งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม 1 โดย ดร.สมนึก คีรีโต ผู้อำนวยการ สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม 1 โดย ดร.สมนึก คีรีโต ผู้อำนวยการ สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม 1 โดย ดร.สมนึก คีรีโต ผู้อำนวยการ สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันที่ 9 กรกฎาคม 2555 ณ โรงแรมปริ๊นพาเลซ กรุงเทพฯ 9.00 - 12.00 น. การสัมมนา การให้บริการระบบ Transport Single Window e-Logistics ภาพรวม และสร้างความเข้าใจระบบ Transport Single Window e-Logistics

2 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม วัตถุประสงค์ในการนำเสนอ  เพื่อนำเสนอภาพรวมของระบบ Transport Single Window e-Logistics (TSWeL)  อธิบายขั้นตอนการทำงาน(Business Process) ของระบบ TSWeL โดยเน้นในส่วนที่เกี่ยวข้อง กับธุรกรรมของกรมเจ้าท่า,กรมการบินพลเรือน  นำเสนอแนวทางขับเคลื่อนสู่ การใช้ระบบ TSWeL อย่างเต็มรูปในอนาคต 2

3 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม นโยบายรัฐบาล  ยุทธศาสตร์การพัฒนาโลจิสติกส์ของ ประเทศไทย พ.ศ. 2550 – 2554 กำหนด วิสัยทัศน์ให้ประเทศไทย พัฒนาไปสู่การใช้ ระบบโลจิสติกส์ที่ได้มาตรฐานสากล (World Class Logistics) เพื่อ ลดต้นทุนโลจิสติกส์ (Cost Efficiency) เพิ่มความรวดเร็ว และขีดความสามารถของธุรกิจใน การตอบสนองความต้องการของลูกค้า (Responsiveness) เพิ่มความปลอดภัยและความแน่นอน ในกระบวนการนำเข้าและส่งออกสินค้าและบริการ (Reliability and Security) 3

4 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม 4 มีระบบโลจิสติกส์ที่ได้มาตรฐานสากล (World Class Logistics) เพื่อสนับสนุนการเป็นศูนย์กลางธุรกิจและการค้าของภูมิภาคอินโดจีน วิสัยทัศน์ 19% (2548) 16% (2554) 54321 ระดับเป้าหมาย - มุ่งยกระดับการบริหารจัดการโลจิสติกส์ไปสู่ระดับ World Class Logistics Management ระดับยุทธศาสตร์ – มีจุดเน้นไปที่การยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม เป้าหมายหลักของประเทศ ระดับปฏิบัติ - การปรับเปลี่ยนในระดับปฏิบัติ (Change Management) จะต้องยึดความต้องการ ของผู้ใช้บริการเป็นที่ตั้ง หลักการ ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ การปรับปรุง ประสิทธิภาพ การบริหาร จัดการ โลจิสติกส์ใน ภาคการผลิต การเพิ่ม ประสิทธิภาพ ระบบขนส่ง และ โลจิสติกส์ การพัฒนา ธุรกิจ โลจิสติกส์ การปรับปรุง สิ่งอำนวย ความสะดวก ทางการค้า Trade Facilitation Enhancement NSW/ e-logistics การพัฒนา กำลังคนและ กลไกการ ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ Transport Warehouse & Inventory Admin. วัตถุประสงค์ 1.เพิ่มประสิทธิภาพการอำนวยความสะดวกกิจกรรมทางการค้า ซึ่งจะนำไปสู่การลดต้นทุน โลจิสติกส์ (Cost Efficiency) เพิ่มขีดความสามารถของธุรกิจในการตอบสนองความ ต้องการของลูกค้า (Responsiveness) และเพิ่มความปลอดภัยและความเชื่อถือได้ ในกระบวนการนำส่งสินค้าและบริการ (Reliability and Security) 2.สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจจากอุตสาหกรรมโลจิสติกส์และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาโลจิสติกส์ของประเทศไทย (พ.ศ. 2550-2554) ได้รับความเห็นชอบโดย ครม. เมื่อวันที่ 27 ก.พ. 2550 * ลดต้นทุนโลจิสติกจาก 19% ของ GDP ให้เหลือ 16% ของ GDP ภายใน 5 ปี

