ISO/TS 16949:2002 QMS-Introduction 1.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ISO/TS 16949:2002 QMS-Introduction 1."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ISO/TS 16949:2002 QMS-Introduction 1

2 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ISO/TS 16949 : 2002
คุณภาพ ( Quality ) คือ อะไร องค์ประกอบ และคุณลักษณะทั้งหมดของสินค้าหรือบริการที่สนับสนุน ความสามารถในการตอบสนองความต้องการต่างๆ ของลูกค้า ราคาเหมาะสม ทนทานในการใช้งาน ส่งมอบตรงเวลา มีความสม่ำเสมอ ความพึงพอใจ ของลูกค้า ตรงตาม Spec. ปลอดภัยในการใช้งาน 2

3 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ISO/TS 16949 : 2002
ความพึงพอใจของลูกค้า ไม่ใช่หน้าที่ของใครคนใดคนหนึ่ง ทุกคนในบริษัทมีส่วนเกี่ยวข้องกับ ความพึงพอใจของลูกค้า วางแผน การตลาด จัดซื้อ ความพึงพอใจ จัดส่ง สโตร์ ของลูกค้า QC ผลิต ซ่อมบำรุง 3

4 จิตสำนึกในการทำงาน (AWARENESS)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ISO/TS : 2002 จิตสำนึกในการทำงาน (AWARENESS) การทำงานด้วยความรับผิดชอบ โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ของบริษัท ความพึงพอใจของลูกค้า ความมุ่งมั่นของผู้บริหาร การมีส่วนร่วมของพนักงาน AWARENESS กฎระเบียบ ข้อบังคับ การสร้างแรงจูงใจ 4

5 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ISO/TS 16949 : 2002
แนวทางปฏิบัติของอุตสาหกรรมยานยนต์ มาจัดทำเป็นมาตรฐาน ระบบบริหารคุณภาพ เพื่อประยุกต์ใช้กับองค์กรที่ผลิตชิ้นส่วน ยานยนต์และชิ้นส่วนบริการ ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization TS ย่อมาจาก Technical Specification 16949 เป็นลำดับที่ของมาตรฐาน 2002 คือ Version ล่าสุด เริ่มใช้ 1/3/2002 5

6 International Automotive Task Force (IATF)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ISO/TS : 2002 International Automotive Task Force (IATF) Japan Automobile Manufacturers Association (JAMA) Technical Committee / TC 176 From ISO UK USA Germany Italy France SMMT IAOB VDA ANFIA FIEV Certify Body (CB) – SGS , BVQI , TUV , URS . . . Organization 6

7 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ISO/TS 16949 : 2002
ประโยชน์ที่ได้จากการจัดทำ ISO/TS : 2002 Certify ลูกค้าเชื่อมั่นในบริษัท และตัวสินค้า/บริการมากขึ้น สามารถแข่งขันกับคู่แข่งทางการค้าได้ และเพิ่มยอด การขายสินค้า เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ลดความซ้ำซ้อนต่างๆ ลดของเสีย ต้นทุนการผลิต และข้อร้องเรียนจากลูกค้า 7

8 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ISO/TS 16949 : 2002
ประโยชน์ที่ได้จากการจัดทำ (ต่อ) สามารถแก้ไข และป้องกันปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยพัฒนาความรู้ความสามารถของพนักงาน และผู้ขาย มีการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง 8

9 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ISO/TS 16949 : 2002
ขั้นตอนการจัดทำ D P C A Plan วางแผน ประเมินสภาพขององค์กรเบื้องต้น วางแผนการจัดทำระบบ อบรมข้อกำหนด ISO/TS : 2002 Do ปฏิบัติ จัดทำเอกสารในระบบคุณภาพ ดำเนินการตามเอกสารในระบบคุณภาพ 9

10 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ISO/TS 16949 : 2002
ขั้นตอนการจัดทำ (ต่อ) Check ตรวจสอบ อบรมขั้นตอนการตรวจติดตามคุณภาพภายใน ดำเนินการตรวจติดตามคุณภาพภายใน Action แก้ไข แก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดจากการตรวจติดตาม ตรวจสอบระบบโดยผู้ให้การรับรอง(CB) 10

11 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ISO/TS 16949 : 2002
หน้าที่รับผิดชอบของ QMR QMR = Quality Management Representative ตัวแทนฝ่ายบริหารด้านคุณภาพ ระบบคุณภาพได้มีการจัดทำ นำไปปฏิบัติ และดำรงไว้ รายงานผลให้ผู้บริหารทราบ รวมถึงความจำเป็นในการปรับปรุง ส่งเสริมให้พนักงานตระหนักถึงความต้องการของลูกค้า ประสานงานกับผู้ตรวจประเมิน หรือลูกค้าในการตรวจสอบระบบ 11

12 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ISO/TS 16949 : 2002
หน้าที่รับผิดชอบของ TS TEAM TS TEAM = คณะผู้แทนด้านระบบคุณภาพ ซึ่งถูกแต่งตั้งมาจาก ตัวแทนของแต่ละหน่วยงาน จัดทำเอกสารของหน่วยงานที่รับผิดชอบ มั่นใจว่ามีการนำเอกสารที่เกี่ยวข้องไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อสารให้พนักงานเข้าใจในนโยบาย และวัตถุประสงค์คุณภาพ ประสานงานกับผู้ตรวจประเมินในการตรวจสอบระบบ 12

13 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ISO/TS 16949 : 2002
หน้าที่รับผิดชอบของพนักงาน มีจิตสำนึกในการทำงาน เข้าใจนโยบายคุณภาพที่ผู้บริหารกำหนด เข้าใจวัตถุประสงค์คุณภาพของหน่วยงาน และมีส่วนร่วมในการ ทำให้บรรลุเป้าหมาย เข้าใจหน้าที่รับผิดชอบที่กำหนด ปฏิบัติตามเอกสารในระบบคุณภาพ บันทึกคุณภาพให้ครบถ้วน และจัดเก็บไว้เป็นหลักฐาน 13

14 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ISO/TS 16949 : 2002
การบริหารเชิงกระบวนการ (Process Approach) การกำหนดกระบวนการ และ ความสัมพันธ์ของกระบวนการ การจัดการกระบวนการต่าง ๆ การใช้ทรัพยากรเพื่อเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่รับเข้าให้เป็นผลผลิต INPUT PROCESS OUTPUT ปัจจัยเข้า กระบวนการ ผลผลิต 14

15 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ISO/TS 16949 : 2002
ส่วนที่ 0 เป็นบทนำ ระบุถึงกระบวนการ , ความสัมพันธ์ และความเกี่ยวข้องกับระบบการบริหารอื่นๆ ส่วนที่ 1 ขอบข่ายในการนำเอาไปปฏิบัติ และการละเว้น ส่วนที่ 2 เอกสารอ้างอิง ส่วนที่ 3 คำจำกัดความ ส่วนที่ 4,5,6,7,8 ข้อกำหนดตามระบบคุณภาพ สามารถละเว้นข้อกำหนดได้เฉพาะข้อที่ 7 ในกิจกรรมที่ไม่มี การละเว้นข้อกำหนดที่ 7.3 ยินยอมเฉพาะองค์กรที่ไม่มีการออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ แต่ไม่รวมถึงการออกแบบกระบวนการผลิต (ละเว้นได้เฉพาะ , ) 15

16 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ISO/TS 16949 : 2002
ข้อกำหนด ( Requirement ) 5. ความรับผิดชอบ ของผู้บริหาร 8. การวัด วิเคราะห์ และการปรับปรุง 4. ระบบบริหารงานคุณภาพ 6. การจัดการทรัพยากร 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า 16

17 รูปแบบกระบวนการบริหารงานคุณภาพ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ISO/TS : 2002 รูปแบบกระบวนการบริหารงานคุณภาพ การพัฒนา และปรับปรุง 4 ระบบการบริหารงานคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เพิ่มมูลค่า ข้อมูล 5 ความรับผิดชอบ ด้านการบริหาร ลูกค้า ลูกค้า 6 การจัดการ ทรัพยากร 8 การวัดวิเคราะห์ และการปรับปรุง ความพึงพอใจ 7 การผลิต/บริการ ผลผลิต ความต้องการ ปัจจัยเข้า 17

18 ที่จำเป็นทั่วทั้งองค์กร
4. ระบบบริหารงานคุณภาพ 4. ระบบบริหารงานคุณภาพ 4.1 ข้อกำหนดทั่วไป จัดทำระบบเป็นเอกสาร นำไปปฏิบัติ ดำรงไว้ และปรับปรุงประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง a) ระบุกระบวนการ ที่จำเป็นทั่วทั้งองค์กร b) ลำดับขั้นตอน และความสัมพันธ์ c) กำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการทำงาน f) ดำเนินกิจกรรมและ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ระบบคุณภาพ e) ติดตาม ตรวจวัด และวิเคราะห์กระบวนการ d) สนับสนุนทรัพยากร และข้อมูลที่จำเป็น ความสัมพันธ์ของกระบวนการ = ผังกระบวนการธุรกิจ (Business Flow) 18

