งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการขนส่ง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการขนส่ง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการขนส่ง
ดร.เผด็จ ประดิษฐเพชร ปฏิบัติหน้าที่แทนผู้อำนวยการสำนักงานโครงการบริหารจัดการระบบตั๋วร่วม สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กระทรวงคมนาคม 19 ธันวาคม 2557 1

2 เทคโนโลยีสารสนเทศในระบบขนส่ง
เหตุผลหลักที่ต้องนำ Information Technology (IT) เข้ามาใช้ในระบบขนส่ง ระบบขนส่งต้องการความรวดเร็วในการขนส่งอย่างถูกต้องแม่นยำ ระบบขนส่งต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันตลอดเวลา สารสนเทศที่ถูกต้องและทันเวลาจะช่วยกิจการลดระดับสินค้าคงคลังได้ IT จะช่วยเรื่องการปรับเส้นทางและตารางเวลาขนส่งให้เหมาะสม ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบริการแก่ลูกค้า สามารถช่วยลดค่าแรงงานในการบริหารระบบขนส่งได้ ช่วยเพิ่มอัตราการใช้ประโยชน์จากปริมาตรในคลังสินค้าได้

3 IT in Transportation Activities
Information Feedback Packaging QC & Waste Forecasting Purchasing Inbound logistics Warehouse Production Warehouse transport transport Suppliers / Downstream Production Planning Scheduling Outbound logistics Order Fulfillment Return goods Customer services Distribution Customer/Upstream RO Location Planning DC = Distribution Center RO = Repairs Operation Information Feedback

4 IT ในระบบขนส่ง Hardware Software Network Database ;
ระบบเครือข่ายในการติดต่อสื่อสาร เช่น เครือข่าย EDI , Internet หรือ เครือข่ายโทรศัพท์ต่างๆ Database ; Data Warehouse Data Mining Detection Technology

5 Hardware ที่ใช้ในภาคขนส่ง
Processing Input Unit Output Storage

6 Hardware Peripherals

7 Software ที่ใช้ในภาคขนส่ง
Software ที่ใช้ในระบบขนส่งมักครอบคลุมทุกๆ ส่วนของ Supply Chain แต่สามารถแบ่งออกเป็นสองส่วนใหญ่ๆ ดังนี้ ส่วนที่ 1 เกี่ยวกับการวางแผนและควบคุมการผลิต ประกอบด้วย CAD : (Computer Aided Design) CAM : (Computer Aided Manufacturing) CIM : (Computer Integrated Manufacturing) PLC : (Programmable Logical Control) ERP : (Enterprises Resource Planning) ส่วนที่ 2 เกี่ยวกับโปรแกรมการจัดการวัสดุ ประกอบด้วย โปรแกรมเกี่ยวกับการบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Control) โปรแกรมบริหารความต้องการวัสดุ (MRP; Material Requirement Planning)

8 ERP ปัจจุบันระบบ Supply Chain Management ถูกพัฒนาให้มีการบริหารที่สะดวกรวดเร็วมากขึ้น โดยนำคอมพิวเตอร์เข้ามาเป็นเครื่องช่วยสำคัญ เรียกว่าระบบ ERP (Enterprise Resource Planning) มีบริษัทขนาดใหญ่หลายรายได้นำระบบนี้เข้ามาใช้งาน โดยหลักการเบื้องต้นของ Supply Chain Management เป็นเรื่องของการจัดการวัตถุดิบเป็นหลักก่อน ต่อมาก็จะเป็นเรื่องของการดูแลสินค้าคงคลัง และเป็นที่นิยมมากขึ้น จนเป็นเรื่องของการตอบสนองลูกค้าอย่างมีประสิทธิภาพ และทั้งหมดจะใช้บาร์โค้ดเป็นตัวหลักเพื่อเป็นการประหยัดเวลา เพราะหากสต็อกของผู้ที่รับสินค้าเราไปขายหมดลงเมื่อไหร่ระบบ Supply Chain จะแจ้งเราทันทีทางคอมพิวเตอร์ และแจ้งต่อไปยัง ซัพพลายเออร์ที่ขายวัตถุดิบให้กับเรา ส่งต่อไปให้โกดังที่ทำกล่องกระดาษบรรจุสินค้าเราโดยจะส่งต่อไปหมดทุกที่ เช่นหากมีคนไปซื้อสินค้าของเราในห้างสรรพสินค้า เมื่อไปถึงแคชเชียร์ แคชเชียร์อ่านรหัสบาร์โค้ด ระบบก็จะตัดสต็อกทันที ซึ่งระบบจะเป็นแบบนี้ตลอดไปทำให้ง่ายต่อการควบคุมสต็อกและการทำงาน จึงสามารถลดต้นทุนค่าแรงงานคนงาน ค่าจ้างพนักงานขายและต้นทุนอื่นๆ ได้อีกมาก ERP เป็น Software ขนาดใหญ่ที่บริหารองค์กรได้ทั้งต้นน้ำตลอดปลายน้ำ

