ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยพรพรรณ เคนเนะดิ ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
โครงการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้ตรวจสอบภายในภาครัฐ
หัวข้อ “การบริหารจัดการและพฤติกรรมองค์กร” วิทยากร ดร.บัญญัติ บุญญา
2
กรอบแนวคิดในการบริหารจัดการ
การจัดการคุณภาพ เชิงวิทยาศาสตร์ เชิงบริหาร เชิงพฤติกรรม เชิงปริมาณ ร่วมสมัย แบบญี่ปุ่น ทฤษฎี Z ความเป็นเลิศ องค์การการเรียนรู้ การปรับรื้อระบบ
3
แนวคิดที่ 1 : การบริหารจัดการคุณภาพโดยรวม Total Quality Management(TQM)
ระบบคุณภาพ Quality การสร้างความพึงพอใจของลูกค้า โดยใช้แนวความคิดเชิงระบบของการจัดการ Management ระบบการบริหารจัดการคุณภาพ
4
แบบจำลองการจัดการคุณภาพโดยรวม Model for TQM
ส่วนประกอบที่สำคัญ 1. การพัฒนาองค์กร (Organizational Development : OD) 2. การพัฒนาทรัพยากรบุคคล (Individual Development : ID) 3. การบริหารจัดการคุณภาพ (Quality Management : QM)
5
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (TQA)
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
6
ความเกี่ยวโยงระหว่าง TQM และ PRODUCTIVITY
Quality (Q) Cost (C) Delivery (D) Safety (S) Morale (M) Ethics (E) Environment (E) TOTAL QUALITY MANAGEMENT ความเกี่ยวโยงระหว่าง TQM และ PRODUCTIVITY
7
กรอบแนวคิดในการบริหารจัดการ
การจัดการคุณภาพ เชิงวิทยาศาสตร์ เชิงบริหาร เชิงพฤติกรรม เชิงปริมาณ ร่วมสมัย แบบญี่ปุ่น ทฤษฎี Z ความเป็นเลิศ องค์การการเรียนรู้ การปรับรื้อระบบ
8
แนวคิดที่ 2 : การบริหารแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)
บิดาของการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ คือ เฟรดเดอริก วินสโลว์ เทเลอร์ (Frederick Winslow Taylor) แนวคิดที่ 1.1 Frederick Winslow Taylor แนวคิดที่ 1.2 Frank and Lillian Gilbreth แนวคิดที่ 1.3 Henry Gantt
9
แนวคิดที่ 2.1 Frederick Winslow Taylor
การจัดการแบบวิทยาศาสตร์ ค้นหาวิธีทำงานที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ศึกษาเวลาและการเคลื่อนไหวในการทำงาน ประดิษฐ์เครื่องตัดเหล็กที่มีความรวดเร็วสูง แนวคิดที่ 2.2 Frank and Lillian Gilbreth สนับสนุนแนวคิดของ Taylor บุกเบิกศึกษาการเคลื่อนไหว “Motion study ต้นแบบการพัฒนาศาสตร์ “Ergonomics” คิดค้นวิธีเรียงอิฐให้ได้งานเป็นสองเท่าในเวลาเท่ากัน จัดทำภาพยนตร์แสดงการเคลื่อนไหวของคนงาน เพื่อชี้ให้แสดงถึงการเคลื่อนไหวที่สูญเปล่า
10
แนวคิดที่ 2.3 Henry Gantt พัฒนาวิธีการอธิบายแผนโดยใช้กราฟ เรียกว่า ผังแกนต์ (Gantt Chart) และกำหนดผลประโยชน์ ตอบแทนพิเศษในรูปของโบนัสสำหรับคนงานที่สามารถทำงานได้ตามที่มอบหมายในแต่ละวัน Activity Apr May Jun Aug Sep Oct Nov Dec Jan Feb Mar $ วิจัยตลาด พัฒนาผลิตภัณฑ์ โฆษณา ประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมการขาย สำรวจความพอใจของลูกค้า ปรับปรุงเว็บไซต์
