ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
19 พฤศจิกายน 2559 ณ ห้องประชุมสักทอง1
การประชุมชี้แจงแนวทางประเมินผล การศึกษาขั้นพื้นฐานระดับเขตพื้นที่การศึกษา ปีการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 19 พฤศจิกายน 2559 ณ ห้องประชุมสักทอง1 ศน.บุษยมาศ แบ่งทิศ กลุ่มงานวัดและประเมินผลสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
2
O-NET 2559 ครูผู้สอน/ครูวิชาการ ศึกษา โครงสร้างข้อสอบ O-NET 2559
เรียงลำดับน้ำหนักคะแนน มฐ./ตชว. ที่ออกข้อสอบมากที่สุด นำมาเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนานักเรียน นำผลสอบ Pre O-NET ไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน การพัฒนานักเรียนด้านการจัดทำข้อสอบอัตนัย วิชาภาษาไทย ชั้น ป.6 โรงเรียนได้ดำเนินการพัฒนา
3
ข้อสอบอัตนัยแบบเขียนตอบ จำนวน ๒ ข้อ คะแนน ๒๐ คะแนน ใช้เวลาในการทดสอบ ๓๐ นาที
4
อัตนัย ภาษาไทย ป.6
6
ครูพัฒนาเครื่องมือประเมิน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
พัฒนาครู ครูพัฒนาเครื่องมือประเมิน ครูพัฒนานักเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
7
ระยะที่1
12
เกณฑ์
13
เกณฑ์
14
(National Test: NT) การทดสอบความสามารถพื้นฐาน ของผู้เรียนระดับชาติ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2559
15
ภาษา (Literacy) การคิดคำนวณ (Numeracy) NT ป.3 เหตุผล (Reasoning Ability)
16
วันพุธที่ 8 มีนาคม 2560 วันสอบ วันจันทร์ที่ 24 เมษายน 2560 ประกาศผล
17
รูปแบบการบริหารจัดการ NT
คณะกรรมการอำนวยการระดับ สพฐ. คณะอนุกรรมการอำนวยการระดับจังหวัด คณะอนุกรรมการอำนวยการระดับเขตพื้นที่ เขตพื้นที่การศึกษา รร.ตชด. รร.อปท./เทศบาล/ กทม./พัทยา รร.สพฐ. รร.เอกชน รร.สาธิต
18
บทบาทหน้าที่ สพฐ. เขตพื้นที่ โรงเรียน แต่งคณะกรรมการอำนวยการ
สร้างข้อสอบ NT ประสานหน่วยงานต่างสังกัด ประชุมชี้แจงเขตพื้นที่ จัดสรรงบประมาณการสอบ จัดพิมพ์ข้อสอบและกระดาษคำตอบ จัดส่ง – รับกระดาษคำตอบ ตรวจเยี่ยมสนามสอบ ตรวจข้อสอบและประมวลผล เผยแพร่ข้อสอบและเฉลย รายงานผลการสอบ แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการ แต่งตั้งคณะกรรมการคุมสอบ ชี้แจงแนวทางการบริหารจัดการสอบ NT รับ – ส่งข้อมูลนักเรียน (เริ่มต้น) ติดตามการตรวจสอบข้อมูลนักเรียนของโรงเรียน ในระบบ NT Access จัดส่งข้อสอบไปยังสนามสอบ รับ - ส่งกระดาษคำตอบ บริหารจัดการสอบ ตรวจข้อสอบอัตนัย ส่งข้อมูลนักเรียนมายังเขตพื้นที่ (เพิ่มเติมจาก DMC) ตรวจสอบข้อมูลนักเรียนในโรงเรียนในระบบ NT Access จัดสอบ NT แจ้งผลการสอบ NT ให้แก่นักเรียนเป็นรายบุคคล
19
การจัดส่งข้อมูลนักเรียน
ใช้ข้อมูลนักเรียนชั้น ป.3 ร่วมกับการสอบการอ่านออกเขียนได้ (ไม่ต้องส่งข้อมูลใหม่) โดยใช้ข้อมูลจากฐาน DMC เป็นหลักแล้ว ใช้ข้อมูลจากการประชุมครั้งนี้มาผนวก มีการตรวจสอบข้อมูลนักเรียนในช่วงเดือน พฤศจิกายน 2559 (โรงเรียนตรวจสอบข้อมูล) ตรวจสอบแล้ว ยังไม่ได้ตรวจสอบ ยังไม่มีข้อมูล ตรวจสอบข้อมูลนักเรียนผ่านระบบ NT Access
20
ระบบการเข้าถึงการบริหารจัดการสอบ NT (NT Access)
เริ่มใช้ระบบวันที่ ……….. NT Access เขตพื้นที่การศึกษา 1 2 NT ESAR สถานศึกษา
21
ระบบการเข้าถึงการบริหารจัดการสอบ NT (NT Access)