9 คุณลักษณะและการใช้งานโปรแกรม ERP
Planning Source Make Deliver Marketing Enterprises Management System Purchasing Management Manufacturing planning -Aggregate plan Warehouse Management -Inventory control CRM Marketing Management Human resource Management System -Order system EOQ P/O -MPS -MRP -CRP Distribution Management Product Development Accounting GL,AR,AP,IC, AS ,PR,CHQ VMI QC/inspection Production Planning Fleet Management ; -GPS Market Analysis Finance - Capital / Asset Management Sales Support -Call center -Order entry -Sales Quotation

10 Computer Networks เครือข่ายการสื่อสารและคอมพิวเตอร์ในระบบขนส่ง
Internet , Extranet , Intranet Simplified Networks Topology EDI (Electronic Data Interchange) VPN (Virtual Private Networks) GSM (Global System for Mobile Communication) GPRS (General Packets Radio Services) GPS (Global Positioning System) Tracking System

11 Internet INTERNET (อินเทอร์เน็ต) เป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วโลกสามารถเชื่อมต่อกันได้โดยใช้มาตรฐานในการรับส่งข้อมูลที่เป็นหนึ่งเดียวทั่วโลก ในระบบโลจิสติกส์ สามารถใช้อินเทอร์เนต ในการส่งผ่านข้อมูลต่างๆ ระหว่างกิจกรรมเพื่อประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันอย่างเปิดเผย

12 Extranet Network @ Factory
Retail store การติดต่อระบบเครือข่ายออกไปภายนอกองค์กร เช่น การติดต่อระหว่างโรงงานของ Supplier กับ ร้านค้าปลีกที่มีสัญญาระหว่างกัน การเชื่อมต่อโครงข่ายแบบ Extranet จะมีผู้ให้บริการเครือข่ายที่มีหน้าที่เข้ารหัสสัญญาณ ไม่ให้ข้อมูลสำคัญถูกลักลอบในเครือข่าย

13 เครือข่ายในคลังสินค้า
Intranet เครือข่ายในคลังสินค้า เครือข่ายในโรงงาน เครือข่ายตั้งแต่ 2 เครือข่าย ขึ้นไปเชื่อมโยงติดต่อกัน ตัวอย่างเช่นในการติดต่อระหว่าง แผนก 1 กับแผนก 2 ภายในองค์กรเดียวกันมิได้ติดต่อออกไปภายนอก ใช้สำหรับสำนักงานสาขา หรือการติดต่อภายในระบบโลจิสติกส์ของบริษัทเดียวกัน เช่น โกดังสินค้ากับโรงงานเป็นต้น เพื่อให้สะดวกต่อการติดต่อสื่อสารข้อมูลการเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์ในเครือข่าย โดยที่บุคคลภายนอกเข้ามาไม่ได้เลย

14 Simplified Network Topology Exchange / Staging Server
Client/Customer Simplified Network Topology Router Exchange / Staging Server Web server Private Network DMZ Database Server Client/Office PC

15 EDI (Electronic Data Interchange)
EDI เป็นเครือข่ายการสือสารข้อมูลสำหรับการบริหารโลจิสติกส์ที่มีมานานแล้ว ส่วนมากเริ่มต้นในวงการส่งออก ชิปปิ้ง การศุลกากร ปัจจุบันเครือข่าย EDI เปลี่ยนชื่อเรียกไปหลายอย่าง เช่น VPN , Extranet

16 EDI Services Purchase Order Good Receiving
Return & Credit Notes Request Advanced EDI Services Closed System for member only Connect with UserID & Password and firewall MS-Internet Explorer , Modem &PSTN or Leads-line