19 4. ระบบบริหารงานคุณภาพ บริหารกระบวนการให้เป็นไปตามข้อกำหนดของมาตรฐาน ISO/TS : 2002 กระบวนการภายนอก (Outsource) องค์กรต้องได้รับการควบคุม และกำหนดไว้ใน ระบบคุณภาพ Outsource ชุบแข็ง , พ่นสี . . . 4.1.1 ข้อกำหนดทั่วไป - เพิ่มเติม มั่นใจว่ากระบวนการควบคุมแหล่งภายนอกต้องไม่ถูกละเลยจากหน้าที่ความ รับผิดชอบขององค์กร ในการทำให้ได้ตามข้อกำหนดของลูกค้า ดู และ 19

20 เอกสารในระบบคุณภาพต้องประกอบด้วย :-
4. ระบบบริหารงานคุณภาพ 4.2 ข้อกำหนดด้านเอกสาร 4.2.1 บททั่วไป เอกสารในระบบคุณภาพต้องประกอบด้วย :- a) นโยบายคุณภาพ และวัตถุประสงค์คุณภาพ b) คู่มือคุณภาพ c) เอกสารระเบียบปฎิบัติที่มาตรฐานกำหนด d) เอกสารระเบียบปฎิบัติที่องค์กรกำหนด e) บันทึกคุณภาพที่มาตรฐานกำหนด 4.2.2 คู่มือคุณภาพ ต้องประกอบด้วย :- a) ขอบเขตของการจัดทำระบบ และการละเว้นข้อกำหนด b) ระบุระเบียบปฎิบัติงาน หรือการอ้างอิงถึง c) ความสัมพันธ์ของกระบวนการ 20

21 a) อนุมัติเอกสารก่อนออกใช้
4. ระบบบริหารงานคุณภาพ 4.2.3 การควบคุมเอกสาร ต้องจัดทำ ระเบียบปฎิบัติงาน เพื่อควบคุมเอกสาร ดังนี้ :- a) อนุมัติเอกสารก่อนออกใช้ b) ทบทวนให้ทันสมัยและอนุมัติเอกสารใหม่ก่อนใช้ c) สถานะความทันสมัยได้ถูกระบุไว้ e) อยู่ในสภาพที่อ่านได้ และแสดงได้ว่าอยู่ในระบบ g) เอกสารที่ยกเลิกได้รับการควบคุม f) เอกสารภายนอก ต้องได้รับการ ควบคุม เช่น มอก. , มาตรฐาน , กฎหมาย ฯลฯ d) เอกสารฉบับล่าสุด อยู่ ณ จุดปฎิบัติงาน 21

22 Drawing Spec. PPAP Customer
4. ระบบบริหารงานคุณภาพ มาตรฐานทางวิศวกรรม เอกสารมาตรฐานทางวิศวกรรม , แบบวาด , SPEC . . . มีกระบวนการทบทวน, แจกจ่าย และนำไปปฏิบัติ เปลี่ยนแปลงตามกำหนดการที่ลูกค้าต้องการ ระยะเวลาการทบทวนทันทีที่เป็นไปได้ แต่ไม่เกิน 2 สัปดาห์ทำการ เก็บบันทึกวันที่มีผลการเปลี่ยนแปลงและนำไปปฏิบัติในกระบวนการผลิต ต้องปรับปรุงเอกสารที่เกี่ยวข้องให้ทันสมัย FMEAs Drawing Spec. Control Plan PPAP Customer OPS. / WI Others 22

23 บันทึกคุณภาพต้องถูกจัดทำขึ้น และรักษาไว้
4. ระบบบริหารงานคุณภาพ 4.2.4 การควบคุมบันทึกคุณภาพ ต้องจัดทำ ระเบียบปฎิบัติงาน เพื่อควบคุมบันทึกคุณภาพ ดังนี้ :- บันทึกคุณภาพต้องถูกจัดทำขึ้น และรักษาไว้ เพื่อเป็นหลักฐานว่าได้ปฏิบัติตามข้อกำหนด และแสดงถึงประสิทธิภาพการจัดทำระบบ การชี้บ่ง การค้นหา การจัดเก็บ การกำหนดระยะเวลาจัดเก็บ การป้องกัน การทำลาย ระยะเวลาการจัดเก็บบันทึก - ต้องสอดคล้องกับกฎหมายและข้อกำหนดของลูกค้า 23

24 5. ความรับผิดชอบของผู้บริหาร
5.1 ความมุ่งมั่นของผู้บริหาร ผู้บริหารระดับสูง ต้องแสดงหลักฐานของความมุ่งมั่นในการพัฒนาและปฎิบัติตามระบบบริหารคุณภาพ และปรับปรุงประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง โดย :- a) สื่อสารในองค์กรให้ทราบถึงความสำคัญของการทำตามความต้องการของลูกค้ารวมทั้ง กฎหมาย กฎระเบียบ e) มั่นใจว่าทรัพยากรมีเพียงพอ b) จัดทำนโยบายคุณภาพ c) มั่นใจว่าวัตถุประสงค์คุณภาพถูกจัดทำขึ้น d) จัดให้มีการทบทวนการบริหาร กำหนดตัวชี้วัดประสิทธิภาพของแต่ละกระบวนการ 24

25 5. ความรับผิดชอบของผู้บริหาร
5.2 การมุ่งไปที่ลูกค้า ผู้บริหารระดับสูง ต้องมั่นใจว่าทราบความต้องการของลูกค้า และบรรลุถึง เพื่อที่ จะเพิ่มพูนความพึงพอใจของลูกค้า 5.3 นโยบายคุณภาพ a) สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ขององค์กร b) แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นที่จะทำตามข้อกำหนดต่างๆ และ การปรับปรุงประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง c) เป็นกรอบสำหรับการจัดทำ และทบทวนวัตถุประสงค์คุณภาพ d) ต้องสื่อสารให้เกิดความเข้าใจในองค์กร e) ทบทวนให้เหมาะสมอยู่เสมอ 25

26 5. ความรับผิดชอบของผู้บริหาร
5.4 การวางแผนระบบคุณภาพ 5.4.1 วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ มีการกำหนดไว้ในทุกระดับของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถวัดได้ และสอดคล้องกับนโยบายคุณภาพ มีการสื่อสาร ให้เข้าใจทั่วทั้งองค์กร และสามารถ นำไปปฏิบัติได้ KPI = Key Performance Indicator กำหนดไว้ในแผนธุรกิจ และใช้ในการกระจายนโยบาย 5.4.2 การวางแผนระบบบริหารคุณภาพ มีการวางแผนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์คุณภาพ และข้อกำหนดของระบบ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของระบบคุณภาพจะต้องถูกดำรงไว้ เมื่อเกิด การเปลี่ยนแปลงต่างๆในระบบคุณภาพ 26

27 5. ความรับผิดชอบของผู้บริหาร
5.5 ความรับผิดชอบ อำนาจหน้าที่ และการสื่อสาร 5.5.1 ความรับผิดชอบ และอำนาจหน้าที่ ผังองค์กร มั่นใจว่าความรับผิดชอบ และอำนาจหน้าที่ ได้ถูกกำหนด และสื่อสารทั่วทั่งองค์กร หน้าที่ความรับผิดชอบสำหรับคุณภาพ - แต่งตั้งผู้จัดการที่มีหน้าที่และอำนาจดังนี้ แก้ไขผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการที่บกพร่อง หยุดการผลิตเพื่อแก้ไขปัญหา - แต่งตั้งบุคลากรที่มีหน้าที่ตรวจสอบคุณภาพของสินค้าในทุกกะที่ผลิต 27

28 5. ความรับผิดชอบของผู้บริหาร มีหน้าที่ดังต่อไปนี้
5.5.2 ผู้แทนฝ่ายบริหาร (QMR) มีหน้าที่ดังต่อไปนี้ ระบบคุณภาพได้มีการจัดทำ นำไปปฎิบัติ และดำรงไว้ รายงานผลให้ผู้บริหารทราบ รวมถึงความจำเป็นในการ ปรับปรุง ส่งเสริมให้พนักงานตระหนักถึงความต้องการของลูกค้า ตัวแทนลูกค้า - แต่งตั้งตัวแทนลูกค้า เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อกำหนดลูกค้าได้ถูกระบุ คัดเลือกคุณลักษณะพิเศษ กำหนดวัตถุประสงค์คุณภาพ การฝึกอบรม , การปฏิบัติการแก้ไข ป้องกัน และออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ 28

29 5. ความรับผิดชอบของผู้บริหาร
5.5.3 การสื่อสารภายใน Meeting Morning Talk Phone / Fax กำหนดรูปแบบ และดำเนินการสื่อสาร อย่างมีประสิทธิภาพ Board Mail , เสียงตามสาย 29