1. เป็นระบบใหม่ที่พัฒนาแยกมาจากระบบ EPCC เดิม (ของเดิมยังมีอยู่) 2. เป็นระบบที่โรงเรียน และเขตพื้นที่การศึกษา สามารถเข้าถึงการจัดสอบ NT ได้ 3. การเข้าถึงของโรงเรียนและนักเรียน จะเป็น 3.1 การดูผลการสอบ NT ในปีที่ผ่านมาถึงปัจจุบัน 3.2 ตรวจสอบข้อมูลนักเรียนในสถานศึกษาของตนเอง 4. การเข้าถึงของเขตพื้นที่การศึกษา จะเป็นการ 4.1 ส่งข้อมูลจำนวนนักเรียนที่เข้าสอบในแต่ละสถานศึกษาในเขตของตนเอง 4.2 ตรวจสอบข้อมูลจำนวนนักเรียนที่เข้าสอบในแต่ละสถานศึกษาในเขตของตนเอง 4.3 รับ-ส่ง รหัสการเข้าถึง NT Access 4.4 รับเฉลยข้อสอบอัตนัยจาก สพฐ. 4.5 ดูรายงานผลการสอบ NT ในปีปัจจุบันเป็นต้นไป (ปี2559) 4.6 วิเคราะห์และประมวลผลการจัดสอบในระดับเขตพื้นที่ (ESAR) 4.7 สอบถามหรือแจ้งปัญหา หรือแนะนำข้อเสนอแนะที่เกี่ยวกับ NT ในปีปัจจุบัน
22
การรับส่งข้อสอบและเฉลย
1. การส่งข้อสอบจะส่งข้อสอบไปยังเขตพื้นที่ 1 – 7 มีนาคม 2560 2. หน่วยงานอื่นๆ มารับข้อสอบที่เขตพื้นที่การศึกษา 3. การส่งเฉลยจะส่งผ่านทางระบบ NT Access (จะส่งรหัสเปิดไฟล์เฉลย ไปให้ในเวลา น. ของวันที่ 8 มีนาคม 2560) 4. การส่งกระดาษคำตอบ แนวทางที่ 1 ส่งมาที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระหว่าง วันที่ 10 – 15 มีนาคม 2560 แนวทางที่ 2 ส่งมาทางบริษัทที่จัดส่งข้อสอบ 10 – 15 มีนาคม 2560 5. เปิดเผยข้อสอบพร้อมเฉลย ตั้งแต่วันที่ 10 มีนาคม เป็นต้นไป หรือวันที่เขตสุดท้ายส่งข้อสอบมายัง สพฐ.
23
การบริหารจัดการสอบ วันสอบ วันที่ 8 มีนาคม 2560 เวลา 8.30 – 14.00 น.
2. แต่งตั้งคณะกรรมการคุมสอบจากต่างโรงเรียน 3. เขตพื้นที่เป็นหน่วยงานหลัก ประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน ต่างสังกัดในจังหวัด (สพฐ.จะทำหนังสือขอความร่วมมือไปยังหน่วยงาน ต้นสังกัด) 4. สพฐ.จะเป็นผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการผลิตข้อสอบและกระดาษคำตอบ ให้แก่นักเรียนทุกสังกัด (รวมการจัดส่งด้วย)
24
การประมวลผล 1. หน่วยงานที่ประมวลผลคือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2. ประมวลผลข้อมูลเป็นรายบุคคล รายโรงเรียน รายเขตพื้นที่ รายจังหวัด รายภาค รายสังกัด และภาพรวมประเทศ 3. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆของนักเรียนกับ ความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน (งานวิจัย)
25
การรายงานผล 1. ประกาศผลสอบ วันที่ 24 เมษายน 2560 เป็นต้นไป 2. ดูผลสอบของนักเรียนผ่านระบบ NT Access 3. ปรับเปลี่ยนแบบรายงานผลสอบผู้เรียนเป็นรายบุคคล
26
ในปีการศึกษา 2559 คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ การประเมินฯ ต้องดำเนินการร่วมกับทุกสังกัด การอ่านออกเขียนได้ภาคเรียน 2 ทุกชั้นปี (ป.1-4) วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560
27
ในปีการศึกษา 2559 คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ การประเมินฯ ต้องดำเนินการร่วมกับทุกสังกัด การวัดผลสัมฤทธิ์ด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง ระหว่างวันที่ 27 ก.พ. - 3 มี.ค.2560
28
แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ ด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง
19/11/55 แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ ด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2559
29
จุดประสงค์การประเมิน
1. เพื่อให้ครูและโรงเรียนใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามหลักสูตรในการประเมินและ ได้เห็นตัวอย่างของเครื่องมือที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 2. เพื่อให้โรงเรียนนำผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุมาตรฐาน ตัวชี้วัดสำคัญในหลักสูตร และเน้นให้ผู้เรียนใช้ทักษะการคิดขั้นสูง 3. เพื่อให้เขตพื้นที่การศึกษาใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามหลักสูตรในการประเมิน และนำผลการประเมินมาใช้ในการนิเทศ ติดตาม และสนับสนุนกระบวนการจัดการเรียนการสอน