17 Supply Chain Management Framework
Digital Phase Bank Bank E-Payment Barcode POS VMI VPN Virtual or Private Inter-network Retailer Suppliers Stock Stock EDI or Virtual Private Network VPN or EDI Service Provider Retailer,Wholesaler Manufacturer Logistics Management Physical Phase Automatic Replenishment

18 EDI ; Virtual Private Network
Logistic Management kulachatr Chatrakul Na Ayudhya EDI ; Virtual Private Network EDI or VPN Service Provider Virtual or Private Inter-network Encryption (Cryptography) Suppliers Retailer NU PYO

19 Tiffa EDI Services Co.,Ltd.
Thai Trade Net Co.,Ltd EDI Service Provider Tiffa EDI Services Co.,Ltd.

20 VPN (Virtual Private Network) ; Extranet)
(Extranet VPN) allows you to connect your strategic partners, customers, and suppliers to your network to share resources and to give them full or restricted access to corporate information. Being an alternative to a Private Network that you run over leased lines, the Extranet VPN offers you a economical and hassle-free solution to create your extranet. Secure communication over VPN is realized though network layer encryption The service includes a router at the premises that you want to connect to the Extranet VPN. These routers are installed, configured and managed by Service Provider in order to guarantee the highest quality services.

21 Infinitum Service Provider
ลักษณะของโครงข่าย VPN จะมีการเข้ารหัสเพื่อป้องกันความลับในเครือข่ายระบบขนส่ง โดยมีผู้ให้บริการเครือข่ายเป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อข้อมูลสำคัญ

22 GSM ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบ Cellular
GSM Global System for Mobile communications (GSM: originally from Groupe Special Mobile) is the most popular standard for mobile phones in the world. Its promoter, the GSM Association, estimates that the GSM service is used by over 2 billion people across more than 212 countries and territories. Its ubiquity makes international roaming very common between mobile phone operators, enabling subscribers to use their phones in many parts of the world. GSM differs significantly from its predecessors in that both signaling and speech channels are digital call quality, and so is considered a second generation (2G) mobile phone system. This has also meant that data communication were built into the system using the 3rd Generation Partnership Project (3GPP).

23 GPRS (General Packet Radio Service)
เป็นเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ไม่คิดค่าใช้จ่ายในแบบ Air Time แต่จะคิดตามอัตราการส่งข้อมูล เช่น 10 สตางค์ต่อการส่งข้อมูลจำนวน 1 KB (ประมาณ 1024 ตัวอักษร) เครื่องโทรศัพท์ที่สามารถใช้ระบบ GPRS ๆได้ จะออนไลน์กับระบบอินเทอร์เน็ตอยู่ตลอดเวลา โดยไม่มีการจองช่องสัญญาณเหมือนกับระบบ GSM GPRS ยังมีอัตราการส่งข้อมูลที่สูงกว่าระบบ GSM ด้วย โดยถ้าอ้างอิงตามทฤษฎี อัตราการส่งข้อมูลจะสูงถึง Kbps (ปัจจุบันอยู่ที่ประมาณ 40 Kbps) ในระหว่างการส่งข้อมูล ผู้ใช้สามารถที่จะพูดคุยโทรศัพท์ได้ตามปกติ GPRS สามารถเชื่อมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อใช้บริการต่างๆ เช่นการรับส่ง การค้นหาข้อมูล ข่าวสาร หรือติดต่อกับบุคคลต่างๆ ได้ในลักษณะ Anytime, Anywhere ในระบบขนส่งจึงสามารถประยุกต์นำระบบ GPRS ไปใช้ในระหว่างกระบวนการขนส่งได้ เพื่อติดตามข่าวสาร รับข้อมูลสำคัญระหว่างการขนส่ง ทำให้เกิดการประสานงานติดต่อกันได้ตลอดเวลา (Anytime Anywhere)