30 a) การปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบ
5. ความรับผิดชอบของผู้บริหาร 5.6 การทบทวนของฝ่ายบริหาร 5.6.1 บททั่วไป ผู้บริหารระดับสูง ต้องทบทวนระบบตามที่วางแผนไว้ และพิจารณาโอกาศในการ ปรับปรุง รวมทั้งนโยบายและวัตถุประสงค์คุณภาพ พร้อมจัดทำบันทึกเป็นหลักฐาน 5.6.2 ปัจจัยป้อนในการทบทวน a) ผลการตรวจประเมิน ทุกข้อกำหนด ( ) b) ข้อมูลย้อนกลับจากลูกค้า, ความพึงพอใจของลูกค้า c) ประสิทธิภาพของกระบวนการ, ต้นทุนของเสีย d) สถานะการแก้ไขและป้องกัน e) ผลการประชุมครั้งที่ผ่านมา f) การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบระบบ g) ข้อแนะนำในการปรับปรุง แนวโน้มผลกระทบคุณภาพ ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ( ) 5.6.3 ผลลัพธ์ในการทบทวน ต้องแสดงให้เห็นถึงผลการ ตัดสินใจ a) การปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบ b) การปรับปรุงสินค้า / บริการ c) ทรัพยากรที่จำเป็น 30

31 6. การบริหารทรัพยากร a) กำหนดทักษะความสามารถที่จำเป็นของบุคลากร
6.1 การจัดสรรทรัพยากรต่างๆ 6.2 ทรัพยากรมนุษย์ a) เพื่อดำรงค์ไว้ซึ่งระบบคุณภาพ และปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบ b) เพื่อเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า 6.2.1 บททั่วไป กำหนดคุณสมบัติขั้นต่ำ การศึกษา การฝึกอบรม ทักษะ ,ประสบการณ์ 6.2.2 ทักษะความสามารถ จิตสำนึก และการฝึกอบรม a) กำหนดทักษะความสามารถที่จำเป็นของบุคลากร b) จัดฝึกอบรม , OJT หรือการดำเนินการอื่นๆ c) ประเมินประสิทธิภาพของการฝึกอบรม d) ทำให้บุคลากรมีจิตสำนึกในการทำงาน เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์คุณภาพ e) เก็บบันทึกต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 31

32 6.2.2.1 ทักษะการออกแบบผลิตภัณฑ์
6. การบริหารทรัพยากร ทักษะการออกแบบผลิตภัณฑ์ กำหนดเครื่องมือและเทคนิคที่จำเป็นในการออกแบบ จัดการอบรมหรือจัดหาบุคลากรที่มีความรู้และความสามารถใช้เครื่องมือ และเทคนิคในการออกแบบที่กำหนด การฝึกอบรม จัดทำ ระเบียบปฏิบัติงาน เพื่อควบคมสิ่งต่อไปนี้ ชี้บ่งความจำเป็นในการฝึกอบรม (Training Needs) ชี้บ่งความสามารถของบุคลากร (Competence) บุคลากรที่ปฏิบัติงานเฉพาะต้องมีคุณสมบัติที่เหมาะสม เพื่อให้เกิด ความสอดคล้องกับข้อกำหนดของลูกค้า 32

33 5 ส. 6.2.2.3 On the job training (OJT)
6. การบริหารทรัพยากร On the job training (OJT) จัดให้มี OJT พนักงานใหม่ หรือ ที่เปลี่ยนแปลงหน้าที่งาน , Subcontract พนักงานรู้ ผลกระทบภายหลังที่มีต่อลูกค้าในกรณีที่เกิดผลิตภัณฑ์ไม่เป็นไป ตามข้อกำหนด (NC Product) 5 ส. QCC การจูงใจและให้อำนาจพนักงาน จูงใจพนักงานที่ทำให้บรรลุวัตถุประสงค์คุณภาพ (KPI) จูงใจพนักงานให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และสร้างสภาพแวดล้อมในการทำงาน สร้างจิตสำนึกในคุณภาพให้เกิดขึ้นกับพนักงาน มีกระบวนการตรวจวัดจิตสำนึกของพนักงานในงานที่ทำ และการทำให้บรรลุวัตถุประสงค์คุณภาพ (KPI) ข้อเสนอแนะ 33

34 a) อาคารสถานที่ และ b) เครื่องมืออุปกรณ์ c) บริการสนับสนุน
6. การบริหารทรัพยากร 6.3 สิ่งอำนวยความสะดวก กำหนด จัดหา และดำรงไว้ซึ่งสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ที่ต้องการในการ บรรลุข้อกำหนดของสินค้า a) อาคารสถานที่ และ สิ่งอำนวยความ สะดวก b) เครื่องมืออุปกรณ์ c) บริการสนับสนุน 34

35 6.3.2 แผนฉุกเฉิน 6. การบริหารทรัพยากร
6.3.1 การวางแผนสถานที่ สิ่งอำนวยความสะดวก และเครื่องมือ ใช้ Cross Functional Team ในการพัฒนาวางแผนสถานที่. สิ่งอำนวยความ สะดวก และเครื่องมือ จัดทำแผนผังสถานที่ ผังการไหลของชิ้นงาน การขนย้ายที่ทำให้เกิดมูลค่า ประเมินและเฝ้าระวังประสิทธิภาพของกระบวนการที่เป็นอยู่ 6.3.2 แผนฉุกเฉิน การขัดข้องสาธารณูปโภค การขาดแคลนแรงงาน เครื่องจักรหลักเสียหาย แรงงานกลับคืนถิ่น 35

36 SAFTY CONTROL CONDITION 6. การบริหารทรัพยากร
6.4 สภาพแวดล้อมในการทำงาน กำหนด และบริหารสภาวะแวดล้อมในการทำงาน เพื่อให้บรรลุถึงข้อกำหนด ของสินค้า CONTROL CONDITION SAFTY 36

37 6.4.2 ความสะอาดของสถานที่ 6. การบริหารทรัพยากร
6.4.1 ความปลอดภัยของบุคลากรเพื่อให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพ กำหนดความเสี่ยงที่มีโอกาสน้อยที่สุด ที่จะมีผลต่อความปลอดภัยของพนักงาน โดยการกำหนดในขั้นตอนการออกแบบกระบวนการผลิต และขั้นตอนการ ควบคุมการผลิต 6.4.2 ความสะอาดของสถานที่ ต้องรักษาความสะอาดของสถานที่ ซ่อมแซมส่วนที่เสียหาย 37

38 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.1 การวางแผนกระบวนการสร้างความเชื่อมั่น วางแผน และพัฒนากระบวนการ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในสินค้า การวางแผนต้องสอดคล้องกับข้อกำหนดของระบบคุณภาพ a) วัตถุประสงค์และข้อกำหนดด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ b) ระบุกระบวนการ เอกสารต่างๆ และ การจัดหาทรัพยากรสำหรับแต่ละผลิตภัณฑ์ Control Plan c) การทวนสอบ การรับรอง การเฝ้าติดตาม การตรวจ การทดสอบ และเกณฑ์การยอมรับ d) มีบันทึกเพื่อแสดงว่ากระบวนการและผลิตภัณฑ์เป็น ไปตามที่กำหนดไว้ 38

39 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.1.1 การวางแผนการผลิตผลิตภัณฑ์ - เพิ่มเติม ข้อกำหนดของลูกค้าและการอ้างอิงเกณฑ์ทางด้านเทคนิคต้องถูกกำหนดใน กระบวนการวางแผนผลิตภัณฑ์ล่วงหน้า APQP 7.1.2 เกณฑ์การยอมรับ บริษัทต้องกำหนดเกณฑ์การยอมรับ และให้ลูกค้าอนุมัติ การสุ่มตรวจข้อมูลคุณสมบัติ เกณฑ์การยอมรับต้องเป็น zero defect ATTRIBUTE JIG CHECK GO NOGO 39

40 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.1.3 การรักษาความลับของลูกค้า ผลิตภัณฑ์ที่ทำสัญญา โครงการระหว่างการพัฒนา ข้อมูลของผลิตภัณฑ์ 7.1.4 การควบคุมการเปลี่ยนแปลง มีกระบวนการควบคุม และดำเนินการกับการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบกับ กระบวนการผลิต รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงจาก Supplier มีการประเมิน , ทวนสอบ , ยืนยัน เพื่อให้มั่นใจว่าการเปลี่ยนแปลงสอดคล้อง กับข้อกำหนดของลูกค้า ก่อนนำไปปฏิบัติ สำหรับการออกแบบคุณสมบัติ ผลกระทบกับรูปแบบ , ความเหมาะสม รวมทั้งคุณสมบัติและหรือ ความคงทน ต้องทบทวนกับลูกค้า 40

41 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า 7.2.1 การระบุข้อกำหนดของสินค้า
7.2 กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า 7.2.1 การระบุข้อกำหนดของสินค้า a) ข้อกำหนดต่างๆ จากลูกค้า , การส่งมอบและหลังส่งมอบ b) ข้อกำหนดสำหรับการนำไปใช้งาน c) กฎหมาย และข้อบังคับที่เกี่ยวกับสินค้า d) ข้อกำหนดอื่นๆ ขององค์กร คุณลักษณะพิเศษที่กำหนดโดยลูกค้า ( Special Characteristic = SC ) กำหนด จัดทำเอกสาร และการควบคุมคุณลักษณะพิเศษ ให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของลูกค้า A SC 41

