กิจกรรม งบประมาณ BSC / แผนที่ยุทธศาสตร์
20
การพัฒนาระบบบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์: Balanced Scorecard
Kaplan และ Norton (1992) BSC เป็นเครื่องมือการบริหาร ที่ช่วยในการนำ....กลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ (Strategic Implementation) โดย...การวัดหรือการประเมิน (measurement) ช่วยทำให้องค์กรเกิดความสอดคล้องในทิศทางเดียวกัน และมุ่งเน้นในสิ่งที่มีความสำคัญ ต่อความสำเร็จขององค์กร (Alignment and focused)
21
Balanced Scorecard Balanced Scorecard Balanced Scorecard
ความสมดุลของจำนวนมุมมองที่ใช้ในการพิจารณา องค์กรเวลากำหนดปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จและตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก เพื่อป้องกันความเบี่ยงเบนและช่วยให้มีการพิจารณาองค์กรจากทุกมุมมองอย่างครบถ้วน Balanced รายงานสรุปผลสัมฤทธิ์ขององค์กร ซึ่งนำเสนออยู่ในรายงานสำหรับผู้บริหารเพื่อให้ผู้บริหารสามารถติดตามความก้าวหน้าของการบรรลุวัตถุประสงค์องค์กร Scorecard คือ ระบบการบริหารงานและประเมินผลทั่วทั้งองค์กร ไม่ใช่เฉพาะเป็นระบบการวัดผลเพียงอย่างเดียว แต่จะเป็นการกำหนดวิสัยทัศน์ (vision) และแผนกลยุทธ์ (strategic plan) แล้วแปลงผลลงไปสู่ทุกจุดขององค์กร เพื่อ...ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานของแต่ละฝ่ายงานและแต่ละคน Balanced Scorecard
22
Balanced Scorecard คือ ?
บอกเล่าเรื่องราวของกลยุทธ์ ถ่ายทอดวิสัยทัศน์และกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ ทำให้ทรัพยากรของทั้งองค์กรมีความสอดคล้องและไปในทิศทางเดียวกันเพื่อมุ่งเน้นไปที่กลยุทธ์ เครื่องมือในการแปลง กลยุทธ์สู่การปฏิบัติ สำหรับการวัด และประเมินผล - เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ - เป็นเครื่องมือทำให้เกิดความชัดเจนกับยุทธศาสตร์มากขึ้น องค์กรต่าง ๆ เหล่านี้ ได้ให้ความสำคัญกับการนำ BSC ไปใช้ในการประเมินผลและสามารถนำกลยุทธ์จากผู้บริหารระดับสูงไปสู่การปฏิบัติจริง Kaplan และ Norton ได้มองประเด็นหลักที่จะนำมาช่วยในการวิเคราะห์ BSC ซึ่งจะประกอบด้วย 4 หัวข้อหลัก ๆ คือ 1. วัตถุประสงค์ (Objective) 2. ตัวชี้วัด (Measures) 3. เป้าหมาย (Target) 4. แผนงานที่จะจัดทำ (Initiatives)
23
Perspective ตามหลัก Balanced Scorecard
BSC คือ ความสมดุล (Balance) ระหว่าง จุดมุ่งหมาย (Objective) : ระยะสั้นและระยะยาว (Short - and Long - Term) การวัดผล (Measure) : ทางด้านการเงินและไม่ใช่การเงิน (Financial and Non-Financial) ดัชนีชี้วัด (Indicator) : เพื่อการติดตามและการผลักดัน (lagging and Leading) มุมมอง (Perspective) : ภายในและภายนอก (Internal and External) ดังนั้น ระบบ Balanced Scorecard จะเป็นการจัดหาแนวทางแก้ไขและปรับปรุงการดำเนินงาน โดย...พิจารณาจากผลที่เกิดขึ้นของกระบวนการทำงานภายในองค์กร และผลกระทบจากลูกค้าภายนอกองค์กร มานำมาปรับปรุงสร้างกลยุทธ์ให้มีประสิทธิภาพดีและประสิทธิผลดียิ่งขึ้น Perspective ตามหลัก Balanced Scorecard มิติทางด้านการเงิน (Financial Perspective) มิติทางด้านลูกค้า (Customers Perspective) มิติด้านกระบวนการบริหารภายในองค์การ (Internal Perspective) มิติด้านการเรียนรู้ (Innovation and Learning Perspective) การรักษาลูกค้าเดิมขององค์กร การแสวงหาลูกค้าใหม่ การนำเสนอสินค้าที่มีคุณภาพ การบริการที่รวดเร็ว หรือ ชื่อเสียงของกิจการที่ดี ส่วนแบ่งการตลาดที่เพิ่มขึ้น การลดลงของต้นทุนหรือ การเพิ่มขึ้นของรายได้ด้วยวิธีการอื่นๆ การดำเนินงานที่รวดเร็วขึ้น กระบวนการผลิตที่มีคุณภาพ กระบวนการจัดส่งที่รวดเร็วตรงเวลา หรือ กระบวนการบริหารที่มีประสิทธิภาพ การเพิ่มทักษะของพนักงาน การรักษาพนักงานที่มีคุณภาพ วัฒนธรรมองค์กรที่เปิดโอกาสให้พนักงานแสดงความสามารถ การมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดี
24
มุมมองด้านลูกค้า (Customer)
การแข่งขันในปัจจุบัน หัวใจอยู่ที่การเข้าใจความต้องการของลูกค้า เปลี่ยน Focus ความสนใจจากภายในที่เน้นผลผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยี มาสนใจภายนอกในการให้ความสนใจต่อลูกค้า ตัวชี้วัดที่นิยมใช้ เช่น ความสามารถในการดึงดูดลูกค้าใหม่ /ความสามารถในการรักษาความสัมพันธ์กับลูกค้าที่มีอยู่ให้ยืนยาว /ความสามารถในการสร้างความพึงพอใจให้แก่ลุกค้า มุมมองด้านการเงิน (Finacial) ตัวชี้วัดที่นิยมใช้ มักจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ การเพิ่ม รายได้ / การลดต้นทุน / การเพิ่มผลผลิต / การใช้ ประโยชน์ทรัพย์สิน มุมมองด้านกระบวนการภายใน (Internal Business Process) เป็นการวัดที่ดูถึงความสมบูรณ์ของกระบวนการทางานภายในองค์กร แตกต่างจากการวัดประเมินผลแบบเดิมที่มุ่งเน้นประโยชน์เพื่อการควบคุม แต่เป็นไปพัฒนาปรับปรุงกระบวนการทางานเพื่อสร้างคุณค่าให้แก่ลูกค้าขององค์กร มุมมองด้านการเรียนรู้และการเติบโต (Learning and Growth) เป็นการลงทุนเพื่ออนาคต และเป็นผลประโยชน์ระยะยาวแก่องค์กรมากกว่าเน้นผลเฉพาะหน้า มีองค์ประกอบย่อยที่ใช้ในการวัด 3 ด้านคือ -ความสามารถของพนักงาน -ความสามารถของระบบข้อมูล ข่าวสาร เทคโนโลยี IT -บรรยากาศที่เอื้ออานวยต่อการทางาน
25
ความสอดคล้องและความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล Alignment, Cause and Effect Relationship
การเงิน องค์กรจะต้องปฏิบัติ ต่อผู้ถือหุ้นอย่างไร? ลูกค้า องค์กรจะต้องปฏิบัติ ต่อลูกค้าอย่างไร Outcomes ใน Balanced Scorecard จะต้องมีความสอดคล้องเป็นเหตุเป็นผลซึ่งกันและกัน โดยที่มุมมองทางด้านการเงิน และด้านลูกค้าจะเป็นผลลัพธ์ที่เกิดจากตัวผลักดันทางด้านมุมมองด้านกระบวนการ และองค์กรและการเรียนรู้ ประการแรก การที่จะต้องตอบคำถามที่ว่า องค์กรจะต้องปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างไร ต้องดูว่า ผู้ถือหุ้นต้องการอะไร ผู้ถือหุ้นต้องการเงินปันผล ต้องการให้องค์กรมีผลกำไรที่สูงขึ้น และองค์กรจะทำอย่างไร องค์กรจะต้องขายสินค้า หรือบริการให้ตรงกับความต้องการของลูกค้า เพื่อที่ลูกค้าจะได้ใช้สินค้าหรือบริการมากขึ้น และจะทำให้ลูกค้าซื้อสินค้า หรือบริการจากองค์กรมากขึ้น องค์กรจะต้องปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างไร ที่จะทำให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจ องค์กรก็จะต้องมีการปรับปรุงพัฒนาองค์กร และองค์กรจะต้องมีความสามารถ ความพร้อมในด้านไหน เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ และการที่องค์กรจะพัฒนาได้ พนักงานภายในองค์กรจะต้องมีการเรียนรู้ มีวัฒนธรรม และจะต้องปรับปรุงอย่างไร เพื่อตอบสนอง และสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อส่งผลให้มีกระบวนการการจัดการที่ดี ที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้า กระบวนการ องค์กรจะต้องมีความสามารถ ในด้านไหน Drivers องค์กรและการเรียนรู้ องค์กรจะต้องเรียนรู้ มีวัฒนธรรมและปรับปรุงอย่างไร