24 Topology of GPRS GPRS Hand Set

25 GPS (Global Positioning System)
GPS เป็นระบบเดียวในปัจจุบัน ที่สามารถ แสดงตำแหน่งที่อยู่ ที่แน่นอนว่าอยู่ ณ. ตำแหน่งใด บนพื้นโลกได้ทุกเวลา ทุกสภาพอากาศ ระบบนี้มีดาวเทียม 24 ดวง หมุนอยู่รอบโลก อยู่สูงขึ้นไป 11,000 nautical miles หรือประมาณ 20,200 kms. จากพื้นโลก ดาวเทียมหมุนรอบโลก แบ่งเป็น 6 ระนาบ ระนาบละ 4 ดวง โดยทำมุมเอียง 55 องศา ดาวเทียมทั้งหมดจะได้รับการควบคุมดูแล จากสถานีภาคพื้นดินทั่วโลกตลอดเวลา ระบบโลจิสติกส์ปัจจุบันประยุกต์ใช้ GPS ในการติดตามระบบขนส่ง ทำให้ทราบตำแหน่งของยานพานะได้ตลอดเวลา

26 Navigator Interfacing
GPS Satellite Navigator Interfacing

27 Tracking System ระบบติดตามยานพาหนะ
เป็นอีกเทคโนโลยีหนึ่งได้ถูกคิดค้นขึ้นมาเป็นศูนย์รวมข้อมูลที่แสดงตำแหน่งรถยนต์ เครื่องบิน เรือ เพื่อติดตามพฤติกรรมการขับขี่ การตรวจสอบตำแหน่งของพาหนะ อาศัยระบบหาพิกัด ( GPS ) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้เป็นไปด้วย ความรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และเก็บข้อมูลการทำงานต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

28 Database A collection of data organized to serve many applications efficiently by centralizing the data and minimizing redundant data ฐานข้อมูลเป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อระบบโลจิสติกส์ เพราะเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลทั้งระบบเพื่อการคำนวณค่าต่างๆ ที่จำเป็นต่อการบริหารโลจิสติกส์ เพื่อความแม่นยำ ถูกต้องและให้มีข้อมูลอยู่ที่แหล่งเดียว Production data ERP Database Inventory data CAD Purchasing data Inventory Control Data from different sources Applications

29 Data Warehouse / Data Mining
Logistics Data Data Mining / Pattern

30 Data Warehouse / Data Mining
Data Warehouse เป็นคลังเก็บข้อมูลจำนวนมาก เป็นแหล่งเก็บข้อมูลที่มีการคัดกรอง รวบรวม จับกลุ่มพร้อมต่อการถูกสกัดในขั้นตอน Mining ต่อไป Data Mining คือ การร่อนตะแกรงข้อมูลที่ได้มาจาก Database แม้ว่า Data Base จะมีระบบ Inquiry ที่ดีแต่ Mining เหมือนการขุดเหมืองแร่ที่มีการสกัดเฉพาะข้อมูลที่สำคัญ เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการวิเคราะห์ มีการคัดเลือกข้อมูลและเปลี่ยนแปลงรูปแบบข้อมูลให้พร้อมต่อการประเมินและนำเสนอ

31 Data Warehouse / Data Mining

32 Detection Technology Barcode & Peripherals
Barcode เป็นแท่งสีขาวดำสลับกัน สามารถอ่านและแปลค่ารหัสแท่งเหล่านี้ได้ด้วย Reader ซึ่งเป็นเครื่องให้กำเนิดแสงอินฟราเรด อ่านและแปลเป็นค่าดิจิตอลออกมาเป็นรหัสที่เครื่องคอมพิวเตอร์หรือคนสามารถรับรู้และนำค่าไปใช้งานได้ Barcode จึงเป็นตัวแทนสินค้าหรือสิ่งของ เพื่อให้ง่ายต่อการระบุตัวตนของสิ่งของที่จะทำการขนส่งในระบบโลจิสติกส์ได้เป็นอย่างดี เป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เพราะเป็นเทคโนโลยีที่แพร่หลายและใช้กันทั่วโลกด้วยมาตรฐานเดียวกัน

33 Barcode Printing Handheld Barcode reader Portable Barcode Printing

34 RFID Radio Frequently Identify Detection
RFID เป็นระบบที่นำคลื่นวิทยุมาเป็นคลื่นพาหะในการระบุลักษณะ เฉพาะของวัตถุแต่ละชิ้น เพื่อใช้ในการสื่อสาร ข้อมูลระหว่าง อุปกรณ์สองชนิด ที่เรียกว่าแท็ก (Tag) และตัวอ่านข้อมูล ( Reader หรือ Interrogator/ Self Check-Out ) โดยมีลักษณะการทำงานนั้น เช่นเดียวกับบาร์โค้ด แต่รองรับการใช้งานหลายอย่างที่บาร์โค้ด ไม่สามารถทำได้ เช่น แท็กของระบบ RFID จะสามารถทั้งอ่านและบันทึกข้อมูลได้ผิดจากบาร์โค้ดที่อ่านได้อย่างเดียว และไม่สามารถเปลี่ยนข้อมูลที่อยู่บนบาร์โค้ดได้