42 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า 7.2.2 การทบทวนข้อกำหนดของสินค้า
ส่วนเพิ่มเติม การขอยกเว้นข้อกำหนดใดที่อยู่ในข้อ สำหรับการทบทวนที่เป็นทางการ ต้องได้รับการอนุมัติจากลูกค้า (การขายผ่าน Internet = ไม่เป็นทางการ) ทบทวนก่อนที่จะทำการตกลงกับลูกค้า โดยต้องมั่นใจว่า : - a) ข้อกำหนดของสินค้าได้รับการระบุไว้ b) ได้มีการแก้ไข ข้อกำหนดที่ไม่ตรงกัน c) มีขีดความสามารถที่จะทำตามข้อกำหนด ความเป็นไปได้ของกระบวนการผลิต ต้องวิเคราะห์ ยืนยัน และจัดทำเอกสาร ความเป็นไปได้ของกระบวนการผลิต ( Team Feasibility Review ) การวิเคราะห์ความเสี่ยง ( Risk Analysis ) จัดเก็บบันทึกผลการทบทวน ยืนยันก่อนยอมรับข้อตกลงในกรณี ที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ปรับเปลี่ยนเอกสาร และชี้แจงบุคลากร ที่เกี่ยวข้อง กรณีเปลี่ยนแปลงข้อตกลง 42

43 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.2.3 การสื่อสารกับลูกค้า a) ข้อมูลของสินค้า b) ความต้องการ , สัญญา , คำสั่งซื้อ รวมทั้งการแก้ไขต่างๆ c) ข้อมูลย้อนกลับ และข้อร้องเรียน การสื่อสารกับลูกค้า - ส่วนเพิ่มเติม ต้องมีความสามารถในการสื่อสารข้อมูลที่จำเป็นกับลูกค้า รวมทั้งข้อมูลที่เป็นตัวเลข ในรูปแบบและภาษาเดียวกับลูกค้ากำหนด SUPPLIER COMMUNICATION PORTAL TOYOTA SCP ระบบการสั่งซื้อผ่าน INTERNET ON LINE 43

44 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.3 การออกแบบ และพัฒนา 7.3.1 การวางแผนการออกแบบฯ (Planning) 7.3.2 ปัจจัยป้อนของออกแบบฯ (Inputs) 7.3.3 ผลลัพธ์ของออกแบบฯ (Outputs) 7.3.4 การทบทวนการออกแบบฯ (Review) 7.3.5 การทวนสอบการออกแบบฯ (Verification) 7.3.6 การยืนยันการออกแบบฯ (Validation) 7.3.7 การเปลี่ยนแปลงการออกแบบฯ(Changes) 44

45 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.3.1 การวางแผนการออกแบบ และพัฒนา (Planning) องค์กรต้องมีการวางแผน และควบคุมการออกแบบ และพัฒนาโดยกำหนด - a) ขั้นตอนการออกแบบ b) การทบทวน ทวนสอบ และยืนยัน ที่เหมาะสมในแต่ละขั้นตอน c) อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ บันทึกความคืบหน้าของการดำเนินการโดยเทียบกับแผนการออกแบบ วิธีการหลายแนวความคิด ใช้ทีมงานต่างแผนกในการดำเนินการสิ่งต่อไปนี้ พัฒนาการตรวจวัดเฝ้าระวังคุณลักษณะพิเศษ จัดทำและทบทวน FMEA และการลดความเสี่ยง จัดทำและทบทวนแผนควบคุม ( Control Plan)

46 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.3.2 ปัจจัยป้อนของการออกแบบ และพัฒนา (Inputs) กำหนด และบันทึกปัจจัยป้อนของการออกแบบ a) ข้อกำหนดด้านการใช้งานและสมรรถนะ b) กฎหมาย กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง c) ข้อมูลจากที่เคยออกแบบ (ถ้ามี) d) ข้อกำหนดอื่น ๆ ที่จำเป็น ทบทวนให้สมบูรณ์ ไม่กำกวม และไม่ขัดแย้ง

47 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
ข้อมูลการออกแบบผลิตภัณฑ์ (ละเว้น) กำหนด จัดทำเอกสาร และทบทวนข้อกำหนดของการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ คุณลักษณะพิเศษ, การชี้บ่ง, การสอบกลับและการบรรจุ การใช้ข้อมูลของบริษัท เช่น ข้อมูลการออกแบบครั้งก่อน , การวิเคราะห์คู่แข่ง , ข้อมูลภายในบริษัท , ข้อมูลจาก Supplier เป้าหมายทางด้านคุณภาพของสินค้า อายุผลิตภัณฑ์ ความ น่าเชื่อถือ ความคงทน การบำรุงรักษา ระยะเวลา และต้นทุน

48 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
ข้อมูลเบื้องต้นการออกแบบกระบวนการผลิต(New) กำหนด จัดทำเอกสาร และทบทวนข้อกำหนด ข้อมูลเบื้องต้นในการออกแบบกระบวนการผลิต ผลลัพธ์ของการออกแบบผลิตภัณฑ์ KPI , Cpk , Cost ข้อกำหนดของลูกค้า , ถ้ามี และ ประสบการณ์จากการออกแบบและพัฒนาครั้งก่อน คุณลักษณะพิเศษ ต้องชี้บ่งคุณลักษณะพิเศษ ดังนี้ ใช้สัญญาลักษณ์ของลูกค้า ในแผนควบคุม Control Plan เอกสารควบคุมกระบวนการ, FMEA, WI

49 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.3.3 ผลลัพท์ของการออกแบบ และพัฒนา (Outputs) อยู่ในรูปแบบที่สามารถทวนสอบได้ ได้รับการอนุมัติก่อนใช้งาน a) สอดคล้องกับ Inputs ของการออกแบบ b) ให้ข้อมูลที่เหมาะสม เพื่อใช้ในการจัดซื้อ การผลิต และการบริการ c) มีเกณฑ์การยอมรับ d) ระบุลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ์ที่จำเป็นสำหรับการใช้งานและความปลอดภัย

50 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
สิ่งได้จากการออกแบบผลิตภัณฑ์ (ละเว้น) ทวนสอบและตรวจสอบยืนยันได้เทียบกับข้อกำหนด และข้อมูลเบื้องต้น และรวมทั้ง Design FMEA, ผลความน่าเชื่อถือ คุณลักษณะพิเศษและเกณฑ์มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ การพิสูจน์ความผิดพลาดของผลิตภัณฑ์ ผลการทบทวนการออกแบบผลิตภัณฑ์ คำแนะนำวินิจฉัยที่เหมาะสม

51 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
สิ่งที่ได้จากการออกแบบกระบวนการผลิต ทวนสอบเทียบกับข้อกำหนดข้อมูลเบื้องต้น เกณฑ์และแบบวาด Process Flow, แผนผัง Process FMEA,Control Plan, WI เกณฑ์การอนุมัติกระบวนการ ข้อมูลทางคุณภาพ, ความน่าเชื่อถือ, การบำรุงรักษาและ ความสามารถในการตรวจวัด ผลของกิจกรรมการพิสูจน์ความผิดพลาด วิธีการตรวจจับแบบรวดเร็ว และ ข้อมูลย้อนกลับของกระบวน และผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นตามข้อกำหนด

52 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.3.4 การทบทวนการออกแบบ และพัฒนา (Review) ทบทวนในขั้นตอนที่เหมาะสม อย่างเป็นระบบตามแผนที่วางไว้ a) พิจารณาผลการออกแบบและพัฒนาว่า จะสามารถบรรลุ ข้อกำหนดหรือไม่ b) ระบุปัญหา และเสนอแนวทางในการแก้ไข ทบทวนร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บันทึกผลการทบทวน และผลการดำเนินการอันเนื่องมาจากการทบทวน การตรวจวัดเฝ้าระวัง วิเคราะห์ และรายงาน สรุปผลในการประชุมทบทวนโดยฝ่ายบริหาร

53 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.3.5 การทวนสอบการออกแบบ และพัฒนา (Verification) ทวนสอบตามแผนที่วางไว้ เพื่อมั่นใจว่าผลการออกแบบ และพัฒนา เป็นไปตาม Inputs บันทึกผลการทวนสอบ และผลการดำเนินการเนื่องมาจากการทวนสอบ 7.3.6 การยืนยันการออกแบบ และพัฒนา (Validation) ยืนยันตามแผนที่วางไว้ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์เป็นไปตามข้อกำหนดสำหรับการนำไปใช้งาน ถ้าทำได้ให้ยืนยันก่อนการส่งมอบ หรือก่อนนำผลิตภัณฑ์ไปใช้ บันทึกผลการทวนสอบ และผลการดำเนินการเนื่องมาจากการทวนสอบ

54 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
การสอบยืนยันการออกแบบและพัฒนา ในระยะเวลาที่ลูกค้ากำหนด ตามข้อกำหนดของลูกค้า โปรแกรมต้นแบบ (Prototype)(4.4.10) ต้องมีโปรแกรมต้นแบบ และ แผนควบคุม กระบวนการอนุมัติผลิตภัณฑ์ (PPAP) ต้องทำให้ผลิตภัณฑ์ และ กระบวนการผลิต เป็น ข้อกำหนดลูกค้า ใช้กับ Supplier ด้วย