26
วัตถุประสงค์ KPI Target โครงการ
มิติด้านการเงิน การถ่ายทอด สู่หน่วยงาน เพื่อบรรลุความสำเร็จด้านการเงิน องค์กรควรมีผลการดำเนินงานอย่างไรในสายตาผู้ถือหุ้น วัตถุประสงค์ KPI Target โครงการ มิติด้านการบริหารงานภายใน มิติด้านลูกค้า วิสัยทัศน์ และ กลยุทธ์ เพื่อตอบสนองผู้ถือหุ้นและลูกค้า กระบวนการบริหารอะไรที่เป็นเลิศ เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ องค์กรควรจะตอบสนองลูกค้าอย่างไร วัตถุประสงค์ KPI Target โครงการ วัตถุประสงค์ KPI Target โครงการ มิติด้านการเรียนรู้และเติบโต ในการสร้างเครื่องมือวัดผลองค์กร องค์กรจะต้องมีการกำหนดวัตถุประสงค์(Objectives) การวัด (Measures) เป้า(Targets) และการริเริ่มดำเนินการ Initiative เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ ทำอย่างไรองค์กรจึงจะมีความสามารถที่จะเปลี่ยน & พัฒนาเพื่อความยั่งยืน วัตถุประสงค์ KPI Target โครงการ ที่มา : Kaplan & Norton
27
การนำ Balanced Scorecard มาใช้ในภาคราชการไทย
Balanced Scorecard (BSC) Result-Based Management (RBM) คำรับรองการปฏิบัติราชการ
28
Perspective ตามหลัก Balanced Scorecard จากระบบธุรกิจ สู่ ระบบราชการ
มุมมองด้านการเงิน มุมมองด้านลูกค้า มุมมองด้านกระบวนการภายใน มุมมองด้านการเรียนรู้และการพัฒนา ระบบราชการ มุมมองด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ มุมมองด้านคุณภาพการให้บริการ มุมมองด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ มุมมองด้านการพัฒนาองค์กร
29
การกำหนดเป้าประสงค์ จะต้องมีความเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ และประเด็นยุทธศาสตร์ ที่กำหนดไว้ เป้าประสงค์ ขอให้เขียนในลักษณะสิ่งที่ต้องการที่จะบรรลุ พิจารณาว่าอะไรคือเป้าประสงค์สุดท้ายที่ต้องการไปให้ถึง หรืออะไรคือผลลัพธ์สุดท้ายของแต่ละประเด็น ยุทธศาสตร์ พิจารณาว่าเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์สุดท้าย อะไรคือเป้าประสงค์ที่มีลักษณะเป็น Performance Driver ที่ต้องการ บรรลุเพื่อนาไปสู่เป้าประสงค์ พิจารณาให้ครบทั้ง 4 มิติ ดังนี้ 3.1 มิติด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ (Run the Business) : พิจารณาว่าผลลัพธ์ที่สาคัญจากประเด็นยุทธศาสตร์นั้นคือ อะไร อะไรเป็นเครื่องบ่งชี้ที่สาคัญว่าประเด็นยุทธศาสตร์นั้นประสบความสาเร็จ 3.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ (Serve the Customer) : พิจารณาว่าอะไรคือสิ่งที่ผู้รับบริการของประเด็น ยุทธศาสตร์ต้องการ และจะทราบได้อย่างไรว่าสามารถนาเสนอในสิ่งที่ผู้รับบริการต้องการ 3.3 มิติด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (Manage Resources): พิจารณาว่าต้องการทรัพยากร ต้องมีกระบวนการ หรือกิจกรรมใดบ้างเพื่อนาไปสู่สิ่งที่ผู้รับบริการต้องการหรือเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ 3.4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร (Capacity Building) : พิจารณาว่าจะต้องมีการพัฒนาองค์กรในด้านใดบ้างเพื่อเป็นการ เตรียมความพร้อมในการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ
30
ประเด็นยุทธศาสตร์ ประการที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ ประการที่ 2
การกำหนดเป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประการที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ ประการที่ 2 เป้าประสงค์ ข้อที่ 1 เป้าประสงค์ ข้อที่ 1 เป้าประสงค์ ข้อที่ 2 เป้าประสงค์ ข้อที่ 2 เป้าประสงค์ ข้อที่ เป้าประสงค์ ข้อที่
31
การสร้างแผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map)
ดังนั้นสามารถกล่าวสรุปได้ว่า แผนที่กลยุทธ์ หมายถึง แผนกลยุทธ์ขององค์การในระยะยาวที่มีการระบุถึงและเชื่อมโยง วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ทั้งหมดขององค์การที่ต้องการจะให้เกิดขึ้นภายใต้มุมมองต่างๆ ของ Balanced Scorecard อย่างเป็นระบบ ในการสร้างแผนที่กลยุทธ์เพื่อให้องค์การใช้เป็นแผนที่ชิทิศทางการบริหารการจัดการเชิงกลยุทธ์ขององค์การ จะมีหลักการที่ สาคัญหลายประการ คือ 1.ทุกมิติจะต้องระบุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่ต้องการจะให้เกิดขึ้นให้ชัดเจน 2.จะต้องให้กลยุทธ์มีความสมดุลหรือสอดคล้องกัน ไม่ขัดแย้งกัน 3.กลยุทธ์จะต้องอยู่บนพื้นฐานคุณค่า (value proposition) ในแต่ละมิติ 4.กลยุทธ์จะต้องมีจุดเน้น (themes) ที่ชัดเจน และเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกัน 5. จะต้องให้ความสาคัญต่อการส่งต่อกลยุทธ์ (strategic alignment) ทั้งในมิติเดียวกันและต่างมิติให้เห็นอย่างชัดเจน
32
การสร้างความเชื่อมโยงของเป้าประสงค์
นำเป้าประสงค์ในแต่ละมิติมาจัดเรียง และเชื่อมโยงความสัมพันธ์ในลักษณะเหตุและผล เป็นการสร้าง Strategy Map หรือแผนที่กลยุทธ์: แผนภาพที่แสดงให้เห็นถึงกลยุทธ์ของ องค์กรในรูปความสัมพันธ์ถึงเหตุและผล (Cause and Effective Relationship) เป็นเครื่องมือในการสื่อสารและถ่ายทอดเป้าประสงค์และทิศทางของหน่วยงานให้ชัดเจนขึ้น เพื่อเป็นการทำให้แต่ละหน่วยงานมั่นใจว่าเป้าประสงค์มีความเชื่อมโยงกันในลักษณะของ เหตุและผล อีกทั้งมีเป้าประสงค์ที่ครอบคลุมในทุกๆ มิติ อันจะนำไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ของ หน่วยงาน
33
การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
แผนที่ยุทธศาสตร์เริ่มต้นจากผลลงไปหาเหตุ แผนที่ยุทธศาสตร์ขององค์กรอาจมีหลายแผนที่สำหรับแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ โดยประเด็นยุทธศาสตร์นั้นแตกต่างกันอย่างชัดเจนหรือมีเพียงหนึ่งแผนที่ โดยในแผนที่นั้นมีหลายประเด็นยุทธศาสตร์อยู่ภายใน ส่วนใหญ่จะเป็นประเด็นยุทธศาสตร์ที่เชื่อมโยงกัน แผนที่ยุทธศาสตร์ใช้เส้นเชื่อมโยงเพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเป้าประสงค์ในลักษณะเหตุและผล เป้าประสงค์ที่อยู่ปลายลูกศร คือ เป้าประสงค์ในส่วนที่เป็นผล