5 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม องค์ประกอบระบบ National Single Window/e-Logistics ของประเทศไทย ผู้นำเข้า-ผู้ส่งออก ตัวแทน รับจัดการขนส่ง สายเรือ สายการบิน หรือ ตัวแทน ตัวแทนออกของ ธนาคาร และ ประกันภัย ผู้ให้บริการ โลจิสติกต์ด้านต่างๆ ภาคธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง VAS ผู้ให้บริการเสริม ด้านซอฟต์แวร์ และ โลจิสติกส์ Value-Added Services เพื่อจัดทำ ซอฟต์แวร์สนับสนุน Single Window Entry และ การจัด ลำดับการนำเข้า และ ส่งออกสินค้า (Business Process Management) 6 ภาคธุรกิจการค้า และการขนส่ง 7 National Single Window (NSW) กรมศุลกากร เป็นเจ้าภาพ ศูนย์กลางแลกเปลี่ยน เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการค้า และการขนส่งสินค้า ระหว่างประเทศ 1 โครงสร้างพื้นฐานไอที มาตรฐาน และกฎหมายที่รองรับ 4 กลไกกำกับดูแล กำหนดราคา และ การประกันบริการระบบ NSW ของประเทศ 2 อ้างอิงโครงการศึกษาและวิเคราะห์ระบบอำนวยความสะดวกด้าน การค้าแก่ผู้นำเข้า และผู้ส่งออกในปัจจุบัน ก. ไอซีที 2008 ebMS = ebXML Messaging Services 3 กรมศุลกากร กรมการค้า ตปท กรมควบคุมโรค กรมประมง กรมเจ้าท่า กรมการบิน พลเรือน หน่วยงานกำกับควบคุม และ อำนวยความสะดวก (ภาครัฐ-องค์การกำกับ 35 หน่วยงาน) หน่วยกำกับอื่นๆ ebMS Process & Data Harmonization ผู้ให้บริการ Gateway Process & Data Harmonization Trade Siam CAT NetBay 5 5

6 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม 6 วัตถุประสงค์ของระบบ TSWeL 1.เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรม การแจ้งเรือเข้าออก การขอนำร่อง การขอปล่อยเรือ การขออนุญาต ใช้เรือต่างประเทศ และการขออนุญาตการบิน ของกรมเจ้าท่า และ กรมการบินพลเรือน 2.ลดเวลาและขั้นตอนด้านกระบวนการโลจิสติกส์ 3.เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของภาคเอกชน ภาครัฐ และ รัฐวิสาหกิจ 4.ลดความผิดพลาดซ้ำซ้อนของการบันทึกเอกสาร 5.เพิ่มประสิทธิภาพการกำกับควบคุมและตรวจสอบของหน่วยงานรัฐ 6.สร้างความเป็นสากลในดำเนินการด้านเอกสาร (เตรียมความพร้อมเข้าสู่การพัฒนาในกรอบความร่วมมือระหว่าง ประเทศ เช่น ASEAN Single Window, APEC Paperless Trade และ GMS Transport Facilitation)

7 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม สถาปัตยกรรมระบบโดยรวม ของการยื่นจัดทำธุรกรรมโดยใช้กระดาษ 7

8 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม สถาปัตยกรรมระบบโดยรวม ที่ดำเนินตามแผนงาน TSWeL 8 ระบบขออนุญาตการ นำเข้าอากาศยาน 8

9 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม TSWeL เปิดใช้งานธุรกรรมใดบ้าง ? กรมการบินพลเรือน  ระบบขออนุญาตการบิน กรมเจ้าท่า  การแจ้งการนำเข้าของมาจากต่างประเทศโดยเรือไทย แจ้งการสั่งหรือนำเข้าซึ่งของที่กำหนดให้บรรทุกโดยเรือไทย (พว.-จ1) แจ้งการมาถึงซึ่งของที่กำหนดให้บรรทุกโดยเรือไทย (พว.-จ2)  การแจ้งนำเข้าของที่มาจากต่างประเทศโดยเรืออื่นที่มิไช่เรือไทย แจ้งการสั่งหรือนำเข้าซึ่งของที่กำหนดให้บรรทุกโดยเรือไทย (พว.-จ1) แจ้งการมาถึงซึ่งของที่กำหนดให้บรรทุกโดยเรือไทย (พว.-จ2) ขออนุญาตบรรทุกของสั่งหรือนำเข้ามาจากต่างประเทศ โดยเรืออื่นที่มีใช้เรือไทย (พว.-ค2) แจ้งการมาถึงของของที่ได้รับอนุญาตให้บรรทุกโดยเรืออื่น ที่มิใช่เรือไทย (พว.-จ3) 9