55 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.3.7 การเปลี่ยนแปลงการออกแบบ และพัฒนา (Changes) ทบทวน ทวนสอบ และยืนยันตามความเหมาะสมเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงและอนุมัติก่อนนำไปใช้ ประเมินผลกระทบต่อชิ้นส่วนที่ใช้ และผลิตภัณฑ์ที่ได้ส่งมอบไปแล้ว บันทึกผลการทบทวนการปลี่ยนแปลง และผลการดำเนินการเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง R01 R02 R03

56 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.4 การจัดซื้อ ความสอดคล้องกับกฎข้อบังคับ ผลิตภัณฑ์และวัตถุดิบที่ซื้อต้อง เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยไม่ใช้สารเคมีที่กฎหมายห้ามใช้ 7.4.1 กระบวนการจัดซื้อ วัตถุดิบที่จัดซื้อตรงตามความต้องการ และควบคุมผู้ขายตามความเหมาะสม กำหนดเกณฑ์ และดำเนินการคัดเลือก และประเมินผู้ขาย จัดเก็บบันทึกผลการดำเนินการ การพัฒนาระบบบริหารงานคุณภาพของผู้ส่งมอบ สอดคล้องข้อกำหนด ISO 9001: 2000 เป็นขั้นแรก มีเป้าหมายได้ ISO/TS :2002 ต้องได้รับการรับรองจากผู้ออกใบรับรองกรณีลูกค้ากำหนด Certificate ISO 9001 : 2000 ISO/TS : 2002

57 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
แหล่งที่ลูกค้าอนุมัติ กรณีที่ลูกค้าระบุใน (Drawing , Spec.) บริษัทต้อง จัดซื้อวัตถุดิบ หรือบริการ (สอบเทียบ) จากแหล่งที่ลูกค้ากำหนด การใช้แหล่งที่ลูกค้าอนุมัติต้องไม่ทำให้ไม่รับผิดชอบเรื่องคุณภาพผลิตภัณฑ์ A 7.4.2 ข้อมูลการจัดซื้อ ผู้ขาย ต้องเหมาะสมและเพียงพอต่อการจัดซื้อ โดยประกอบด้วย (ตามความเหมาะสม) Invoice PO a) การอนุมัติสินค้า , ระเบียบปฏิบัติ , กระบวน การ และอุปกรณ์ b) คุณสมบัติบุคลากร ผู้ขอซื้อ จัดซื้อ c) ข้อกำหนดในระบบคุณภาพ PR

58 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.4.3 การตรวจพิสูจน์วัตถุดิบที่จัดซื้อ ทำการตรวจสอบ หรือใช้วิธีการที่เหมาะสม เพื่อให้มั่นใจว่าตรงตามที่กำหนด กรณีตรวจวัตถุดิบ ณ แหล่งผลิต ต้องระบุ วิธีการในข้อมูลการจัดซื้อด้วย คุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่รับเข้า การตรวจรับวัตถุดิบ ดำเนินการได้ 5 วิธี รับและประเมินจากข้อมูลทางสถิติของบริษัท เช่น Cpk ตรวจรับเข้าและหรือทดสอบคุณสมบัติโดยการสุ่มตัวอย่าง ผลการ Audit กับใบรับรอง จากบุคคลที่ 2 หรือ 3 ประเมินชิ้นส่วนโดยห้องทดลองที่กำหนด วิธีการอื่นๆที่ลูกค้าเห็นชอบด้วย

59 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
การเฝ้าตรวจวัดผู้ส่งมอบ ต้องเฝ้าตรวจวัดผลการดำเนินการของผู้ส่งมอบผ่านตัวชี้วัดดังนี้ ต้องส่งเสริมให้ Supplier ตรวจวัดผลการดำเนินการของกระบวนการผลิตของ Supplier ด้วย คุณภาพของสินค้า การทำความยุ่งยากให้ลูกค้า รวมทั้งการส่งสินค้าคืน ผลการส่งมอบสินค้า ( รวมทั้งกรณีฉุกเฉิน และมีค่าใช้จ่ายในการ ขนส่ง ) การแจ้งสถานะพิเศษจากลูกค้าทางด้านคุณภาพและการส่งมอบ Supplier Manual

60 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า d) มีเครื่องมือตรวจวัด
7.5 การผลิต และบริการ 7.5.1 การควบคุมการผลิต และบริการ วางแผน และดำเนินการผลิต หรือบริการ ภายใต้สภาวะควบคุม ดังนี้ a) มีข้อมูลรายละเอียด ของสินค้าที่ผลิต b) มีวิธีปฏิบัติงาน ตามความจำเป็น f) การปล่อยสินค้า , การจัดส่ง และกิจกรรมหลังจัดส่ง c) มีเครื่องมืออุปกรณ์ ที่เหมาะสม สภาวะควบคุม e) มีวิธีการตรวจวัด และตรวจติดตาม d) มีเครื่องมือตรวจวัด และตรวจติดตาม

61 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
แผนควบคุม (Control Plan) จัดทำ Control Plan ตามที่ลูกค้ากำหนด โดยใช้ข้อมูลจาก FMEA มีการเฝ้าตรวจวัดคุณลักษณะพิเศษ (SC) ที่กำหนดโดยลูกค้าและองค์กร ( ) มีแผนตอบสนอง (Reaction Plan) เมื่อกระบวนการไม่คงที่ ( ) ปรับปรุง Control Plan ให้ทันสมัยเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลกระทบต่อสินค้า วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction : WI) นำมาใช้งานได้สะดวก อ้างอิงมาจาก Control Plan , Quality Plan และกระบวนการผลิตที่เป็นจริง WI

62 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
ตรวจสอบการตั้งค่างาน (Job Set Up) ก่อนเริ่มต้นผลิตงาน เปลี่ยนวัตถุดิบ หรือ เปลี่ยนงาน ทำ WI การตั้งค่างานไว้ให้พนักงาน นำเทคนิคสถิติมาใช้ในการทวนสอบตามความเหมาะสม การบำรุงรักษาเชิงป้องกันและคาดการณ์ล่วงหน้า ชี้บ่งรายการเครื่องจักรหลัก และการวางแผนบำรุงรักษา การบรรจุ , จัดเก็บรักษาเครื่องมือ อุปกรณ์ และเกจวัด จัดหาอะไหล่สำรองสำหรับเครื่องจักรหลัก พัฒนาระบบการวางแผนการบำรุงรักษาให้มีประสิทธิภาพ ใช้วิธีการแบบคาดการณ์ล่วงหน้า (Predictive Maintenance)

63 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
การบริหารเครื่องมือการผลิต (Tooling) จัดหาแหล่งออกแบบเครื่องมือ , เครื่องวัด , ประดิษฐ์ และกิจกรรมการทวนสอบ การบำรุงรักษา และซ่อมแซมสถานที่ การจัดเก็บ และการกู้กลับคืน การตั้งค่าเครื่องมือ โปรแกรมการเปลี่ยนเมื่อเสื่อมสภาพ เอกสารออกแบบปรับเปลี่ยนเครื่องมือ รวมทั้งระดับการเปลี่ยนแปลงทางวิศวกรรม การชี้บ่ง และการกำหนดสถานะ เช่น ผลิต , ซ่อม , รอทำลาย มีระบบในการตรวจวัดกิจกรรมเหล่านี้ในกรณีที่จ้างแหล่งภายนอก (Outsourced)

64 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
ตารางกำหนดการผลิต ต้องกำหนดแผนการผลิต ให้สอดคล้องกับข้อกำหนดลูกค้า เพื่อส่งมอบทันเวลา ใช้ระบบข้อมูลที่สามารถนำข้อมูลสู่กระบวนการผลิต และผลักดันการผลิตได้ ข้อมูลสะท้อนกลับจากการบริการ ต้องจัดทำระบบการสื่อสารข้อมูลย้อนกลับจากฝ่ายบริการ มาใช้ในกระบวนการผลิต , วิศวกรรม และการออกแบบ การบริการที่ตกลงกับลูกค้า(New) ถ้ามีข้อตกลงกับลูกค้าในเรื่องการบริการ , ต้องทวนสอบประสิทธิภาพ ศูนย์บริการของบริษัท เครื่องมือ และเครื่องวัดที่เฉพาะทาง การฝึกอบรมพนักงานบริการ

65 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.5.2 การตรวจรับรองกระบวนการการผลิต และบริการ จะทำการตรวจรับรองกระบวนการเมื่อ : - ผลลัพท์ที่เกิดจากการผลิตไม่สามารตรวจติดตาม หรือตรวจวัดได้ ความบกพร่องของผลิตภัณฑ์อาจปรากฏเมื่อนำไปใช้ หรือส่งมอบไปแล้ว a) มีหลักเกณฑ์การทบทวน และอนุมัติกระบวนการ b) การอนุมัติเครื่องมือ และคุณสมบัติบุคลากร c) มีการใช้หลักวิธีการ และระเบียบปฏิบัติต่างๆ d) ข้อกำหนดต่างๆ ในการบันทึก e) การตรวจรับรองใหม่ ส่วนเพิ่มเติม – ให้ประยุกต์ใช้กับกระบวนการผลิต และบริการทั้งหมด