11
หลักการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
พยายามหา “วิธีที่ดีที่สุด” (one best way) ในการทำงาน ใช้วิธีการคัดเลือกแบบวิทยาศาสตร์ เช่น กำหนดมาตรฐานงาน เกณฑ์คัดเลือกคนตามตำแหน่งและเพิ่มพูนทักษะ สร้างแรงจูงใจด้วยเงินตามอัตราส่วนของงาน มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบพนักงานและฝ่ายบริหาร
12
แนวคิดที่ 3 : การจัดการเชิงบริหาร
บิดาแห่งทฤษฎีการจัดการที่เป็นสากล คือ เฮนรี่ฟาโยล (Henri Fayol) แนวคิดที่ 2.1 Henri Fayol แนวคิดที่ 2.2 Max Weber ทฤษฎีระบบราชการ
13
3.1 Henri Fayol แบ่งกิจกรรมของอุตสาหกรรมออกเป็น 6 กลุ่ม
1. กิจกรรมเทคนิค (การผลิตและการประกอบอุตสาหกรรม) 2. กิจกรรมการค้า(การซื้อ การขาย และการแลกเปลี่ยน) 3. กิจกรรมการเงิน (การหาเงินทุนและสินเชื่อ การใช้เงินทุนอย่างเหมาะสม) 4. กิจกรรมความมั่นคง ( การคุ้มครองทรัพย์สมบัติ การคุ้มครองบุคคล) 5. กิจกรรมทางบัญชี (ควบคุมสินค้า การจัดทำงบดุล การตรวจสอบต้นทุน) 6. กิจกรรมการจัดการ (Poccc) Planning การวางแผน Organizing การจัดองค์การ Commanding การบังคับบัญชา Coordinating การประสานงาน Controlling การควบคุม
14
หลักการจัดการที่มีประสิทธิภาพ 14 ประการ
1. การแบ่งงานกันทำ 2. อำนาจ+ความรับผิดชอบผู้บริหาร 3. ความมีวินัย 4. เอกภาพการบังคับบัญชา 5. มีทิศทางทำงาน 6. ผลประโยชน์ขึ้นอยู่กับส่วนรวม 7. ค่าจ้างควรพิจารณาจากผลงาน 8. การรวมอำนาจ 9. สายการบังคับบัญชา 10. ช่วงการควบคุม 11. ความเสมอภาค 12. ความมั่งคงในงาน 13. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 14. ความสามัคคี
15
แนวคิดที่ 3.2 Max Weber เป็นรูปแบบองค์กรที่ใช้เหตุผล (Logic) และประสิทธิภาพ (Efficient) โดยมีอำนาจหน้าที่ตมระเบียบ (Order) และตามกฎหมาย (Legitimate Authority) มีลักษณะ 5 ประการคือ การแบ่งงานกันทำ มีสายบังคับบัญชาเป็นลำดับหน้าที่ มีกฎระเบียบและวิธีปฏิบัติอย่างเป็นทางการ ความไม่เป็นส่วนตัว ความก้าวหน้าในงานอาชีพตามหลักคุณภาพ
16
แนวคิดที่ 4 : การจัดการเชิงพฤติกรรมศาสตร์
การจัดการเป็นทักษะที่มุ่งที่การเพิ่มความสำเร็จในองค์กรของ แต่ละบุคคลที่ปฏิบัติงาน สนใจพฤติกรรมในองค์กรของบุคคลความเป็นผู้นำ แรงจูงใจ แนวคิดที่ 3.1 George Elton Mayo แนวคิดที่ 3.2 Douglas McGregor แนวคิดที่ 3.3 Abraham Maslow “ คนทำงานได้ดีขึ้นถ้าเค้าได้รับการปฏิบัติอย่างคน ” (People work better if treated like human being)
17
4.1 จอร์จ เอลตัน เมโย (George Elton Mayo)