34
การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ (STRATEGY MAP)
การยืนยันวิสัยทัศน์ (Vision) เป็นการยืนยันทิศทางการพัฒนาที่หน่วยงานต้องการจะเป็นในอนาคต ช่วยให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน ระหว่างผู้บริหารกับบุคลากรทุกระดับที่เกี่ยวข้อง การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategy Map) หมายถึงสิ่งที่ต้องคำนึงถึงเป็นประเด็นหลัก ประเด็นที่ต้องพัฒนาในการนำไปสู่วิสัยทัศน์ ไม่ควรมีจำนวนมากเกินไป การกำหนดเป้าประสงค์ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ ควรเริ่มต้นด้วยคำถามในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ ว่าต้องการอะไรเป็นผลลัพธ์สุดท้ายในประเด็นยุทธศาสตร์นั้น STRATEGY MAP ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ 1. ยืนยันวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน 2. ยืนยันประเด็นยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน 3. กำหนดเป้าประสงค์ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์
36
รูปแบบการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประสิทธิ ผล เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ คุณภาพการให้บริการ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ ประสิทธิ ภาพ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ พัฒนา องค์กร เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์
37
ภายนอก ภายใน ประสิทธิผล Financial Perspective
คุณภาพการบริการ Customer Perspective ระดับความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง ระดับความสำเร็จตามพันธะกิจหรือภารกิจหลักของจังหวัด ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ระดับความสำเร็จของการมีส่วนร่วมของประชาชน ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ ภายนอก ประสิทธิภาพ Internal work process Perspective พัฒนาองค์กร Learning and Growth Perspective ระดับความสำเร็จในการปรับปรุงกระบวนการทำงาน ประสิทธิภาพการบริหารการเบิกจ่ายงบประมาณ การประหยัดพลังงาน การพัฒนาทุนมนุษย์ การพัฒนาทุนความรู้ทางด้านสาระสนเทศ การพัฒนาทุนองค์การ การพัฒนากฎหมาย ภายใน
38
ผังกลยุทธ์ย่อย มิติ วัตถุประสงค์ Objectives ตัวชี้วัด Measures or KPI
ข้อมูลฐาน Baseline Data เป้าหมาย Target สิ่งที่จะทำ Initiatives ประสิทธิผล คุณภาพการให้บริการ ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์การ
39
Measurement – essential concept?
‘When you can measure what you are speaking about, and express it in numbers, you know something about it; but when you cannot measure it, when you cannot express it in numbers, your knowledge is of a meager and unsatisfactory kind’ Lord Kelvin (1870) ‘You cannot manage what you cannot measure’ Anon Why measure? To determine how effectively and efficiently the process or service satisfies the customer. To identify improvement opportunities. To make decisions based on FACT and DATA If you can’t measure, you can’t managed If you can’t measure, you can’t improved What gets measure, gets done
40
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก
วัดความก้าวหน้าของการบรรลุปัจจัยแห่งความสำเร็จ หรือผลสัมฤทธิ์ขององค์กร โดยการวัดผลการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นจริง เทียบกับมาตรฐานหรือเป้าหมายที่ตกลงกันไว้ ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลักที่ดีต้องมีความถูกต้องเหมาะสม และสามารถโน้มน้าวให้ทุกคนในองค์กรและผู้มีส่วนได้เสียประโยชน์ตลอดจนสาธารณชนเชื่อถือผลงานที่วัดจากตัวชี้วัดเหล่านี้ เป็นปัจจัยในด้านผลลัพธ์ หรือผลผลิต ใช้วัดผลสำเร็จของงานที่เป็นรูปธรรม นับได้ วัดได้ กำหนดร่วมกันระหว่างผู้บริหารองค์กร หัวหน้าในสายงานและพนักงาน กำหนดขึ้นจากหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก (Key Activities) ประกาศให้พนักงานทุกคนทราบและกำหนดไว้ในแบบฟอร์มประเมินผลงาน
41
การกำหนดตัวชี้วัด (Key Performance Indicators)
เป้าประสงค์ --- สิ่งที่จะวัด / จะวัดอะไร / What to measure? ตัวชี้วัด --- จะวัดอย่างไร / How to measure? ภายใต้เป้าประสงค์แต่ละประการ อะไรคือตัวชี้วัดที่จะบอกได้ว่าสามารถบรรลุ เป้าประสงค์ดังกล่าว ตัวชี้วัด สามารถพิจารณาได้ ในแง่ ปริมาณ / คุณภาพ / ต้นทุน / เวลา
42
ตัวชี้วัด Measure สิ่งที่ควรคำนึงถึง - What to measure?
จะวัด...อะไร = สิ่งที่จะวัด อะไร - เพื่อ... ความพึงพอใจของลูกค้า How to measure? จะวัด...อย่างไร = ตัวชี้วัด อย่างไร - KPI อัตราเปอร์เซ็นต์ของความพึงพอใจ
43
ตัวชี้วัด Measure ด้านการบริการ เป็นดัชนีวัดผลการดำเนินงาน
เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของการจัดทำ BSC ด้านการบริการ อะไร - เพื่อ... ความพึงพอใจของลูกค้า อย่างไร - KPI อัตราเปอร์เซ็นต์ของความพึงพอใจ
44
สิ่งที่จะวัด ตัวชี้วัด
What to measure ความอ้วนของเรา สุขภาพของเรา การไปทำงานทันเวลา หน้าที่ทางการงาน ตัวชี้วัด How to measure น้ำหนัก จำนวนครั้งของความเจ็บป่วยต่อเดือน จำนวนครั้งที่ไปทำงานสาย จำนวนผู้ใต้บังคับบัญชา
45
ตัวอย่างประเด็นในการพิจารณา ตัวอย่างตัวชี้วัดที่เป็นไปได้
ตัวอย่าง “จะวัดอะไร ถึงรู้ได้ว่ามีการปรับปรุง” ได้รับบริการที่สะดวกรวดเร็ว คือ ไม่ต้องเข้าคิวรอนาน และมีหน้าเคาน์เตอร์ที่บริการด้วยความรวดเร็ว ตัวอย่างประเด็นในการพิจารณา ตัวอย่างตัวชี้วัดที่เป็นไปได้ ความเกี่ยวข้องกับความต้องการของลูกค้า ความถูกต้องของข้อมูล ความยากง่ายในการเก็บข้อมูล ค่าใช้จ่ายในการเก็บข้อมูล ระยะเวลาเฉลี่ยที่คอยในคิว ระยะเวลาเฉลี่ยในการให้บริการ ระยะเวลารวมเฉลี่ยตั้งแต่เข้าสู่ระบบจนได้รับบริการแล้วเสร็จ จำนวนผู้รับบริการเฉลี่ยในคิว ระยะเวลาเฉลี่ยในการทำงานแต่ละ Transaction ปริมาณ Transaction เฉลี่ยที่ทำได้/คน/ชั่วโมง จำนวนขั้นตอนที่ให้บริการ จำนวนเคาน์เตอร์ที่เปิดให้บริการ
46