66 TAG / ป้ายชี้บ่ง สี / สัญลักษณ์ QC PASSED REJECT PART NO. / LOT NO.
7. ความเชื่อมั่นในสินค้า 7.5.3 การชี้บ่งและสอบกลับได้ การแสดงสถานะ ( Status ) การชี้บ่ง ( Identify ) TAG / ป้ายชี้บ่ง สี / สัญลักษณ์ QC PASSED REJECT PART NO. / LOT NO. กรณีการสอบกลับได้เป็นข้อกำหนด ต้องควบคุม และบันทึกการชี้บ่งของสินค้า ส่วนเพิ่มเติม – ต้องทำการชี้บ่งตลอดกระบวนการผลิตสินค้า

67 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.5.4 ทรัพย์สินของลูกค้า วัตถุดิบ , เครื่องมือ , เครื่องจักร , อุปกรณ์ , เครื่องมือวัด , ภาชนะบรรจุ ฯลฯ ทรัพย์สินทางปัญญา เช่น สูตรการผลิต , ตัวอย่างสินค้า , Drawing ฯลฯ ดูแลด้วยความระมัดระวัง ระบุ ทวนสอบ ป้องกัน และรักษา ทำรายงานแจ้งลูกค้า หากมีการสูญหาย เสียหาย ใช้งานไม่ได้ และเก็บบันทึกไว้ ส่วนเพิ่มเติม – ทำการชี้บ่งเครื่องมือของลูกค้าอย่างถาวร โดยแสดง ความเป็นเจ้าของแต่ละชิ้น อย่างเห็นได้ชัด

68 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.5.5 การถนอมรักษาสินค้า ถนอมรักษาสินค้า และชิ้นส่วนประกอบ ในทุกขั้นตอนการผลิต จนถึงการส่งมอบ ควบคุมการชี้บ่ง เคลื่อนย้าย บรรจุ จัดเก็บ และการป้องกัน การจัดเก็บและคลังสินค้า ประเมินความเสื่อมสภาพของสินค้าตามแผนที่วางไว้ บริหารการหมุนเวียนของคลังด้วย FIFO ควบคุมสินค้าที่ยกเลิกตามระบบ NC Product First In First Out

69 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.6 การควบคุมเครื่องมืออุปกรณ์ในการตรวจวัด และเฝ้าติดตาม a) สอบเทียบ หรือทวนสอบตามระยะเวลา b) ทำการปรับแต่งตามความจำเป็น c) แสดงสถานะการสอบเทียบ d) ป้องกันการปรับแต่ง e) ควบคุมการเคลื่อนย้าย จัดเก็บรักษา หรือก่อนใช้งาน โดยเทียบกับมาตรฐาน สากล พร้อมจัดเก็บบันทึกเป็นหลักฐาน กรณีไม่ผ่านการสอบเทียบ ให้ดำเนินการกับเครื่องมือ และสินค้าที่มีผลกระทบ ทำการจัดเก็บบันทึกผลการสอบเทียบ ในการตรวจสอบที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์ หรือซอฟแวร์ต้องทดสอบเพื่อยืนยันก่อนใช้

70 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.6.1 การวิเคราะห์ระบบการวัด (MSA) วิเคราะห์ทุกระบบของเครื่องมือตรวจสอบที่ระบุใน Control Plan ตามวิธีการและเกณฑ์ของลูกค้า หรือ ลูกค้าอนุมัติ Gauge R&R Bias Stability Linearlity 7.6.2 บันทึกการสอบเทียบ/ทวนสอบ การชี้บ่งเครื่องมือ สถานการณ์เปลี่ยนแปลงตามการเปลี่ยนแปลงทางวิศวกรรม ค่าที่อ่านได้ออกนอกมาตรฐานก่อนการปรับแก้ ผลสรุปการสอบเทียบ/ทวนสอบ แจ้งลูกค้า เมื่อสงสัยว่ามีผลิตภัณฑ์ไม่เป็นตามข้อกำหนด

71 7. ความเชื่อมั่นในสินค้า
7.6.3 ข้อกำหนดห้องปฏิบัติการ ห้องปฏิบัติการภายใน ต้องกำหนดขอบข่ายที่ดำเนินการได้ มีเอกสารระบบบริหารงานด้านคุณภาพ ระเบียบปฏิบัติอย่างเพียงพอ การทดสอบผลิตภัณฑ์ ความสามารถในการดำเนินการตามมาตรฐาน และการสอบกลับได้ เช่น ASTM ห้องปฏิบัติการภายนอก มีการกำหนดขอบข่ายที่สามารถให้บริการได้ และต้องมีหลักฐานว่า ได้รับการยอมรับจากลูกค้า (มีหลักฐานการประเมิน)หรือ ได้รับการรับรองระบบการบริหารงานด้านคุณภาพ ISO/IEC 17025 หรือมาตรฐานระดับชาติที่เทียบเท่า บุคลากรที่มีความสามารถ การทบทวนบันทึกที่เกี่ยวข้อง

72 8. การตรวจวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุง
8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง 8. การตรวจวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุง 8.1 บททั่วไป วางแผนและทำการเฝ้าติดตาม ตรวจวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงกระบวนการ เพื่อ a) แสดงความเป็นไปตามข้อกำหนดของสินค้า b) เป็นไปตามระบบบริหารคุณภาพ c) ปรับปรุงประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง กำหนดวิธีการ และกลวิธีทางสถิติต่างๆ 8.1.1 การชี้บ่งเครื่องมือทางสถิติ กำหนดเทคนิคทางสถิติที่เหมาะสมในขณะทำ APQP และระบุไว้ใน Control Plan 8.1.2 ความรู้ในหลักการพื้นฐานทางสถิติ พนักงานต้องเข้าใจหลักการพื้นฐานทางสถิติ เช่น ความแปรปรวน , การควบคุม (ความคงที่) , ความสามารถของกระบวนการ และ การปรับแก้เกิน

73 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
8.2 การเฝ้าติดตาม และการตรวจวัด 8.2.1 ความพึงพอใจของลูกค้า กำหนดวิธีการ ในการเฝ้าติดตาม ข้อมูลข่าวสาร ความพึงพอใจของลูกค้า ว่าสามารถตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าได้หรือไม่ ความพึงพอใจของลูกค้า ต้องเฝ้าระวังความพึงพอใจของลูกค้า ผ่านการประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง กำหนดตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน เช่น คุณภาพของสินค้าที่ส่ง การทำความยุ่งยากให้ลูกค้าและการ Claim ผลการดำเนินการตามตารางการจัดส่ง (รวมถึง Premium Freight) การแจ้งของลูกค้าให้ทราบถึงคุณภาพและการส่งมอบ เฝ้าระวังผลการดำเนินการผลิตว่าสอดคล้องกับข้อกำหนดของลูกค้า

74 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
8.2.2 การตรวจติดตามภายใน จัดทำ ระเบียบปฎิบัติงาน ที่ระบุหลักเกณฑ์ ขอบเขต ความถี่ และวิธีการตรวจติดตาม ดำเนินการตรวจติดตามภายในตามช่วงระยะเวลาที่วางแผนไว้ เพื่อตรวจสอบว่า ได้มีการปฏิบัติ และรักษาระบบไว้อย่างมีประสิทธิภาพตรงตามข้อกำหนด PLAN DO วางแผนการตรวจ โดยพิจารณา การเลือกผู้ตรวจ และการตรวจ ความสำคัญของกระบวนการ Internal Audit ต้องเป็นไปอย่างยุติธรรม และผลการตรวจครั้งที่ผ่านมา ไม่ตรวจงานของตนเอง ACTION CHECK ติดตามผล และรายงานการ ผู้บริหารของหน่วยงานที่ถูก แก้ไขข้อบกพร่อง ที่เกิดจาก ตรวจ ต้องดำเนินการแก้ไข การตรวจติดตาม ข้อบกพร่องโดยเร็ว

75 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
การตรวจติดตามระบบบริหารงานคุณภาพ ต้องตรวจติดตามระบบบริหารงานคุณภาพทุกข้อกำหนด QMS. Audit การตรวจติดตามกระบวนการผลิต ต้องตรวจติดตามแต่ละกระบวนการผลิต เพื่อประเมินประสิทธิภาพของกระบวนการ Process Audit การตรวจติดตามผลิตภัณฑ์ ต้องตรวจติดตามผลิตภัณฑ์ในขั้นตอนที่เหมาะสม ของกระบวนการผลิต และการส่งมอบ ตรวจขนาด , การทำงาน , บรรจุภัณฑ์ และการติดฉลาก ตรวจตามความถี่ที่กำหนด Product Audit