35 RFID Excellent tools

36 RFID Configuration

37

38

39 RFID Increased security and logistic efficiency
real-time location at item level real-time condition monitoring throughout the distribution process 24x7 monitoring (24 hrs x 7 Days) fast identification of out-of-limits conditions and response customer optimized website display automated identification (no need for manual scanning) confirmation of delivery at correct destination

40 การใช้ IT/RFID ในซัพพลายเชนและการขนส่ง

41 An example of an in-vehicle system is shown below with individual items tracked and monitored for criticalcondition during transit - using active tag technology: CHIEFS: Item-level tracking Active RFID technology, combined with accurate GPS positioning and reliable communication links, allows real-time automated monitoring of individual items throughout the distribution process. TRI-MEX addresses cargo theft at the full-load level through its Electronic Freight Security (EFS) service. CHIEFS (CHIpped EFS) is an extension of this service at the individual item level within the distribution process - whether mobile or in fixed facilities.

42 การใช้ IT การขนส่ง ของกรมการขนส่งทางบก

43 การใช้ IT ของ บขส.

44 ITS ระบบขนส่งและจราจรอัจฉริยะ (Intelligent Transport system)
ระบบขนส่งและจราจรอัจฉริยะเป็นระบบที่นำเอาเทคโนโลยีด้านสารสนเทศและการสื่อสารมาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในงานด้านต่างๆให้ดีขึ้น ITS เป็นแนวคิดการใช้งานของระบบที่สามารถนำมาใช้งานได้จริง โดยนำข้อมูลมาช่วยในการตัดสินใจที่ดีกว่าเดิมความสามารถที่เพิ่มขึ้นมาถือว่ามีความชาญฉลาด(อัจฉริยะ)มากกว่าเดิม อนาคตระดับความอัจฉริยะ อาจก้าวทำหน้าที่แทนคน เช่น รถขับเคลื่อนอัตโนมัติ วิเคราะห์เส้นทางที่ดีที่สุดในการเดินทาง

45 ITS ประกอบด้วยส่วนที่สัมพันธ์กัน 4 ส่วน
โครงสร้างพื้นฐานและมาตรฐานต่างๆ เช่น มาตรฐานของระหัสต่างๆ การแลกเปลี่ยนข้อมูลจราจร ยานพาหนะ ชิ้นส่วนอุปกรณ์ ประกอบยานพาหนะเช่น ระบบนำทาง ผู้ใช้รถใช้ถนนหรือผู้เดินทาง ถนนและอุปกรณ์ต่างๆที่ติดตั้งบนถนน เช่นกล้องหรือระบบตรวจวัดต่างๆ เช่น Detector