มิติหรือความเกี่ยวข้องของตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยนำเข้า (Input) และ ผลผลิต (Output) เป็นตัวชี้วัด ซึ่งสะท้อน ประสิทธิภาพของการดำเนินการ เช่น “สัดส่วนสถานประกอบการ ที่ให้ความคุ้มครองซึ่งมีลูกจ้างต่ำกว่า 10 คน เมื่อเทียบกับสถานประกอบการ ทั้งหมด” ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องการกระบวนการทำงาน (Process) เป็นตัวชี้วัด ซึ่งแสดงถึง ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ เช่น “การมีส่วนร่วม”, “การประชุม คณะทำงาน”, “การนิเทศติดตามงาน” ตัวชี้วัดที่เกี่ยวกับผลการดำเนินงาน (Product/Outcome) เป็นตัวชี้วัดที่สะท้อน วัตถุประสงค์ของการดำเนินงานว่าบรรลุหรือไม่ เช่น ความรู้ของผู้ผ่านการ อบรม ความพึงพอใจของผู้รับบริการ
47
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดเหตุ-ผล (Lead- Lag)
ตัวชี้วัดเหตุ (Leading Indicators) ประเมินสิ่งที่องค์กรทำตามโครงการให้เกิดผลที่ต้องการ เชื่อมกับยุทธศาสตร์(ผ่านแผนงาน)ที่สำคัญ เป็นผลผลิตของการดำเนินงาน ตัวชี้วัดผล (Lagging Indicators) ประเมินผลลัพธ์(ตามวัตถุประสงค์หลักของแผนฯ) เชื่อมโยงกับ วิสัยทัศน์ พันธกิจ
48
ประเภทตัวชี้วัด เชิงประสิทธิภาพ
ตารางการทำงานสำเร็จตามแผน งานเสร็จตามวันครบกำหนด ส่งงานตามกำหนดการ งานเสร็จภายใน Cycle time เชิงประสิทธิภาพ ด้านกำหนดเวลา(Timeliness) Specification ข้อร้องเรียน คำชม ความพึงพอใจของลูกค้า ด้านคุณภาพ (Quality) ด้านความคุ้มค่าของต้นทุน (Cost-Effectiveness) จำนวนเงินที่ใช้จ่าย จำนวนคำแนะนำที่มีการปฏิบัติตาม ค่าใช้จ่ายนอกเหนืองบประมาณ ร้อยละของเงินงบประมาณที่สามารถเบิกจ่ายได้ตามเวลาที่กำหนด หน่วย/วัน จำนวนโทรศัพท์/ชั่วโมง จำนวนหน่วยที่ผลิต ปริมาณการให้บริการ จำนวนโครงการที่สำเร็จ จำนวนชิ้นงานที่ผลิตได้ จำนวนโทรศัพท์ที่รับสาย ด้านปริมาณ (Quantity) การบรรลุผลตามเป้าหมาย (ความสำเร็จโดยรวม) ด้านคุณภาพ ด้านกำหนดเวลา ด้านปริมาณ ด้านความคุ้มค่าของต้นทุน เชิงประสิทธิผล
49
การสร้างตัวชี้วัดที่มีคุณภาพ
1. มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ของกลยุทธ์/โครงการ 2. ควรแสดงถึงสิ่งที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับการปฏิบัติการ 3. ครอบคลุมทั้ง Input, Process, Output, และ Outcome ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการ 4. ต้องมีบุคคล หรือ หน่วยงานที่รับผิดชอบ 5. ควรเป็นตัวชี้วัดที่ผู้รับผิดชอบสามารถควบคุมและประเมินได้ 6. ควรเป็นตัวชี้วัดที่บุคคลทั่วไปสามารถเข้าใจได้ 7. ต้องช่วยให้ผู้บริหาร และ บุคลากรสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงได้ 8. จะต้องมีค่าเป้าหมายที่เหมาะสม 9. ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งภายในองค์กร
50
ข้อสังเกตในการกำหนดเป้าประสงค์-ตัวชี้วัด
เริ่มกำหนดจากเป้าประสงค์ ไม่ใช่จากตัวชี้วัด ให้มองภาพจากเป้าหมายในการดำเนินงานเป็นตัวตั้ง (ปริมาณ คุณภาพ ต้นทุน เวลา ฯลฯ) ไม่จำเป็นต้องกำหนดเป้าประสงค์ในทุกๆ งาน แต่ให้พิจารณา จากผลลัพธ์ / ผลผลิต / เป้าหมายในการ ดำเนินงาน ว่าจำเป็นต้องดำเนินการสิ่งใดบ้างเพื่อให้บรรลุผลดังกล่าว การพัฒนางานในปัจจุบันให้ดีขึ้น การรักษาระดับคุณภาพงาน ตัวชี้วัดต้องสะท้อนต่อเป้าประสงค์ – หากไม่มีความสอดคล้องกัน อาจต้อง ทบทวนเป้าประสงค์ กาหนดแนวทางการวัดผลใหม่ สามารถตั้งเป้าหมายและผลักดันได้ ต้องผลักดันได้ ไม่เป็นปัจจัยที่ขึ้นกับภายนอกอย่างเดียว ไม่ง่ายจนเกินไป – ไม่วัดงานก็ดีอยู่แล้ว ไม่ยากจนเกินไป – อีก 10 ปีก็ทาไม่ได้
51
ตัวอย่าง 1. สำนักงานเลขานุการกรม
เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เพิ่มความพึงพอใจผู้รับบริการ ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ การปฏิบัติงานที่รวดเร็ว ทันเวลา และถูกต้อง ร้อยละของการให้บริการเกินเวลามาตรฐาน การพัฒนาระบบในการทำงาน ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานตามแผน การดำเนินงานตามแผน ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบในการทำงาน พัฒนาบุคลากรของกรมฯ ร้อยละของบุคลากรของกรมฯที่ได้รับการพัฒนา ส่งเสริมให้บุคลากรของกรมมีระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม ร้อยละของผู้กระทำผิดวินัยเทียบกับจำนวนบุคลากรทั้งหมดของกรม การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการทำงานที่เหมาะสม จำนวนกิจกรรมที่มีการจัดเพื่อพัฒนากระบวนทัศน์ในการทำงาน ตัวอย่าง 1. สำนักงานเลขานุการกรม
52
ตัวอย่าง มิติด้านประสิทธิผล
ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด ตัวอย่าง ร้อยละที่ลดลงของจำนวนครัวเรือนยากจน ร้อยละการเพิ่มของรายได้จากการท่องเที่ยว ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการค้าชายแดน การเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรแปรรูป มิติด้านประสิทธิภาพ มิติด้านคุณภาพ ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ระดับความสำเร็จในการลดรอบระยะเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติราชการ มิติด้านการพัฒนาองค์กร ระดับความสำเร็จของการบริหารความรู้ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ ระดับความสำเร็จของการบริหารการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร
53
การกำหนดค่าเป้าหมาย (Targets)
ค่าเป้าหมาย (Targets) หมายถึง เป้าหมายใน เชิงปริมาณหรือคุณภาพ หรือทั้งสองส่วน ที่ทำให้ แยกแยะได้ว่า การปฏิบัติงานประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัด (KPIs) ที่กำหนดไว้หรือไม่ มากน้อย เพียงใด ภายในระยะเวลาที่ระบุไว้อย่างชัดเจน ข้อมูลพื้นฐาน แสดงให้เห็นถึงค่าของตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นในปีอดีต หรือ ในปีปัจจุบัน กำหนดข้อมูลพื้นฐาน เพื่อเป็นเครื่องมือในการตั้งเป้าหมาย ในตัวชี้วัดบางตัว อาจจะไม่มีข้อมูลพื้นฐาน เนื่องจากไม่เคยมีการวัดหรือเก็บข้อมูลมาก่อน ค่าเป้าหมาย เป็นค่าของตัวชี้วัดที่ต้องการที่จะบรรลุ
54
ตั้งเป้าหมายแบบไหนดี? ข้อพิจารณาในการตั้งเป้าหมาย
หาเป้าหมายได้จาก? เสกออกมาจากอากาศ เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา เปรียบเทียบกับผู้อื่น สิ่งที่ผู้อื่นคาดหวัง ความสามารถที่มีอยู่ สิ่งที่ต้องทำเพื่อบรรลุเป้าที่สูงขึ้น ตั้งเป้าหมายแบบไหนดี? Stretch Target (ท้าทาย) Small Step Target (ค่อยๆไป) Baseline Target (อิงฐานเดิม) ข้อพิจารณาในการตั้งเป้าหมาย Top – Down หรือ Bottom – Up? Rolling หรือ Fixed? Yearly หรือ Quarterly หรือ Monthly Target?