76 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
การวางแผนการตรวจติดตามภายใน วางแผนให้ครอบคลุมทุกกระบวนการผลิต , ทุกกิจกรรมของระบบบริหารงาน คุณภาพ และทุกกะการผลิต วางแผนการตรวจติดตามภายในเป็นประจำทุกปี เมื่อมีสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดทั้งภายในและภายนอก และมีข้อร้องเรียน ต้องทำการปรับแผนเพิ่มความถี่ในตรวจติดตาม (ตามความเหมาะสม) คุณสมบัติของผู้ตรวจติดตาม ผู้ตรวจติดตามต้องมีบุคลากรที่มีความรู้ และ เข้าใจในข้อกำหนด ISO/TS : 2002

77 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
8.2.3 การเฝ้าติดตาม และการตรวจวัดกระบวนการ ใช้วิธีการที่เหมาะสมเพื่อแสดงว่ากระบวนการต่างๆ บรรลุผลตามแผนที่ได้กำหนดไว้ ถ้าไม่บรรลุผลตามที่กำหนดไว้ ต้องดำเนินการแก้ไขให้เป็นไปตาม ข้อกำหนดของสินค้า การเฝ้าติดตาม และการตรวจวัดกระบวนการผลิต ศึกษากระบวนการผลิตใหม่ทั้งหมด เพื่อทวนสอบว่ากระบวนการ มีความสามารถ ใช้เป็นข้อมูลในการควบคุมกระบวนการ ผลของศึกษาต้องจัดทำเป็นเอกสาร ที่แสดงถึง Ppk > 1.67 Cpk > 1.33 การบำรุงรักษา ความสามารถ ของกระบวนการ New Model การวัดและทดสอบ ความน่าเชื่อถือ ของกระบวนการ เกณฑ์การยอมรับ

78 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
การเฝ้าติดตาม และการตรวจวัดกระบวนการผลิต (ต่อ) รักษาความสามารถของกระบวนการผลิต ตามที่ลูกค้ากำหนดในกระบวนการ อนุมัติชิ้นส่วน Control Plan และ Process Flow ต้องประกอบด้วย เทคนิคการตรวจวัด แผนการสุ่มตรวจ Control Plan Process Flow Reaction Plan เกณฑ์การยอมรับ บันทึกเหตุการณ์ที่มีนัยสำคัญ เช่น การเปลี่ยนแปลงเครื่องมือ , การซ่อมเครื่องจักร

79 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
การเฝ้าติดตาม และการตรวจวัดกระบวนการผลิต (ต่อ) ต้องจัดทำแผนปฏิบัติการ (Reaction Plan) สำหรับกระบวนการที่ไม่มีความ สามารถทางสถิติ หรือไม่คงที่ ใน Control Plan แผนปฏิบัติการต้องรวมถึง การตรวจสอบ 100% (ตามความเหมาะสม) แผนการปฏิบัติการ ต้องกำหนดระยะเวลา ผู้รับผิดชอบที่ในดำเนินการให้ สมบูรณ์ และแผนต้องได้รับการทบทวน และอนุมัติโดยลูกค้า เมื่อถูกร้องขอ เก็บบันทึกวันที่มีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการไว้เป็นหลักฐาน

80 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
8.2.4 การเฝ้าติดตาม และการตรวจวัดสินค้า เฝ้าติดตาม และตรวจวัดคุณลักษณะของสินค้า ในขั้นตอน ที่เหมาะสมของการผลิตหรือบริการ มีหลักฐานแสดงความเป็นไปตามข้อกำหนดของสินค้า และผลการอนุมัติจากผู้มีอำนาจ ไม่ปล่อยสินค้า และส่งมอบ จนกว่าจะผ่านการ ตรวจสอบ อย่างครบถ้วน ยกเว้นได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจ หรือลูกค้า การตรวจวัดทางระยะมิติ และการทดสอบการทำงาน ต้องตรวจวัดทางมิติทุกจุด และทดสอบการทำงานของผลิตภัณฑ์ตามที่ระบุใน Control Plan เก็บบันทึกผลไว้ให้ลูกค้าตรวจสอบได้ Layout Inspection Functional Test

81 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
ลักษณะภายนอก (Appearance) สำหรับองค์กรที่ลูกค้ากำหนดว่าต้องมีการตรวจ “ลักษณะภายนอก” แสงสว่างสว่างในการตรวจสอบเพียงพอ มีตัวอย่างชิ้นงานลักษณะภายนอก เช่น สี , เม็ดสี , ความเงา , ลวดลาย เป็นต้น เก็บรักษา และควบคุมตัวอย่างลักษณะภายนอก และเครื่องมือที่ใช้ในการ ประเมิน ทวนสอบความสามารถของบุคลากรที่ทำหน้าที่ประเมินว่ายังมีความสามารถ และมีคุณสมบัติที่จำเป็น Limit Sample Appearance Master

82 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
8.3 การควบคุมสินค้าที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด จัดทำ ระเบียบปฎิบัติงาน ที่ครอบคลุมขั้นตอนการชี้บ่ง และควบคุม สินค้า ที่ไม่เป็น ไปตาม ข้อกำหนด เพื่อป้องกันการนำไปใช้งาน พร้อมทั้งระบุผู้มี อำนาจหน้าที่ในการดำเนินการ การดำเนินการกับสินค้าที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด a) ขจัดความบกพร่องที่ตรวจพบ b) อนุญาติให้ใช้ หรือยอมรับโดยผู้มีอำนาจ หรือลูกค้า REJECT c) ปรับเปลี่ยน หรือยกเลิกการใช้ตามที่กำหนดไว้ ตอนเริ่มแรก มีบันทึกสภาพความบกพร่อง การดำเนินการ และการยินยอมให้ใช้ได้ ดำเนินการตรวจสอบซ้ำให้เป็นไปตามข้อกำหนดภายหลังการแก้ไข ถ้าพบข้อบกพร่องหลังการจัดส่ง หรือนำไปใช้ ให้มีการดำเนินการที่เหมาะสม

83 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
NC = Nonconfroming ส่วนเพิ่มเติม ต้องชี้บ่งสถานะ ทั้งผลิตภัณฑ์ที่เป็น NC และผลิตภัณฑ์ที่ต้องสงสัยอย่างชัดเจน 8.3.2 การควบคุมการแก้ไขผลิตภัณฑ์ ต้องมีวิธีปฏิบัติ (Work Instruction) สำหรับวิธีการแก้ไขงาน ต้องกำหนดการตรวจสอบซ้ำ โดยบุคลากรที่เหมาะสม 8.3.3 ข้อมูลลูกค้า ลูกค้าต้องได้รับการแจ้งทันที ที่มีการส่งสินค้า NC ให้ลูกค้า

84 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
8.3.4 การละเว้นจากลูกค้า (Customer Waiver) บริษัทต้องได้รับการอนุมัติจากลูกค้า เมื่อผลิตภัณฑ์ หรือกระบวนการผลิต แตกต่างไปจากที่ได้รับการอนุมัติไว้ เป็นลายลักษณ์อักษร ต้องเก็บบันทึกวันที่หมดอายุ หรือปริมาณที่ได้รับการอนุมัติ ต้องมั่นใจว่าเมื่อถึงกำหนดกระบวนการ หรือผลิตภัณฑ์ต้องกลับคืนสู่ มาตรฐานที่ได้รับอนุมัติไว้ก่อนหน้านี้ ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการอนุมัติเป็นพิเศษ ต้องมีการชี้บ่งตามที่ลูกค้ากำหนด ให้ใช้กับผลิตภัณฑ์ที่สั่งซื้อด้วย และ เห็นชอบกับ Supplier ก่อนส่งมอบลูกค้า

85 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
8.4 การวิเคราะห์ข้อมูล กำหนด รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแสดงถึงความเหมาะสม และประสิทธิภาพ ของระบบคุณภาพ รวมทั้งการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ข้อมูลที่ใช้ต้องรวมถึงผลการเฝ้าติดตาม ตรวจวัด และข้อมูลจากแหล่งอื่นๆ ผลการวิเคราะห์ต้องให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับ a) ความพึงพอใจของลูกค้า b) การเป็นไปตามข้อกำหนดต่างๆ ของสินค้า c) คุณลักษณะ และแนวโน้มของกระบวนการและสินค้า d) ผู้ขายวัตถุดิบ

86 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
8.4.1 การวิเคราะห์และใช้ข้อมูล แนวโน้มทางด้านคุณภาพ และผลการปฏิบัติงานต้องเปรียบเทียบกับเป้าหมาย และต้องดำเนินการดังนี้ จัดทำแนวทางในปรับปรุงแก้ไขทันทีกับปัญหาที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า ประเมินแนวโน้มหลักที่เกี่ยวพันกับลูกค้า ในการทบทวนสถานะ ของการตัดสิน การดำเนินการ และการวางแผนระยะยาว ระบบข้อมูลสำหรับการรายงานอย่างเป็นระยะ ถึงผลการนำผลิตภัณฑ์ไปใช้งาน ข้อมูลควรจะเปรียบเทียบคู่แข่งและ/ การเปรียบเทียบสมรรถนะที่เหมาะสม

87 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง การปฎิบัติการแก้ไขและป้องกัน
8.5 การปรับปรุง 8.5.1 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ต้องปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยการใช้ นโยบายคุณภาพ วัตถุประสงค์คุณภาพ ผลการตรวจติดตาม การวิเคราะห์ข้อมูล การทบทวนโดยฝ่าย บริหาร การปฎิบัติการแก้ไขและป้องกัน