46 ระบบการขนส่งและจราจรอัจฉริยะ
ที่ได้มาตรฐานสากลสามารถสร้างเสริมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการระบบการขนส่งและจราจรของประเทศ วัตถุประสงค์ เพิ่มความปลอดภัย เพิ่มประสิทธิภาพและผลผลิตด้านการขนส่ง มีระบบการใช้บริการคล่องตัวและทั่วถึง ประหยัดพลังงาน/ลดมลภาวะ หลักการขับเครื่อนยุทธศาสตร์ ระดับเป้าหมาย - มุ่งยกระดับการบริหารจัดการระบบการขนส่งแและจราจรอัจฉริยะจากรายโครงการสู่บูรณาการทั้งระบบ ระดับยุทธศาสตร์ - สนองความต้องการของผู้ใช้บริการเป็นหลักและการส่งเสริมอุตสาหกรรม ITS ในประเทศ ระดับปฏิบัติ การจัดทำแผนปฏิบัติ การตามกลุ่มบริการ ITS และเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ (1) 1. การให้ข้อมูลแก่ผู้เดินทาง 2.การจัดการจราจรและขนส่ง 3.การปฏิบัติการขนส่งสินค้า 4. การจัดการขนส่งสาธารณะ 5.ความปลอดภัยและความมั่นคงและการจัดการเหตุฉุกเฉิน 1.การให้ข้อมูลก่อนการเดินทาง 2.การให้ข้อมูลระหว่างการขับขี่ 3.การให้ข้อมูลระหว่างการเดินทางขนส่งสาธารณะ 4.การให้ข้อมูลส่วนบุคคล 5.การแนะนำเส้นทางและระบบนำทาง 6.การสนับสนุนการวางแผนการขนส่ง 1.การควบคุมการจราจร 2.การจัดการ อุบัติการณ์ 3.การจัดการความต้องการ 4.กฏจราจรและการบังคับใช้ 1.การตรวจปล่อยรถสินค้า 2.ขบวนการบริหารรถขนส่งสินค้า 3.การจัดการกองยานพาหนะขนส่งสินค้า 4.การจัดการขนส่งวัตถุอันตราย 1.การตรวจปล่อยรถสินค้า 2.ขบวนการบริหารรถขนส่งสินค้า 3.การจัดการกองยานพาหนะขนส่งสินค้า 4.การจัดการขนส่งวัตถุอันตราย 1.ความปลอดภัยในการเดินทางระบบสาธารณะ 2.การเพิ่มความปลอดภัยสำหรับผู้ใช้ถนนกลุ่มเสี่ยง 3.การจัดการรถฉุกเฉิน 4. วัตถุอันตรายและการแจ้งอุบัติการณ์ ยุทธศาสตร์ หลัก

47 ระบบการขนส่งและจราจรอัจฉริยะ
ที่ได้มาตรฐานสากลสามารถสร้างเสริมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการระบบการขนส่งและจราจรของประเทศ วัตถุประสงค์ เพิ่มความปลอดภัย เพิ่มประสิทธิภาพและผลผลิตด้านการขนส่ง มีระบบการใช้บริการคล่องตัวและทั่วถึง ประหยัดพลังงาน/ลดมลภาวะ หลักการขับเครื่อนยุทธศาสตร์ ระดับเป้าหมาย - มุ่งยกระดับการบริหารจัดการระบบการขนส่งแและจราจรอัจฉริยะจากรายโครงการสู่บูรณาการทั้งระบบ ระดับยุทธศาสตร์ - สนองความต้องการของผู้ใช้บริการเป็นหลักและการส่งเสริมอุตสาหกรรม ITS ในประเทศ ระดับปฏิบัติ การจัดทำแผนปฏิบัติ การตามกลุ่มบริการ ITS และเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ (2) 6. การชำระค่าธรรมเนียมอิเล็กทรอนิกส์ 7. การเพิ่มขีดความสามารถการบริหารจัดการ 1.ธุรกรรมการเงินอิเล็กทรอนิกส์ 2. การบูรณาการระบบชำระค่าธรรมเนียม 1.การจัดทำโครงสร้างด้านองค์กรสำหรับ ITS 2. การสร้างความรู้ความเข้าใจในประโยชน์ของ ITS 3. การพัฒนาบุคลากรด้าน ITS 4. การวิจัยและพัฒนางานด้าน ITS 5. ส่งเสริมการร่วมทุนและการประสานงานระหว่างหน่วยงานภาคต่างๆ 6. ความสะดวกในการจัดหาเครื่องมือและข้อมูล 7. การสนับสนุนความร่วมมือนานาชาติด้าน ITS ยุทธศาสตร์ หลัก

48 การดำเนินการระบบรายงานสภาพการจราจรในประเทศไทย
สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร

49 การดำเนินการระบบรายงานสภาพการจราจรในประเทศไทย
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย

50 การดำเนินการระบบรายงานสภาพการจราจรในประเทศไทย
กองบังคับการตำรวจจราจร

51 การดำเนินการระบบรายงานสภาพการจราจรในประเทศไทย
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม

52 การดำเนินการระบบรายงานสภาพการจราจรในประเทศไทย
สถานีวิทยุพิทักษ์สันติราษฎร์ (สวพ.91)

53 การดำเนินการระบบรายงานสภาพการจราจรในประเทศไทย
กรุงเทพมหานคร

54 การดำเนินการระบบรายงานสภาพการจราจรในประเทศไทย
สถานีวิทยุ จส.100 ผ่านทางคลื่นความถี่วิทยุ FM 100 เมกะเฮิรตซ์ ผ่านทางเว็บไซต์