56
ระดับค่าเป้าหมาย Start 1 2 3 4 5 สำหรับการกำหนดค่าเป้าหมาย
ต่ำสุดที่รับได้ ค่าเป้าหมาย ในระดับท้าทาย มีความยากค่อนข้างมาก โอกาสสำเร็จ <50% ค่าเป้าหมายในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่มี ความยากปานกลาง ค่าเป้าหมายที่เป็น ค่ามาตรฐานโดยทั่วไป สำหรับการกำหนดค่าเป้าหมาย จะกำหนดไว้เป็นมาตรฐาน 5 ระดับ อาจเป็นลักษณะเชิงปริมาณ เชิงปริมาณที่มีเรื่องคุณภาพของงานรวมด้วย เช่น ความถูกต้อง ความรวดเร็วทันเวลา เป็นต้น ค่าเป้าหมายอาจเป็นลักษณะร้อยละ ระดับความสำเร็จ ก็ได้ตามลักษณะงาน เพื่อให้ค่าเป้าหมายมีการจำแนกการทำงานของผู้รับการประเมินได้ การตกลงค่าเป้าหมายควรที่จะมีการกำหนดงานที่สามารถทำได้เป็นระดับ 3 ไม่ควรกำหนดไว้ในระดับ 5 ระดับ 4-5เป็นระดับที่ยากที่จะทำสำเร็จได้ หรือทำได้เกินเป้าหมายที่หน่วยงานกำหนด ส่วนระดับ 1 ก็ต้องเป็นระดับผลงานที่ต่ำสุดที่หน่วยงานยอมรับได้ด้วย Start
57
ตัวชี้วัดระบบฐานข้อมูล
การกำหนดค่าเป้าหมาย การกำหนดเป้าหมายตามขั้นตอนที่สำเร็จ (Milestones) ระดับที่ 5 นำไปใช้ประโยชน์ ในการบริหารงาน ตัวชี้วัดระบบฐานข้อมูล ระดับที่ 4 มีการเชื่อมโยง ระบบฐานข้อมูล ระดับที่ 3 มีระบบฐานข้อมูล ระดับที่ 2 ดำเนินการจัดทำ แต่ยังไม่แล้วเสร็จ ระดับที่ 1 ตั้งคณะทำงาน
58
การตั้งเป้าหมาย 1. มีระเบียบ/กฎหมายกำหนดระดับของผลการปฏิบัติงานหรือไม่
ไม่มี ใช้ระดับที่กำหนดไว้ตามระเบียบ/กฎหมายเป็นเป้าหมาย 2. พอใจระดับผลการปฏิบัติงานในปัจจุบันหรือไม่ พอใจ ไม่พอใจ กำหนดเป้าหมายตามระดับผลการปฏิบัติงานในปัจจุบัน 3. จำเป็นต้องปรับปรุงผลการปฏิบัติงานโดยรีบด่วนหรือไม่ จำเป็น ไม่จำเป็น กำหนดเป้าหมายแบบท้าทาย กำหนดเป้าหมายในระดับที่สามารถบรรลุผลได้
59
การตั้งเป้าหมาย เกณฑ์การให้คะแนน ผลการประเมิน ระดับคะแนน ที่ได้รับ
มีผลการปฏิบัติราชการอยู่ในระดับดีกว่าเป้าหมายมาก เป็นเกณฑ์ท้าทายที่ส่วนราชการต้องบริหารจัดการทรัพยกรที่มีอยู่ให้ได้ผลดีกว่าปกติอย่างมากถึงจะได้คะแนนในระดับนี้ หรือเป็นผลงานที่เหนือความคาดหมาย หรือมีการเทียบกับมาตรฐาน (Benchmarking) ในระดับต่างๆ เช่น ระดับชาติ ระดับสากล หรือ Top 10 5 เป็นเกณฑ์ที่ส่วนราชการต้องบริหารจัดการทรัพยกรที่มีอยู่ให้ได้ผลดีกว่าปกติถึงจะทำสำเร็จได้ โดยผลที่ได้เกินกว่าเป้าหมายพอสมควร แต่ไม่ถึงระดับเหนือความคาดหมาย 4 มีผลการปฏิบัติราชการอยู่ในระดับเป็นไปตามเป้าหมาย เป็นเกณฑ์ที่แสดงว่าส่วนราชการสามารถปฏิบัติได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือสามารถรักษาระดับผลการดำเนินงานของปีที่ผ่านมาไว้ได้ 3 มีผลการปฏิบัติราชการอยู่ในระดับต่ำกว่าเป้าหมาย 2 มีผลการปฏิบัติราชการอยู่ในระดับต่ำกว่าเป้าหมายมาก 1
60
Measurement / KPI Template ควรจะประกอบด้วย
ชื่อตัวชี้วัด ระบุชื่อของตัวชี้วัดให้ชัดเจน หน่วยวัด ระบุหน่วยนับของข้อมูลตัวชี้วัด เช่น บาท ราย ร้อยละ เป็นต้น สูตรการวัด เป็นวิธีการคำนวณเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ของตัวชี้วัด คำอธิบาย เป็นการอธิบายเกี่ยวกับตัวชี้วัดให้ชัดเจนเพื่อให้ผู้ใช้ ตัวชี้วัดมีความเข้าใจตรงกันถึงความมุ่งหมายของตัวชี้วัดและ รายละเอียดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น วัตถุประสงค์/ที่มาของตัวชี้วัด คำ จำกัดความ/นิยาม ขอบเขตของตัวชี้วัดเป็นต้น ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด เป็นการแสดงข้อมูลย้อนหลังของ ตัวชี้วัด วิธีการเก็บข้อมูล/ วแหล่งข้อมูล ระบุว่าจะเก็บข้อมูลผลการ ปฏิบัติงานได้อย่างไร หรือจะใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลใด ผู้จัดเก็บข้อมูล เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูล ผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัด หากมีหน่วยงานผู้รับผิดชอบผลงาน มากกว่าหนึ่งแห่ง ให้กำหนดหน่วยงานจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลไว้ เป็นหน่วยงานกลาง มีหน้าที่ประสานการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูล ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด เป็นผู้รับผิดชอบผลักดันการดำเนินงานตาม ตัวชี้วัดให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ รวมทั้งมีหน้าที่ดูแลตรวจสอบ ความถูกต้องของการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูล
61
ภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลลงสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคล
วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ แผนผังเชิงยุทธศาสตร์ (Strategy Map) การประเมินผลในภาพรวมขององค์กร (Corporate Scorecard) แผนปฏิบัติการ (Action Plan) เป้าประสงค์ ค่า เป้าหมาย แผนงาน/ โครงการ Run the Business ตัวชี้วัด งบประมาณ ประสิทธิผล Serve the Customer คุณภาพ Manage Resources ประสิทธิภาพ Capacity Building พัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดระดับสำนัก/กอง ตัวชี้วัดระดับบุคคล
62
แผนที่กลยุทธ์ Strategy Map 37 62 (Initiative) วัตถุประสงค์ (Objection)
ตัวชี้วัด (KPI) ข้อมุลปัจจุบัน (Baseline Data) เป้าหมาย (Target) แผนงาน/โครงการ/กระบวนงาน (Initiative) รายได้จากลูกค้าใหม่เพิ่ม รายได้จากลูกค้าใหม่/รายได้ทั้งหมด 10% 15% การหาลูกค้าใหม่ -จำนวนลูกค้าที่เพิ่มขึ้น -ยอดขายต่อลูกค้า 1 ราย 2,000 ราย 100,000 บาท 2,500 ราย 150,000 บาท -ออก promotion ใหม่ -เพิ่มบริการที่หลากหลาย การบริการที่ดี -อัตราการร้องเรียนจากลูกค้า -ความรวดเร็วในการให้บริการ ไม่เกน 20% ไม่เกิน 1 ชั่วโมง ไม่เกิน 15% ไม่เกิน 50 นาที -นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการให้บริการ -จัดทำระบบฐานข้อมูลลูกค้า การจัดส่งที่รวดเร็ว ร้อยละของการส่งของที่ไม่ตรงเวลา ไม่เกิน 20% -นำระบบ Bar-code มาใช้ การพัฒนาทักษะของพนักงาน -จำนวนวันในการอบรมต่อปี -อัตราการเข้าออก 7 วัน 10 วัน -จัดทำแผนงานอบรมอย่างต่อเนื่อง - จัดกิจกรรมพนักงานสัมพันธ์ การเพิ่มขึ้นของรายได้ รายได้จากลูกค้าใหม่เพิ่ม การแสวงหาลูกค้าใหม่ การบริการที่ดี ราคาเหมาะสม กระบวนการจัดส่งที่รวดเร็ว กระบวนการ ผลิตที่ดี ทักษะของพนักงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ 62 37
63
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการระดับกระทรวง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