10 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม TSWeL เปิดใช้งานธุรกรรมใดบ้าง ?  ระบบอนุญาตเช่าเรืออื่นที่มิไช่เรือไทย คำขออนุญาตเช่าเรืออื่นที่มิใช่เรือไทยในการประกอบการขนส่งทางทะเล (พว.-ค3)  ระบบตรวจการขนส่งทางน้ำ แจ้งเรือเข้า (Pre-Arrival) แจ้งเรือเข้า (Arrival) แจ้งเรือออก (Departure) คำขออนุญาตขำถ่ายสิ่งของที่ก่อให้เกิดอันตรายขึ้นได้ คำร้องขออนุญาตจอดเรือนอกเขต/เลื่อนเรือ คำขออนุญาตปล่อยเรือ  ควบคุมเรือในเมืองท่า ขอนำร่อง 10

11 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม 11 Business Process ของระบบ TSWeL

12 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม ภาพรวมขั้นตอนการใช้บริการ 12 ลงทะเบียนผู้ใช้งาน โดยแนบ CA ขอเปิดใช้งานธุรกรรม โดยแนบ ใบมอบอำนาจ กรณีกระทำการแทน อนุมัติให้ใช้งานธุรกรรมที่ร้องขอ ตรวจสอบ ใบรับรองดิจิตอล (Digital Certificate) เพื่อยืนยันการใช้งาน การเปิด Login เพื่อขอใช้บริการ ระบบ TSWeL ส่งคำร้อง ขออนุญาตการบิน หรือ ขอยื่นแบบ พว.จ1. หรือ GD หรือ นำร่อง หรือธุรกรรมใดๆ ที่ได้รับการอนุญาติร้องขอ ตรวจสอบข้อมูล และดำเนิน พิธีการอนุมัติ /ไม่อนุมัติ ตรวจสอบผลการยื่นแบบ จัดพิมพ์เอกสาร/หนังสือรับรอง 1 2 3 4 5 6 7 8 เจ้าหน้าที่ ผู้ประกอบการ

13 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม ตัวอย่างธุรกรรมที่ดำเนินการ Business to Government (B2G) การขอนำเรือเทียบท่า ของกรมเจ้าท่า 13

14 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม (Manual) กระบวนการรายงานเรือเข้า (แบบกระดาษ) ปัญหาและอุปสรรค : สายเรือส่งข้อมูลกระดาษซึ่งมีรายการข้อมูลบางรายการที่ซ้ำซ้อนกับให้กับหลายหน่วยงาน สายเรือเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางมายื่นเอกสารที่หน่วยงานต่างๆหลายครั้ง 14 กรมเจ้าท่า สถานีนำร่อง กรมเจ้าท่า

15 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม สายเรือส่งข้อมูล(กระดาษ) วิทยุ หรือ ทาง Fax ให้กับสถานีนำร่อง การท่าเรือฯ กรมการขนส่งทางน้ำ และผ่านระบบ EDI ให้กับกรมศุลฯ กระบวนการรายงานเรือเข้า (แบบกระดาษ) 15

16 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม (Automate) กระบวนการรายงานเรือเข้า (ใหม่) ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ  ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล  ตัวแทนสายเรือทำการป้อน ข้อมูลรายงานเรือเข้าเพียง ครั้งเดียว  ข้อมูลการแจ้งเรือเข้าของทุก หน่วยงานตรงกัน  ลดค่าใช้จ่ายและระยะเวลา ในการเดินทางมายื่นและรับ เอกสาร (New) 16 กรมเจ้าท่า

17 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม Single Submission กรอบเส้นประในแผนภาพ แสดงถึง การยื่นเอกสาร ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพียงครั้งเดียว สำหรับการยื่นเอกสาร รายงานเรือเข้าให้กับ กรมเจ้าท่า,สถานีนำร่อง กระบวนการรายงานเรือเข้า (ใหม่) 17

18 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม Value Added Service กรอบเส้นประในแผนภาพ แสดงถึง Workflow ที่จัดการโดยผ่าน TSWeL หรือ Value Added Service สำหรับการรายงานเรือเข้า กระบวนการรายงานเรือเข้า (ใหม่) 18

19 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม NSW Exchange กรอบเส้นประในแผนภาพ แสดงถึง Transaction ที่ผ่าน TSWeL และ NSW Exchange สำหรับการรายงานเรือเข้า กระบวนการรายงานเรือเข้า (ใหม่) 19