Hawthorne Study บิดาของการแรงงานสัมพันธ์ (Father of Employee Human Relation) ประสิทธิผลการทำงานของพนักงาน ไม่ได้ขึ้นอยู่กับค่าจ้าง/สภาพการทำงาน ขึ้นอยู่กับผู้นำ-พนักงานปฏิบัติต่อกัน
18
4.2 Douglas McGregor แบ่งพฤติกรรมของบุคคลออกเป็น 2 ด้านที่แตกต่างกัน
หรือที่รู้จักกันในนามของทฤษฏี X และ ทฤษฏี Y
19
ทฤษฎี X,Y ทฤษฎี X ทฤษฎี Y 1. ไม่ชอบทำงาน เต็มใจทำงาน
2. ขาดความกระตือรือร้น มีความรับผิดชอบ 3. ขาดความรับผิดชอบ สามารถบังคับบัญชาได้ ควบคุมได้ ริเริ่มสร้างสรรค์ 4. ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ยอมรับ+มีศักยภาพพัฒนาตนเอง
20
ปัจจัยกำหนดพฤติกรรมคน
1. ค่านิยม (values) 2. ทัศนคติ(Attitudes) 3. บุคลิกภาพ(Personality) 4. การมอง(Perception) 5. การเรียนรู้(Learning) 6. การจูงใจ(Motivation)
21
4.3 แนวคิดของ Abraham Maslow
อธิบายได้ว่าเมื่อความต้องการนั้นได้รับการตอบสนองแล้ว ความต้องการของมนุษย์ก็จะเลื่อนขึ้นไปอีกเป็นขั้นๆ 1. ความต้องการทางกายภาพ(ปัจจัย 4) (Physiological & Survival) 2. ความต้องการความปลอดภัยและมั่นคง (Safety & Security) 3. ความต้องการทางสังคม (Social or love) 4. ความต้องการเกียรติยศ (Self-Esteem/respect) 5. ความต้องการความสำเร็จในชีวิต (Self-Actualization)
22
The Father of Decision Making
แนวคิดที่ 5 : การบริหารจัดการเชิงปริมาณ (The quantitative management approach) Herbert A. Simon The Father of Decision Making ระยะเวลาของยุคนี้เริ่มต้นขึ้นในปี ค.ศ จนถึง ค.ศ. 1960 นำคณิตศาสตร์+สถิติมาช่วยการตัดสินใจ การจัดการการดำเนินการ ระบบสารสนเทศ :- MIS
23
แนวคิดที่ 6 : การจัดการร่วมสมัย (Contemporary Management Approach)
ทฤษฏีเชิงระบบ (System Theory) เสนอโดย Richard Johnson Fremont Kast และ James Rosenzweig องค์การเป็นระบบเปิด (Open System) “คำนึงถึงสภาพแวดล้อมภายนอก” ระบบย่อยต่าง ๆ ต้องสัมพันธ์กันตลอดเวลา มุ่งปรับปรุงพฤติกรรมการบริหารตามสถานการณ์เฉพาะอย่างขององค์การ
24
ทฤษฏีเชิงระบบ (System Theory)
ปัจจัยนำเข้า(inputs) ทรัพยากรทางกายภาพ ทรัพยากรทางการเงิน ทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรข้อมูล กระบวนการแปรสภาพ (transformation) หน้าที่การจัดการ การปฏิบัติด้านเทคโนโลยี กิจกรรมการผลิต ผลผลิต (outputs) สินค้าและบริการ กำไรขาดทุน พฤติกรรมพนักงาน
25
แนวคิดที่ 7 : การจัดการแบบญี่ปุ่น
ทฤษฏีการบริหารงานแบบญี่ปุ่น เทียบอเมริกา คือ เปิดโอกาสให้ลูกน้องมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ให้ความสนใจคุณภาพชีวิตที่ดีของพนักงาน มุ่งสนใจคุณภาพสินค้าและบริการ ผู้บริหารมีบทบาทเป็นผู้อำนวยความสะดวก ข้อมูลข่าวสาร ความคิด ไหลจากล่างสู่บน ดูแลพนักงานโดยการจ้างงานตลอดชีพ
26
William G. Ouichi แนวคิดที่ 8 : ทฤษฎี Z