88 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
กำหนดกระบวนการในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การปรับปรุงกระบวนการผลิต การควบคุมความ และลดความแปรปรวนของคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ และพารามิเตอร์ของกระบวนการผลิต คุณสมบัติที่ควบคุมได้กำหนดไว้ใน Control Plan

89 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
8.5.2 การปฎิบัติการแก้ไข ทำการแก้ไขความบกพร่อง เพื่อป้องกันการเกิดซ้ำ ตามความเหมาะสมของปัญหา จัดทำ ระเบียบปฎิบัติงาน เพื่อระบุข้อกำหนดสำหรับ :- a) ทบทวนความบกพร่อง b) พิจารณาหาสาเหตุ c) ประเมินความต้องการ เพื่อไม่ให้เกิดซ้ำ f) ทบทวนผลการแก้ไข การแก้ไข Corrective e) บันทึกผลการแก้ไข d) ดำเนินการแก้ไข

90 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
การแก้ปัญหา (Problem Solving) ต้องกำหนดกระบวนการในแก้ปัญหาเพื่อนำไปสู่การชี้บ่ง และลดสาเหตุต้นตอ ของปัญหา ถ้าลูกค้ากำหนดวิธีการให้ต้องใช้ตามที่ลูกค้ากำหนดไว้ เช่น 8D การพิสูจน์ความผิดพลาด (Error Proofing) ต้องใช้วิธีการพิสูจน์ความผิดพลาดในกระบวนการปฏิบัติการแก้ไข ผลกระทบของการปฏิบัติการแก้ไข ต้องนำแนวทางการปฏิบัติการแก้ไขไปใช้กับ กระบวนการและผลิตภัณฑ์อื่นที่ใกล้เคียงกัน และควบคุมการปฏิบัติเพื่อลดการเกิด NC

91 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
การทดสอบ และวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ที่คืนกลับมา ต้องวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ที่คืนกลับมาจากโรงงาน , ฝ่ายวิศวกรรม , ฝ่ายบริการ ของลูกค้า หรือตัวแทนจำหน่ายของลูกค้า ใช้เวลาในวงจรการวิเคราะห์ให้น้อยที่สุด (วิเคราะห์สาเหตุ , กำหนดแนวทาง การแก้ไข , ดำเนินการแก้ไข , ตรวจติดตามผลการแก้ไข) บันทึก และเก็บรักษาบันทึกการวิเคราะห์ไว้ กำหนดแนวทางปฏิบัติการแก้ไข เพื่อป้องกันการเกิดซ้ำ

92 8. การตรวจวัด การวิเคาะห์ และการปรับปรุง
8.5.3 การปฎิบัติการป้องกัน ทำการป้องกัน โดยพิจารณาสาเหตุของปัญหาที่อาจเกิดขึ้นตามความเหมาะสม จัดทำ ระเบียบปฎิบัติงาน เพื่อระบุข้อกำหนดสำหรับ :- a) พิจารณาสาเหตุ และความ บกพร่องที่อาจเกิดขึ้น การป้องกัน Preventive b) ประเมินความต้องการ สำหรับการป้องกัน e) ทบทวนผลการป้องกัน d) บันทึกผลการป้องกัน c) ดำเนินการป้องกัน

93 การกำหนดนโยบายคุณภาพควรพิจารณาถึงสิ่งเหล่านี้
การกำหนด และการกระจายนโยบายคุณภาพ นโยบาย คุณภาพ ความตั้งใจและทิศทางโดย รวมขององค์กรในเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพ การกำหนดนโยบายคุณภาพควรพิจารณาถึงสิ่งเหล่านี้ ระดับและชนิดของการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องที่ องค์กรต้องการประสบความสำเร็จทางด้านคุณภาพ ความคาดหวังและความพึงพอใจของลูกค้า และองค์กร การพัฒนาบุคลากรและระบบต่างๆในการปฏิบัติงาน

94 การกำหนด และการกระจายนโยบายคุณภาพ การกระจายนโยบายคุณภาพ
การแปลงนโยบายคุณภาพขององค์กร ไปเป็นวัตถุประสงค์คุณภาพ และกระจายลงไปสู่หน่วยงานต่างๆในองค์กร ความคาดหวังของลูกค้า ความคาดหวังขององค์กร ทิศทางการกระจาย นโยบายคุณภาพ การทบทวนของ ฝ่ายบริหาร วัตถุประสงค์คุณภาพ องค์กร + หน่วยงาน การวางแผน และการดำเนินงาน

95 การกำหนด และการกระจายนโยบายคุณภาพ
หลักการกำหนดวัตถุประสงค์คุณภาพ 1. สอดคล้องกับนโยบายคุณภาพ 2. จัดทำขึ้นในแต่ละหน่วยงานขององค์กร 3. สามารถวัดได้ เจาะจง วัดได้ ท้าทาย เป็นจริง

96 การกำหนด และการกระจายนโยบายคุณภาพ
ตัวอย่างวัตถุประสงค์คุณภาพ จำนวนของเสียในกระบวนการผลิตไม่เกิน 3 % จำนวนงาน Rework ไม่เกิน 3 % จำนวน NC วัตถุดิบที่พบก่อนผลิตไม่เกิน 1 % QUALITY จำนวน NC ของสินค้าสำเร็จรูปไม่เกิน 0.5 % คุณภาพ จำนวนสินค้า Claim จากลูกค้าไม่เกิน 100 ppm จำนวนข้อร้องเรียนจากลูกค้าไม่เกิน 2 เรื่อง จำนวนสินค้า A Grade เพิ่มขึ้น 10 %

97 การกำหนด และการกระจายนโยบายคุณภาพ
ตัวอย่างวัตถุประสงค์คุณภาพ ความพึงพอใจลูกค้าด้านการบริการมากกว่า 90 % ความพึงพอใจลูกค้าด้านการจัดส่งมากกว่า 80 % ความพึงพอใจลูกค้าด้านคุณภาพมากกว่า 80 % SATISFACTION ความพึงพอใจ ความภักดีของลูกค้ามากกว่า 95 % ยอดขายสินค้าเพิ่มขึ้นมากกว่าปีที่แล้ว 15 % จำนวนลูกค้าใหม่ที่เพิ่มขึ้นมากกว่าปีที่แล้ว 5 %

98 การกำหนด และการกระจายนโยบายคุณภาพ
ตัวอย่างวัตถุประสงค์คุณภาพ ส่งมอบสินค้าตรงเวลา 100 % ผลิตสินค้าได้ตามแผนมากกว่า 95 % จัดหาวัตถุดิบได้ตรงเวลา 100 % DELIVERY จัดทำตัวอย่างสินค้าได้ถูกต้องตรงเวลา 100 % การส่งมอบ เวลาในการหยุดซ่อมเครื่องจักรไม่เกิน 0.5 % ความผิดพลาดของสต็อกสินค้าไม่เกิน 1 % ผู้ขายเกรด A + B ต้องมากกว่า 90 %

99 การกำหนด และการกระจายนโยบายคุณภาพ
ตัวอย่างวัตถุประสงค์คุณภาพ ออกแบบสินค้าใหม่ให้มากกว่า 2 รุ่นต่อปี ฝึกอบรมพนักงานได้ตามแผน 100 % มีการอบรมภายนอกมากกว่า 3 หลักสูตรต่อปี IMPROVEMENT จำนวนการทำ Poka-Yoke มากกว่า 3 เรื่องต่อปี พัฒนาอย่างต่อเนื่อง จำนวนใบ PAR ที่ออกมากกว่า 3 เรื่องต่อปี ได้การรับรองระบบ ISO9001:2000 ภายในปี 2005 มีการนำระบบ TPM มาใช้ภายในปี 200ถ

100 การกำหนด และการกระจายนโยบายคุณภาพ
ตัวอย่างวัตถุประสงค์คุณภาพ ลดต้นทุนการผลิตลงให้มากกว่า 3 % ผลผลิต (Productivity) เพิ่มขึ้นมากกว่า 5 % Work in Process เมื่อเทียบกับ Input ลดลง 5 % COST ซื้อวัตถุดิบได้ถูกกว่าราคากลางมากกว่า 5 % ต้นทุน ลดการนำเข้าวัตถุดิบต่างประเทศลง 10 % สินค้าที่ไม่เคลื่อนไหว (Dead Stock) ลดลง 10 % ลดต้นทุนในการซ่อมบำรุงให้ไม่เกิน 10 %

101 P D A C การจัดการกระบวนการและวางแผนระบบคุณภาพ Start
การกำหนด และการกระจายนโยบายคุณภาพ การจัดการกระบวนการและวางแผนระบบคุณภาพ Start Do : ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานที่วางไว้ Plan : การจัดทำแผนการดำเนินงาน P D A C Check : ตรวจสอบผลการดำเนินงานว่าเป็นไปตามแผนหรือไม่ Action : ปฏิบัติการปรับปรุง แก้ไขให้พัฒนาขึ้น


ดาวน์โหลด ppt ISO/TS 16949:2002 QMS-Introduction 1.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google