55 ระบบการจัดทำเอกสารรายงานสภาพการจราจร
ประเภทของรายงาน รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน รายปี ข้อมูลปริมาณจราจร ข้อมูลความเร็วเฉลี่ย ในการเดินทาง ข้อมูลปริมาณจราจรรวม ขาเข้า-ออก พื้นที่ชั้นใน วงแหวนรัชดาภิเษก ภาพสภาพจราจรเคลื่อนไหว

56 ระบบการรายงานสภาพการจราจร

57

58 ภาพรวมการเชื่อมต่อระบบและการใช้งานตั๋วร่วม
องค์ประกอบ ผู้ให้บริการ AFC ในปัจจุบัน บัตรโดยสาร ร่วม ผู้ให้บริการในอนาคต ผู้ให้บริการ ขนส่งฯ บัตรโดยสาร National Card NC เครื่องอ่าน ติดตั้งระบบ AFC เพื่อรองรับ ระบบตั๋วร่วม Back Office ศูนย์บริหารจัด การรายได้ กลาง(CCH)

59 ภาพรวมโครงสร้างระบบตั๋วร่วม
Multiple Card Issuers Ticket Issuers CTO/CTC Ticket Issuer Ticket Issuer BSS Issuer Co-branded card issuer KMS KMS CCH CCH Non-transit CH TSC CH MRTA CH BSS CH Central Computer Retail CC TSC CC TOLL CC BUS CC ARL CC BMCL CC BTS CC BRT CC Purple CC Station Computer Retail EXAT 7-11 Store EXAT Non 7-11 EXAT S1 DMT Plaza EXAT EXAT Plaza EXAT DOH Plaza EXAT Ferry Pier 1 Ferry Pier 2 Depot 1 Depot 2 S1 S2 S1 S1 S2 S1 S2 S1 Ext. S1 S2 Reader R1 R1 R1 R3 R1 R3 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R2 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R2 R1 R2 R1 R2 R1 R2 R1 R2 R1 R2 BTS BMA. R1 Reader (SAM) for national card standard R3 Reader (SAM) for existing non-transit card standard R2 Reader (SAM) for existing transit card standard

60 นโยบายและประโยชน์ของโครงการระบบตั๋วร่วม
นโยบายในการดำเนินงาน ประโยชน์ของระบบในแต่ละส่วน ใช้บัตรเพียงใบเดียวในการเดินทางทุกระบบขนส่งและชำระค่าสินค้า สามารถใช้งานครอบคลุมระบบ ขนส่งมวลชนทุกรูปแบบ สามารถต่อยอดใช้งานไปยังภาค ส่วนอื่นนอกเหนือจากภาคขนส่ง สามารถมีผู้ออกบัตรและผู้ร่วม ออกบัตรได้หลายราย ภายใต้ มาตรฐานเดียว สามารถขยายระบบศูนย์บริหาร จัดการรายได้กลางเพื่อรองรับ ธุรกรรมในอนาคต สามารถทำรายการได้อย่าง แม่นยำ น่าเชื่อถือ โปร่งใส ภายในเวลาที่กำหนด ประชาชน การจราจรสะดวกขึ้น เนื่องจากมีผู้ใช้รถสาธารณะมากขึ้น ได้รับส่วนลดค่าโดยสารจากการใช้บัตร ลดต้นทุนในการดำเนินการบริหารจัดการบัตรโดยสาร ผู้ประกอบการด้านการขนส่ง ลดความเสี่ยงจากการทุจริตในการบริหารจัดการ มีจำนวนผู้โดยสารใช้งานในระบบเพิ่มขึ้น ภาครัฐได้รับความยืดหยุ่นและอำนาจในการควบคุมอัตราค่าโดยสาร ภาครัฐ ได้รับข้อมูลการจราจรเพื่อใช้ในการวางแผนพัฒนาระบบขนส่ง ประชาชนใช้ระบบโดยสารสาธารณะเพิ่มขึ้น สร้างมาตรฐานสากลของระบบตั๋วร่วมสำหรับการพัฒนาในอนาคต