20 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม สถานีนำร่อง กระบวนการที่เกี่ยวข้อง กับสถานีนำร่อง แจ้งรายงานเรือเข้าใน รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ผ่าน TSWeL เพื่อติดต่อขอ เจ้าหน้าที่นำร่อง กระบวนการรายงานเรือเข้า (ใหม่) 20

21 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม กรมเจ้าท่า กระบวนการที่เกี่ยวข้อง กับกรมเจ้าท่า แจ้งรายงานเรือเข้าใน รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ผ่าน TSWeL กระบวนการรายงานเรือเข้า (ใหม่) 21

22 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม ตัวอย่างธุรกรรมที่ดำเนินการ Business to Government (B2G) การขออนุญาตการบิน ของกรมการบินพลเรือน 22

23 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม กระบวนการขออนุญาตการบิน (แบบกระดาษ) (Manual) ปัญหาและอุปสรรค : สายการบิน ยื่นเอกสารที่เป็นกระดาษ หรือ Fax ที่มีความผิดพลาดของข้อมูลสูง การบินพลเรือนเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการส่งเอกสารไปยังหน่วยงานต่างๆ 23 กรมการบินพลเรือน

24 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม สายการบิน ยื่นเอกสารขออนุญาตการบิน (Paper) ให้กับกรมการบินพลเรือน โดยคนเป็นผู้เดินทางยื่นเอกสาร หรือส่ง Fax กระบวนการขออนุญาตการบิน (แบบกระดาษ) 24

25 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม กระบวนการขออนุญาตการบิน (ใหม่) (New) (Automate) ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ  ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล  สายการบินทำการป้อนข้อมูลเข้า ระบบเพียงครั้งเดียว  ข้อมูลหนังสืออนุญาตกำหนดการ บินของสายการบินของทุก หน่วยงานตรงกันและเป็นข้อมูล เดียวกัน  ลดค่าใช้จ่ายและระยะเวลาใน การเดินทางมายื่นและรับเอกสาร 25 กรมการบินพลเรือน

26 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม กระบวนการขออนุญาตการบิน (ใหม่) สายการบิน 26 กระบวนการขออนุญาตการบิน จากบริษัทสายการบิน ให้กับกรมการบินพลเรือน ผ่าน NSW Exchange ในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์

27 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม กระบวนการแจ้งรายงานเที่ยวบิน(ใหม่) กองทัพอากาศ 27 กระบวนการส่งหนังสืออนุญาต จากกรมการบินพลเรือน ให้กับกองทัพอากาศ ผ่าน NSW Exchange ในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์

28 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม กระบวนการแจ้งรายงานเที่ยวบิน(ใหม่) บริษัทวิทยุการบิน 28 กระบวนการส่งหนังสืออนุญาต จากกรมการบินพลเรือน ให้กับบริษัทวิทยุการบิน ผ่าน NSW Exchange ในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์

29 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม กระบวนการแจ้งรายงานเที่ยวบิน(ใหม่) บมจ.ท่าอากาศยานไทย 29 กระบวนการส่งหนังสืออนุญาต จากกรมการบินพลเรือน ให้กับบมจ.ท่าอากาศยานไทย ผ่าน NSW Exchange ในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์

30 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม แนวทางขับเคลื่อนสู่การใช้งาน ระบบ TSWeL อย่างเต็มรูปในอนาคต 30

31 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม แนวทางขับเคลื่อนสู่การใช้งาน ระบบ TSWeL อย่างเต็มรูปในอนาคต  Technology อุปกรณ์ฮาร์แวร์ เน็ตเวิร์ค และ โปรแกรมระบบงานได้ถูก พัฒนา และ ทดสอบการใช้งานแล้ว  Business Process กระบวนการทำงานใหม่ที่รองรับและสอดคล้องกับการทำงาน ของอุปกรณ์และระบบได้ถูกกำหนดขึ้น และอยู่ระหว่าง ดำเนินการนำร่องการเปิดใช้งาน กับผู้ประกอบการในการ ทดสอบการใช้งานระบบ ให้เกิดความพร้อม  People อบรมขั้นตอนการใช้บริการ ทั้งด้านผู้ประกอบการที่ใช้ระบบ และเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้สามารถทำธุรกรรมได้ อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ 31

32 สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม 32 ขอขอบคุณ ดร. สมนึก คีรีโต ผู้อำนวยการโครงการ ผู้อำนวยการ สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ sk@ku-inova.org


ดาวน์โหลด ppt สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม 1 โดย ดร.สมนึก คีรีโต ผู้อำนวยการ สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google