30
กลุ่มสาระการเรียนรู้
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน ระดับชั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวนข้อ คะแนนเต็ม เวลานาที ป.2 ภาษาไทย 25 60 50 ป.4 100 คณิตศาสตร์ 30 90 วิทยาศาสตร์ ป.5 40 ม.1 30๐ 120 สังคมศึกษาศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 45 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ม.2 กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๒, ๔ ,๕ และชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ทุกคนในทุกโรงเรียนซึ่งอยู่ในทุกสังกัด
31
รูปแบบของแบบทดสอบ แบบเลือกตอบ 1 คำตอบ (Multiple choice)
ในปีการศึกษา มี 5 รูปแบบ แบบเลือกตอบ 1 คำตอบ (Multiple choice) แบบเลือกตอบเชิงซ้อน (Complex Multiple Choices) แบบเลือกตอบหลายคำตอบ ( Multiple Response) แบบสร้างคำตอบแบบปิด/สร้างคำตอบสั้น ๆ (Closed construct/Short answer) แบบขยายคำตอบ/ไม่จำกัดคำตอบ /สร้างคำตอบอิสระ (extended-response question)
32
แนวการให้บริการข้อสอบกลาง ปีการศึกษา 2559
คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ใช้ข้อสอบกลางร้อยละ 20 ของคะแนนสอบปลายภาคเรียนที่ 2 ในระดับชั้น ป.2 ภาษาไทย ป.4 ป.5 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ม.1 ม.2 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ สพฐ. ส่งข้อสอบโดย จัดชุดข้อสอบตามกรอบโครงสร้างให้ 1 ฉบับ เพื่อให้เขตดำเนินการ ในรูปแบบ PDF ทั้งนี้กำหนดสอบในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน โดย เขตพื้นที่การศึกษาต้องดำเนินการจัดสอบให้เป็นมาตรฐาน เขตพื้นที่การศึกษาส่งข้อมูลผลการสอบ โดยสุ่มโรงเรียนให้มีความครอบคลุมและเป็นตัวแทน โรงเรียน กำหนดช่วงเวลาการดำเนินการจัดสอบ (วันที่ 27 ก.พ. – 3 มี.ค. 2560)
33
แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง
1. คู่มือการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานกลางปีการศึกษา ๒๕๕๙ (กรอบโครงสร้างแบบทดสอบพร้อมข้อสอบในตัวชี้วัดที่สำคัญในแต่ละระดับชั้นและกลุ่มสาระการเรียนรู้ละ ๑ ฉบับ) 2. เขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการต่างๆ ตามความจำเป็นเพื่อดำเนินการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานกลางให้ได้มาตรฐาน (การจัดพิมพ์และทำสำเนาแบบทดสอบ การรับส่งข้อสอบ การกำกับ การสอบ (ควรมีการสลับกรรมการกำกับห้องสอบโดยอาจสลับจากต่างระดับชั้น /กรรมการไม่ควรกำกับห้องที่ตนเองสอน) เป็นต้น) 3. กำหนดตารางการสอบระหว่างวันที่ 27 ก.พ. – 3 มี.ค. 60 ตามความพร้อมของเขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียน อาจให้กำหนดการสอบเป็นเนื้อเดียว ไปกับการจัดสอบปลายภาคเรียนที่สองของโรงเรียนในเขตฯ โดยโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาเดียวกันต้องสอบพร้อมกันในเวลาเดียวกัน
34
การประเมินการอ่านออกเขียนได้ ชั้น ป.1 ปีการศึกษา 2559
คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ กลุ่มเป้าหมาย ประเมินนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ –๔ ทุกคน ทุกสังกัด โดย ภาคเรียนที่ 1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ (สพฐ.ทุกคน ต่างสังกัดตามความสมัครใจ) ภาคเรียนที่ 2 ประเมินนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ ๑ – ๔ (ทุกคน ทุกสังกัด)
35