ประเด็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผล 2558 น้ำหนัก (%) มิติภายนอก 75 การประเมินประสิทธิผล (65) ตัวชี้วัดภารกิจหลักของกระทรวงตามแนวทางการ ขับเคลื่อนประเทศ /แผนยุทธศาสตร์กระทรวง และ ตัวชี้วัดระหว่างกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPIs) (65) การประเมินคุณภาพ (10) 2. คุณภาพการให้บริการประชาชน (Service Level Agreement: SLA) หมายเหตุ หากกระทรวงไม่มีตัวชี้วัดนี้ให้นำน้ำหนักไปไว้ที่ตัวชี้วัดที่ 1 (10) มิติภายใน 25 การประเมินประสิทธิภาพ (15) 3. การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (5) 4. การประหยัดพลังงาน 5. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบสารสนเทศภาครัฐ การพัฒนาองค์การ (10) 6. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (ทุนมนุษย์ สารสนเทศ และวัฒนธรรมองค์การ) 7. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงาน รวม 100 ระดับ กระทรวง
64
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการระดับ กระทรวง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการระดับกรมปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ประเด็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผล 2558 น้ำหนัก (%) มิติภายนอก 75 การประเมินประสิทธิผล (65) ตัวชี้วัดภารกิจหลักของกระทรวงตามแนวทางการ ขับเคลื่อนประเทศ/แผนยุทธศาสตร์กระทรวง และ ตัวชี้วัดระหว่างกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPIs) (65) การประเมินคุณภาพ (10) 2. คุณภาพการให้บริการประชาชน (Service Level Agreement: SLA) หมายเหตุ หากกระทรวงไม่มีตัวชี้วัดนี้ให้นำน้ำหนักไปไว้ที่ ตัวชี้วัดที่ 1 (10) มิติภายใน 25 การประเมินประสิทธิภาพ (15) 3. การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (5) 4. การประหยัดพลังงาน 5. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบสารสนเทศภาครัฐ การพัฒนาองค์การ (10) 6. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (ทุนมนุษย์ สารสนเทศ และวัฒนธรรมองค์การ) 7. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงาน รวม 100 ประเด็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผล 2558 น้ำหนัก (%) มิติภายนอก 75 การประเมินประสิทธิผล (65) ตัวชี้วัดภารกิจหลักของกระทรวงตามแนวทางการ ขับเคลื่อนประเทศ/แผนยุทธศาสตร์กรม/ ตัวชี้วัดระหว่างกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPIs) และ ตัวชี้วัดภารกิจหลักของกรม (65) การประเมินคุณภาพ (10) 2. คุณภาพการให้บริการประชาชน (Service Level Agreement: SLA) หมายเหตุ หากกระทรวงไม่มีตัวชี้วัดนี้ให้นำน้ำหนักไปไว้ที่ ตัวชี้วัดที่ 1 (10) มิติภายใน 25 การประเมินประสิทธิภาพ (15) 3. การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (5) 4. การประหยัดพลังงาน 5. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบสารสนเทศภาครัฐ การพัฒนาองค์การ (10) 6. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (ทุนมนุษย์ สารสนเทศ และวัฒนธรรมองค์การ) 7. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงาน รวม 100
65
การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
พิจารณาปัจจัยต่างๆ ที่ต้องคำนึงถึงในการแปลงยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ อาทิ บุคลากร ระบบ ข้อมูล วัฒนธรรม โครงการ ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์และโครงการ การทำให้ยุทธศาสตร์สัมฤทธิ์ผลผ่านทางโครงการต่างๆ การจัดทำข้อเสนอโครงการ เพื่อให้การคิดโครงการต่างๆ เป็นไปอย่างละเอียด ถี่ถ้วน รอบคอบ การคัดเลือกโครงการ (Proj. Screening) เพื่อคัดเลือกโครงการที่ส่งผลกระทบต่อยุทธศาสตร์โดยตรง เพื่อติดตามความคืบหน้าในการดำเนินตามโครงการ เพื่อให้ สามารถปรับตัวและแก้ไขปัญหาได้ทันต่อเหตุการณ์ การติดตามโครงการ (Proj. Monitoring) เพื่อประเมินว่าโครงการนำไปสู่ Output / Outcome ที่ต้องการ และบรรลุผลตามยุทธศาสตร์หรือไม่ การประเมินผลโครงการ (Proj. Evaluation) การบริหารโครงการให้ประสบผลสำเร็จย่อมนำไปสู่การเพิ่มความสามารถในการแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
66
ความสอดคล้องระหว่าง โครงการ กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ และ วิสัยทัศน์
67
วงจรการบริหารโครงการ
นโยบาย (POLICY) กลุ่มของโครงการตั้งแต่ 2 โครงการขึ้นไป ที่มุ่งบรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย ที่ใกล้เคียงกันเพื่อสนองนโยบายเดียวกัน แผน (PLAN) แผน (PLAN) แผนงาน(PROGRAM) แผนงาน(PROGRAM) โครงการ (PROJECT) โครงการ (PROJECT) โครงการ (Project) โครงการ (Project) งาน / กิจกรรม งาน / กิจกรรม งาน / กิจกรรม งาน / กิจกรรม งาน / กิจกรรม งาน / กิจกรรม งาน / กิจกรรม งาน / กิจกรรม หน่วยของแผนงานหรือกลุ่มของกิจกรรม ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน เพื่อบรรลุ จุดมุ่งหมาย หรือเป้าหมายที่กำหนดไว้ มีลักษณะเด่น คือ มีระยะเวลาเริ่มต้น และสิ้นสุดของแผน
68
โครงการ แผนงานย่อยที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลายกิจกรรม หรืองานหลายงานที่ระบุรายละเอียดชัดเจน อาทิ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ระยะเวลาดำเนินการ วิธีการหรือขั้นตอนในการดำเนินงาน พื้นที่ในการดำเนินงาน งบประมาณที่ใช้ในการดำเนินงานตลอดจนผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ แผนงานที่ปราศจากโครงการย่อมเป็นแผนงานที่ไม่สมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมได้ ดังนั้นการเขียนโครงการขึ้นมารองรับแผนงาน ย่อมเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นยิ่งเพราะจะทำให้ง่ายในการปฏิบัติ และง่ายต่อการติดตามและประเมินผลเพราะถ้าโครงการบรรลุผลสำเร็จ นั้นหมายความว่า แผนงาน และนโยบายนั้นบรรลุผลสำเร็จด้วย โครงการ ( Project ) ไม่ใช่แผนงบประมาณ เพื่อตอบสนองต่อ งานประจํา ซึ่ง งานประจํา จะทําแผนดําเนินการในรูปแบบของการ เสนอของบประมาณประจําปี ในหมวดบุคลากร ครุภัณฑ์ วัสดุ ซึ่ง หากมีหมวดกิจกรรม ที่ตอบสนองต่อพันธกิจที่รับผิดชอบหรือ ยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน เพื่อขออนุมัติงบสนับสนุน ลักษณะเช่นนี้ จึงเป็นกรณีที่ต้องเขียนเป็นโครงการ
69
ลักษณะสำคัญของโครงการ