ทำการศึกษาเปรียบเทียบการจัดการของธุรกิจอเมริกันและญี่ปุ่น โดยสรุปเป็นทฤษฎี A ทฤษฎี J และทฤษฎี Z
27
ลักษณะขององค์การ แบบอเมริกัน (A) แบบญี่ปุ่น (J) 1. การจ้างงานระยะสั้น 2. การตัดสินใจโดยบุคคลใดบุคคลหนึ่ง 3. ความรับผิดชอบเฉพาะบุคคล 4. ประเมินผลและเลื่อนตำแหน่งรวดเร็ว 5. การควบคุมอย่างเป็นทางการ 6. เส้นทางอาชีพแบบเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน 7. แยกเป็นส่วนๆ 1. การจ้างงานระยะยาว 2. การตัดสินใจเป็นเอกฉันท์ 3. ความรับผิดชอบแบบกลุ่ม 4. แบบค่อยเป็นค่อยไป 5. การควบคุมในตัวเองไม่เป็นทางการ 6. เส้นทางอาชีพไม่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน 7. มีความเกี่ยวข้องกัน
28
ลักษณะขององค์การแบบ Z (อเมริกันแบบ ปรับปรุง)
1. การจ้างงานตลอดชีพ 2. การตัดสินใจเป็นเอกฉันท์ 3. ความรับผิดชอบเฉพาะบุคคล 4. การประเมินผลและการเลื่อนตำแหน่งแบบค่อยเป็นค่อยไป 5. การควบคุมในตัวเองไม่เป็นทางการ โดยมีการวัดผลอย่างชัดเจนและเป็นทางการ 6. เส้นทางอาชีพแบบเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในระดับปานกลาง 7. มีความเกี่ยวข้องกันในลักษณะครอบครัว
29
แนวคิดที่ 9 : แนวความคิดเป็นเลิศขององค์การ
Thomas J.Peters และ Robert H.Waterman การมุ่งการกระทำ การใกล้ชิดกับลูกค้า การส่งเสริมความเป็นอิสระและความเป็นเจ้าของ การเพิ่มผลผลิตโดยอาศัยคน การมุ่งที่ค่านิยม การดำเนินธุรกิจที่เชี่ยวชาญ การมีโครงสร้างที่เรียบง่ายและมีที่ปรึกษาน้อยลง การเข้มงวดและผ่อนปรนในขณะเดียวกัน
30
โครงสร้างการทำงาน (ความเป็นเลิศ)
7-S Mc Kinevs
31
แนวคิดที่ 10 : แนวคิดองค์การเรียนรู้ (Learning Organization)
เสนอโดย Peter M. Senge แห่ง M.I.T. ท่านผู้นี้ได้เขียนหนังสือเรื่อง วินัยประการที่ห้าขององค์การเรียนรู้ (The Fifth Discipline of Learning Organization) นักวิชาการท่านนี้เสนอแนวคิดในการมองภาพรวมขององค์การ การบริหารองค์ความรู้และการพัฒนาภูมิปัญญาขององค์การ
32
แนวคิดองค์การเรียนรู้ (Learning Organization)
องค์การซึ่งมีการพัฒนาขีดความสามารถในการเรียนรู้ การปรับตัว การเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง คิดอย่างเป็นระบบ ความรอบรู้แห่งตน การสร้างวิสัยทัศน์ร่วม แบบจำลองความคิด การเรียนรู้เป็นทีม
33
แนวคิดที่ 11 : แนวคิดการปรับรื้อระบบ (Re-engineering)
James Champy Michael Hammer
34
แนวคิดการปรับรื้อระบบ (Re-engineering)
การออกแบบใหม่อย่างถอนรากถอนโคน เน้น ทีม การจูงใจ คำแนะนำ ควรใช้ในกรณีที่องค์การต้องการเปลี่ยนกลยุทธ์ในการบริหารจัดการใหม่ทั้งหมดอย่างรวดเร็ว เพื่อให้ทันกับปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลง และเป็นกลยุทธ์ ในการบริหารเชิงรุกขององค์กร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.