61 แผนและระยะเวลาในการจัดทำระบบตั๋วร่วม
2557 2558 2559 การจัดทำระบบ CCH ธ.ค. 57 มิ.ย. 58 ธ.ค. 58 มิ.ย. 59 มิ.ย. 61 ลงนามในสัญญา CCH แล้วเสร็จ Maintenance (DLP) เป็นระยะเวลา 24 เดือน Design 6 Implement Test & Trial run 12 18 42 F/E Prototype implementation 12 การจัดตั้ง CTC ส.ค. 57 อนุมัติหลักการ CTC จัดตั้งหน่วยงานฯ ร่วมตรวจรับงาน สนข. ดำเนินการจัดตั้ง CTC และ PPP จัดตั้ง CTC แล้วเสร็จ ระยะที่จะเข้าสู่การใช้ตั๋วร่วม ขยายผล ทางด่วน รถไฟฟ้าเส้นทางใหม่ รถโดยสารประจำทาง รถไฟฟ้า 3 สาย ทางด่วน รถโดยสารประจำทาง เรือด่วน Non-Transit

62 METRO RAIL CTO SP’s DEPOT STATION CCHS Central Computer
Station Computer SAM ECU

63 Bus Driver Console (BDC)
PUBLIC BUS CCHS Bus Management System (BMS) Cellular Network GPRS, EDGE, 3G, LTE Data Concentrator GPS Data Collector Bus Depot Data Collector Bus Depot Data Collector Bus Depot Bus Driver Console (BDC) Access Point OR Exit Reader Entry Reader Cash Box Portable checker Handheld Fare Collector

64 Merchant/Retail/Outlet
NON-TRANSIT CTO CCH Non-Transit Acquirer Data Acquirer Convenience Store Online Network Merchant/Retail/Outlet

65

66

67

68 Red Line Corridor Concept
MRT CT LD HST MRT Mass Rapid Transit CT Commuter Train LD Long Distance HST Hi-Speed Train MRT

69

70

71

72 แผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพฯและปริมณฑล
ที่ผ่านมา เร่งรัด 10 ปี 20 ปี 12 สายทาง509 km 391 km 236 km 2552 2542 2547 2.2 km 24 km 20 km 2537 2543 2547 2548 2549 2553 2562 2572 URMAP Revised URMAP (BMT) IMAC MRT Modernization MRTS MASTER PLAN (MTMP) M-MAP ( )

73 แนวคิดการวางแผนโครงข่าย
รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (MRT) รถไฟชานเมือง (CT) ระบบขนส่งมวลชนอื่นๆ (LRT, BRT, Bus Feeder) แนวคิดการวางแผนโครงข่าย อยุธยา บางปะอิน CT ปทุมธานี CT MRT Radial Circumference ศูนย์กลางการคมนาคม - พหลโยธิน (สถานีบางซื่อ) - มักกะสัน (CAT) 50 Km 40 LRT พุทธมณฑล 30 20 10 ลาดกระบัง MRT นครปฐม สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา สมุทรสาคร 73

74 GMS Location at Heart of Asia
China Korea Afganistan Japan Pakistan East Asia / Europe Bangladesh India Myanmar Laos Thailand South Asia Vietnam Philippines Cambodia Sri Lanka Malaysia Brunei Singapore Indonesia Asean/Australia America

75 Trendsetter for GMS Transport Logistics
China the top destination for foreign direct investment projects Due to the gigantic domestic and export market, China has an enormous demand in the logistics and transport sector and the country handles the largest volume of freight in the world Trade Liberalization Free Trade Agreements Greater Mekong Subregion (GMS) Cross Border Transport Agreement ASEAN Economic Community in 2015 New Linkages with neighboring countries Road R 3 E, R 2 Bridge over the Mekong River at Chiang Kong – Houayxay Railway extension to Laos at Nong Khai

76 Development Modality under the Ministry of Transport

77 Mukdahan -Savannakhet
Economic Corridors PRC Chiang Rai Myanmar Lao PDR Pilot Sister City Mukdahan -Savannakhet MaeSod-Myawaddy Yangon Danang EWEC BKK. Vietnam Andaman Sea Cambodia NSEC Trad- Koh Kong SEC Hochiminh City Gulf of Thailand

78 Thank you for your attention
Question & Answer? Thank you for your attention


ดาวน์โหลด ppt การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการขนส่ง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google