ประกอบด้วยกิจกรรมย่อยๆที่เกี่ยวข้องพึ่งพิงและสอดคล้องกันภายใต้วัตถุประสงค์เดียวกัน มีการกำหนดวัตถุประสงค์ ( Objective )ที่ชัดเจน วัดได้ และปฏิบัติได้ มีการกำหนดจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของกิจกรรม ( Scheduled Beginning and Terminal Points ) มีสถานที่ตั้ง ( Location ) ของโครงการ มีบุคลากรหรือองค์กรที่เฉพาะเจาะจง( Organization ) มีการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ ( Resource )
70
วงจรโครงการ ๑) การระบุโครงการ ๒) การศึกษาและการจัดเตรียมโครงการ
๓) การควบคุมตรวจสอบโครงการ ๔) การตัดสินใจเลือกโครงการ ๕) การนำโครงการไปปฏิบัติ ๖) การประเมินโครงการ
71
การจัดทำข้อเสนอโครงการ
นำเสนอข้อมูลอย่างละเอียดเกี่ยวกับโครงการในด้านต่างๆ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการดำเนินงานตามโครงการ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องในการประเมินโครงการในด้านต่างๆ เพื่ออนุมัติโครงการ และงบประมาณ พร้อมทั้งเป็นเครื่องมือในการจัดลำดับความสำคัญของโครงการต่างๆ การคิดและวางแผนเกี่ยวกับโครงการในภาพรวม รวมทั้งส่วนประกอบทุกๆ ส่วนที่สำคัญใน การดำเนินงานตามโครงการ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ถึงแนวทางและวิธีการในการดำเนินโครงการสู่ผลลัพธ์/ ผลผลิต ที่ตั้งไว้ รวมทั้งบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของกลุ่มบุคคล/ บุคคล ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นเครื่องมือสำหรับผู้ดูแลโครงการในการติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานตาม โครงการ
72
ปัญหาที่มักพบเกี่ยวกับการบริหารโครงการ
โครงการไม่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ โครงการและยุทธศาสตร์ยังเป็นชิ้นเป็น ส่วน (ขนมชั้น) ขาดการบูรณาการซึ่งกัน และกัน และระหว่างโครงการด้วยกัน ไม่ได้คิดโครงการอย่างรอบคอบ ถี่ถ้วน ในทุก มุมมอง (คิดให้ทะลุ) ขาดระบบในการติดตามการดำเนินโครงการที่ดี ขาดความเอาใจใส่จากผู้บริหารระดับสูง อย่าง ต่อเนื่อง การดำเนินโครงการไม่ได้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล การคิด วางแผน เกี่ยวกับโครงการ ที่ดีและเหมาะสม มีการวิเคราะห์ และคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ ที่จะเกี่ยวข้องกับโครงการ มองความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และปัจจัยต่างๆ ให้กระจ่าง
73
องค์ประกอบของข้อเสนอโครงการ
1. ชื่อโครงการ/ ความเชื่อมโยงระหว่าง ยุทธศาสตร์กับโครงการ 2. ความสำคัญของโครงการ/ หลักการและ เหตุผล 3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 4. ขอบเขตของโครงการ 5. ผลผลิต/ ผลลัพธ์ของโครงการ 6. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ 7. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ 8. ผู้รับผิดชอบ 9. ทรัพยากรที่ต้องใช้ 10. งบประมาณ และประมาณการกระแสเงินสด 11. ผู้เกี่ยวข้องกับโครงการ 12. ประโยชน์ที่จะได้รับ 13. โครงการอื่นที่เกี่ยวข้อง 14. ความเสี่ยงที่สำคัญ และแนวทางในการลด ความเสี่ยง
74
องค์ประกอบของข้อเสนอโครงการ
ชื่อโครงการ ความสำคัญของโครงการ/หลักการและเหตุผล โครงการนี้มีความสำคัญอย่างไร? ทำไมถึงต้องมีการดำเนินการตามโครงการนี้? วัตถุประสงค์ของโครงการ โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร? ขอบเขตของโครงการ ขอบเขตของโครงการนี้เป็นอย่างไร? • การพิจารณาขอบเขตของโครงการ สามารถใช้เกณฑ์ ตามหลักภูมิศาสตร์ หรือ กลุ่มผู้รับบริการ มาเป็นตัวกรอบกำหนดได้ ผลผลิต และผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต อะไรคือ สิ่งที่จะได้รับเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ? อะไรคือ ผลงานที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรมของโครงการโดยตรง? ผลลัพธ์ อะไรคือผลลัพธ์หรือประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นจากการนำผลผลิตจากโครงการไปใช้ให้เกิดประโยชน์? ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ จะวัดความสำเร็จของโครงการได้อย่างไร? โดยพิจารณาจากผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ เป้าหมายของตัวชี้วัดความสำเร็จเท่ากับเท่าใด? ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ โครงการนี้มีความเชื่อมโยงและสัมพันธ์กับยุทธศาสตร์เป้าประสงค์ใด ความพร้อมของโครงการ 1. ความพร้อมของพื้นที่ดำเนินการ / 2. ความพร้อมของรูปแบบรายการ / 3. ความพร้อมของการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม/ 4. ความพร้อมของบุคลากร เครื่องมือ และเทคนิค/ 5. การศึกษาโครงการเบื้องต้น
75
องค์ประกอบของข้อเสนอโครงการ (ต่อ)
ผู้รับผิดชอบ ใครคือผู้เกี่ยวข้อง รับผิดชอบ ต่อความสำเร็จของโครงการ และอะไรคือบทบาทของ บุคคลเหล่านี้? ที่ปรึกษาโครงการ – เป็นผู้ที่มีหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินโครงการ ทำ หน้าที่เป็นที่ปรึกษาให้กับหัวหน้าโครงการในด้านต่างๆ ส่วนใหญ่มักจะเป็นผู้บังคับบัญชาระดับสูง หัวหน้าโครงการ – เป็นผู้ที่รับผิดชอบหลักในการบริหารโครงการให้ประสบ ความสำเร็จ เจ้าหน้าที่โครงการ – เป็นคณะทำงานในการขับเคลื่อนในการดำเนินโครงการประสบความสำเร็จ โดยอยู่ภายใต้การดูแลของหัวหน้าโครงการ ทรัพยากรที่ต้องใช้ นอกเหนือจากงบประมาณแล้ว อะไรคือทรัพยากรในด้านอื่นๆ ที่จะต้องใช้สำหรับการดำเนินโครงการ และจะเสาะแสวงหาทรัพยากรเหล่านั้นมาจากแหล่งไหน? โดย ทรัพยากรทางด้านอื่นอาจจะประกอบไปด้วย o ทรัพยากรบุคคล o ข้อมูลข่าวสาร o ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ o ระบบกายภาพ เช่น อาคาร สถานที่ อุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ งบประมาณ งบประมาณสำหรับการดำเนินโครงการเป็นเท่าใด? และจะมาจากแหล่งไหน? • นอกเหนือจากงบประมาณสำหรับการเริ่มและการดำเนินงานโครงการแล้ว ควรจะต้องระบุงบประมาณที่จะเกิดขึ้นภายหลังการดำเนินโครงการด้วย เนื่องจากงบประมาณในส่วนนี้จะเกิดขึ้นเมื่อโครงการจบสิ้นลง และจะต้องมีการตั้ง งบประมาณไว้
76
องค์ประกอบของข้อเสนอโครงการ (ต่อ)
ผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการนี้(stakeholders) หรือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการนี้ กลุ่มบุคคล หรือ บุคคลใดบ้างที่จะมีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ? ทั้งในด้านการส่งผลต่อ ความสำเร็จของโครงการ และการได้รับผลกระทบจากโครงการ โครงการที่เกี่ยวข้อง โครงการนี้มีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับโครงการใดอีกบ้าง? โดยอาจจะอยู่ในรูปที่ต้องพึ่งโครงการนี้ หรือ ที่โครงการนี้ต้องพึ่ง หรือ จะต้องดำเนินการควบคู่กัน? (โครงการต้นน้ำ โครงการที่ต้องดำเนินการร่วมกัน และโครงการปลายน้ำ) โดยควรจะอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแต่ละโครงการด้วย ความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกับโครงการอื่น อาจจะอยู่ในรูปของความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล การทำงาน บุคลากร เทคโนโลยี งบประมาณ ความเสี่ยง อะไรคือความเสี่ยงที่สำคัญที่จะทำให้โครงการนี้ไม่ประสบความสำเร็จ และอะไรคือแนวทางในการลดหรือบรรเทาความเสี่ยงดังกล่าว? ระยะเวลา และกิจกรรมที่สำคัญของโครงการ อะไรคือกิจกรรมที่สำคัญของโครงการ และระยะเวลาที่ต้องใช้(นำเสนอรูปแบบของ Gantt chart)
77
ชื่อโครงการ (Project title)
ชื่อโครงการสำคัญที่สุด ต้องสื่อให้เข้าใจได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน ความหมายเหมาะสมกับลักษณะโครงการ เป็นวลี ที่มีคําสําคัญเท่านั้น สอดคล้องกับเนื้อหาภายในโครงการ ตัวอย่าง : โครงการพัฒนาอาจารย์สู่การเรียนการสอนยุค IT โครงการเพิ่มศักยภาพการออกข้อสอบแบบ interactive
78
หลักการและเหตุผล เพื่อเป็นภาพรวมของโครงการ ที่แสดงถึง
ทำไมต้องมีโครงการนี้ โครงการนี้ ให้ประโยชน์อะไรแก่องค์กร ความเชื่อมโยงต่างๆต่อพันธกิจหลักขององค์กร เหตุผลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (ไม่เกี่ยวข้อง ไม่ต้องเขียน)
79
วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อแสดงวิธีการและคุณค่าของผลลัพธ์ที่จะได้จาก โครงการ วลี ประกอบด้วย 3 ส่วนประกอบ ( How – What - How good ) คำที่แสดงวิธีการ เช่น สนับสนุน พัฒนา อบรม เพิ่ม ศักยภาพ คำที่แสดงปัจจัยที่ต้องการให้เกิดผล เช่น บุคคล วิธีการ ระบบ สิ่งของ กระบวนการ คำที่แสดงถึงคุณค่าของวิธีการที่กระทำต่อปัจจัย เช่น อย่างมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ ดีเลิศ ขั้นสูง ระดับสากล ชั้นเลิศ S = Specific (เฉพาะเจาะจง ชัดเจน) M = Measurable (สามารถวัดได้) A = Attainable (ระบุสิ่งที่ต้องการ) R = Reasonable (สมเหตุสมผล) T = Time (อยู่ภายใต้ขอบเขตระยะเวลาที่เหมาะสม) ตัวอย่าง : เพื่อพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศด้านความปลอดภัยของข้อมูล ให้มีประสิทธิภาพสูง ( How – What - How good )
80
ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ
ผลผลิต (Outputs) เป็นผลจากการดำเนินการ แต่ละขั้นตอนที่สามารถพิจารณามาตรฐานเทียบเคียงได้/ และหรือของงาน (ผลผลิต) ทั้งสิ้น (Outputs) และปักเป็น เชิงปริมาณ ผลลัพธ์ (Outcomes) เป็นผลจากการดำเนินการ แต่ละขั้นตอนในระดับคุณภาพ ผลลัพธ์ของโครงการ ควรแสดงให้ชัดเจน ตามลำดับความสำคัญ และสอดคล้องกับชื่อโครงการ สัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ และ งบประมาณ (ผู้อนุมัติโครงการจะได้ทราบได้รวดเร็ว ควรทบทวนก่อนส่งขออนุมัติ จะถูกรวบรวมเป็นภาพรวมของทุกโครงการ
81
ตัวอย่างของ Gant Chart เพื่อระบุถึง Action Plan ของแต่ละ โครงการ
โครงการ: เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์:________________________________ Key Result Area:_______________________________________________ ความสำเร็จของโครงการสามารถวัดผลได้จาก (KPI) _________ Target:___________________ Expected Completion Date:______________ หน่วยงานที่ด้องรับผิดชอบ:___________________ ขั้นตอน เวลาที่จะใช้ในการปฏิบัติของแต่ละขั้นตอน จากเริ่มต้นจนเสร็จสมบูรณ์ ค่าใช้จ่าย กำหนดคณะทำงาน ตรวจสอบกระบวนการและกำหนดมาตรฐานของ Workflow วิเคราะห์หาจุดบกพร่อง กำหนดหาวิธีแก้ไข นำวิธีการไปปฏิบัติ ควบคุมคุณภาพการปฏิบัติการ รับประกันคุณภาพการบริการ 1 วัน 1 สัปดาห์ 1 สัปดาห์ 2 วัน 1 สัปดาห์ 1 เดือน
82
ปัญหาที่พบจากการเขียนโครงการ
เขียนวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของโครงการไม่ชัดเจน ขาดความชัดเจนในกิจกรรมที่จะดำเนินการ เขียนวิธีการวัดและประเมินผลไม่ชัดเจน เขียนตัวชี้วัดไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
83
กรอบความคิดเรื่องการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
RESULTS วัตถุประสงค์ OBJECTIVES ปัจจัยนำเข้า INPUTS กิจกรรม PROCESSES ผลผลิต OUTPUTS ผลลัพธ์ OUTCOMES ความประหยัด ความมีประสิทธิภาพ ความมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณทรัพยากรที่ใช้กับปริมาณผลผลิตที่เกิดจากกิจกรรมหรือโครงการ ประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ความสัมพันธ์ของผลลัพธ์ของการกับเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
84
วัตถุประสงค์ “การประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการ” ผลสัมฤทธิ์ ประหยัด ปริมาณ
Economy ปริมาณ Quantity Inputs คุณภาพ Quality Processes ประสิทธิภาพ Efficiency ระยะเวลา Time Outputs ผลสัมฤทธิ์ ประสิทธิผล Effectiveness ค่าใช้จ่าย Cost Outcomes
85
การเขียนโครงการกับคำถาม 6W+3H
w1 - What “ โครงการนี้ จะทำอะไร? ” - วัตถุประสงค์โครงการ w2 - Why “ ทำโครงการนี้ทำไม ” - หลักการและเหตุผล w3 - When “ ทำเมื่อไหร่ ” - ระยะเวลาดำเนินการ w4 - Where “ ทำที่ไหน ” - สถานที่ดำเนินการ w5 - Who “ ใครทำ ” - ผู้รับผิดชอบโครงการ w6 - Whom “ใครเป็นผู้ได้รับประโยชน์” - ผลที่คาดว่าจะได้รับ H1 - How “จะดำเนินโครงการอย่างไร” - วิธีการดำเนินงาน H2 - How many “ทำเท่าไร” - กำหนดเป้าหมาย H3 - How Much “ใช้เงินเท่าไร” - งบประมาณ
86
เครื่องมือในการวิเคราะห์และออกแบบโครงการ
87
การวางแผนกลยุทธ์เพื่อบรรลุผลสัมฤทธิ์ขององค์กร
วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ แผนปฏิบัติการ แผนงาน โครงการ ประเมินผล SWOT Analysis ตัวชี้วัด กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ ยุทธศาสตร์ งานประจำ ปฏิบัติจริง ผลสัมฤทธิ์ 4 มิติ(customer,internal process,Learning&Growth,Finance Internal&External Balanced scorecard Monitoring Six sigma Benchmarking
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.