การประเมินการอ่านออกเขียนได้ ชั้น ป.1 ปีการศึกษา 2559 (ต่อ)
คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ กำหนดการสอบ (สอบพร้อมกันทั่วประเทศ) ภาคเรียนที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 วันที่ 28 กันยายน 2559 ภาคเรียนที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 4 วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 ตารางสอบ 08.30 – น. พักกลางวัน 13.00 – น. 13.30 – น. ฉบับที่ 1 อ่านออกเสียง (ภาคปฏิบัติ) ฉบับที่ 2 อ่านรู้เรื่อง (แบบทดสอบ) ฉบับที่ 3 การเขียน
37
แนวการประเมิน Pre-ONET/NT ครั้งที่ 1 ปีการศึกษา 2559
คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ เขตพื้นที่การศึกษา จัดทำโครงสร้างข้อสอบ/ชุดข้อสอบเดือน พฤศจิกายน 2559 19 พฤศจิกายน 2559 เครือข่ายจัดทำแผนการจัดสอบ Pre O-NET/Pre NT 24 พฤศจิกายน 2559 เครือข่ายรับแผ่น CD ข้อสอบ จัดสอบ Pre-ONET/NT ครั้งที่ 1 วันที่ 1-2 ธันวาคม 2559 3-5 ธันวาคม 2559 โรงเรียนกรอกคำตอบนักเรียนลงในตารางบันทึก
38
แนวการประเมิน Pre-ONET/NT ครั้งที่ 2 ปีการศึกษา 2559
คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 6) 6 ธันวาคม 2559 วิเคราะห์คะแนนสอบ 7) โรงเรียนนำผลสอบไปใช้ในการพัฒนา 8) มกราคม 2560 สอบ Pre O-NET/Pre NT ครั้งที่ 2 (ข้อสอบจาก สทศ.สพฐ.) 9) มกราคม 2560 วิเคราะห์คะแนนสอบ และนำผลสอบไปใช้ 10) 4-5 กุมภาพันธ์ 2560 สอบ O-NET
39
แนวการประเมิน Pre-ONET/NT ครั้งที่ 1 ปีการศึกษา 2559
คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ จัดสอบ Pre-ONET/NT ครั้งที่ 1 วันที่ 1-2 ธันวาคม 2559 โครงสร้างข้อสอบส่งผ่านทางระบบ E-office /และ โครงสร้างข้อสอบ Pre O-NET ครั้งที่ 1 เทียบเคียงตาม โครงสร้างข้อสอบ O-NET ปี 2559 วิเคราะห์/ประกาศ ผลสอบ Pre O-NET ครั้งที่ 1 วันที่ 6 ธันวาคม 2559
40
แนวการประเมิน Pre-ONET/NT ครั้งที่ 1 ปีการศึกษา 2559
คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 5) 8-9 ธันวาคม 2559 นำผลสอบ Pre O-NET จัดทำหลักสูตรค่ายวิชาการ (งบจังหวัด) ผู้เข้าร่วมจัดทำประกอบด้วย - หัวหน้าวิชาการเครือข่าย/ประธานเครือข่าย (8 ธันวาคม 2559) - ครูวิชาการเครือข่าย/ครูผู้สอน ประถม 5 กลุ่มสาระหลัก เครือข่ายละ 10 คน (8 ธันวาคม 2559) -ครูวิชาการเครือข่าย/ครูผู้สอน ม.ต้น 5 กลุ่มสาระหลัก เครือข่ายละ 10 คน (9 ธันวาคม 2559)
41
แนวการประเมิน Pre-ONET/NT ครั้งที่ 1 ปีการศึกษา 2559
คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 6) ธันวาคม 2559 ค่ายต้นแบบวิทยาศาสตร์ ขยายโอกาส (งบจังหวัด) ผู้เข้าร่วมจัดทำประกอบด้วย - หัวหน้าวิชาการเครือข่าย/ประธานเครือข่าย - ครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ขยายโอกาส 1 คน+นร.4คน/โรงเรียน 7) ธันวาคม 2559 เครือข่ายจัดทำค่าย ป.6/ม.3
42
การตรวจข้อสอบ Pre O-NET
-ข้อสอบ แบบปรนัย (แบบเลือกตอบ) ไม่ต้องตรวจให้คะแนน ให้กรอกคำตอบนักเรียนในแบบฟอร์ม Excel ของเขตพื้นที่ -ข้อสอบแบบอัตนัย (เขียนตอบ) ภาษาไทย/คณิตศาสตร์ ให้ตรวจ ให้คะแนน(ไม่ต้องกรอกลงในแบบ ให้ลงคะแนนไว้ที่กระดาษคำตอบ) -กรรมการ/เจ้าหน้า ดำเนินการกรอกคำตอบนักเรียนในแบบที่กำหนดให้ แต่ยังไม่ต้องกรอกคำตอบของแบบอัตนัย -กรรมการ/เจ้าหน้าที่ นำกระดาษคำตอบ นักเรียนรายบุคคล คอมพิวเตอร์ ปลั๊กไฟ มาวิเคราะห์คะแนนสอบ Pre ณ ห้องประชุมสักทอง 1
43
แผนการจัดสอบ Pre O-NET/NT
ใบกิจกรรมที่ 1 แผนการจัดสอบ
44
การประเมินกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.