ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยสมทรง บุตโต ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร?จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร? สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH, MPH, PhD) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม
2
เราจะพัฒนางานประจำเป็นงานวิจัยที่ดีและมากพอได้อย่างไร.....?เราจะพัฒนางานประจำเป็นงานวิจัยที่ดีและมากพอได้อย่างไร.....?
3
อำเภอ...........ของเราจะพัฒนาผลงานวิชาการ ให้ได้มาก.......? ให้ได้มาก.......? ให้ได้คุณภาพ.......? ให้ได้คุณภาพ.......?อำเภอ...........ของเราจะพัฒนาผลงานวิชาการ ให้ได้มาก.......? ให้ได้มาก.......? ให้ได้คุณภาพ.......? ให้ได้คุณภาพ.......?
4
ผลงานวิชาการ ? 1.CQI 2.Best Practice 3.นวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์ 4.วิจัย ผลงานวิชาการ ? 1.CQI 2.Best Practice 3.นวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์ 4.วิจัย
5
ผลลัพธ์ ต่อหน่วยงาน ? 1.ประหยัดทรัพยากร 2.มีผลลัพธ์ของงานสูงสุด ผลลัพธ์ ต่อหน่วยงาน ? 1.ประหยัดทรัพยากร 2.มีผลลัพธ์ของงานสูงสุด
6
คำถามสำหรับวันนี้คำถามสำหรับวันนี้ 1.เราจะเขียนมาประจำที่ทำมาแล้วใน ปี 58 เป็นงาน R2R ได้อย่างไร ? 2.งานประจำปี 59 จะทำให้เป็นงาน R2R ที่มีคุณภาพ ได้อย่างไร ?
7
งานประจำ คือ ?
8
การพัฒนางานประจำ เพื่ออะไร ? เพื่ออะไร ? ทำอย่างไรบ้าง ? ทำอย่างไรบ้าง ?การพัฒนางานประจำ เพื่ออะไร ? เพื่ออะไร ? ทำอย่างไรบ้าง ? ทำอย่างไรบ้าง ?
9
1.OV/CCA (ทั้ง 5 ยุทธศาสตร์) 2.TSH, ภาวะไอโอดีน ประเด็นเรื่องที่สำคัญของวิชาการ 2559 3.พัฒนาการ, สติปัญญา, ผล DSPM 4.GFR, CVD Risk, ความรุนแรงของโรคไต 6.DM (QS, ลด YLL, ลดเสี่ยง, ชุมชนจัดการ) 5.ผส. (QL, ADL, รร.-ชมรม, พัฒนาจิต) 7.Stroke, STEMI (QS, ป้องกัน, การจัดการโรค) 8.ตา (นร.ป.1, DR-DM, ต้อกระจก ผส.) 9.วัยรุ่นตั้งครรภ์9.วัยรุ่นตั้งครรภ์
10
วิจัยเชิงปฏิบัติการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
11
เป็นกระบวนการที่ผู้ปฏิบัติงานศึกษาการปฏิบัติงาน ของเขา โดยใช้ระเบียบวิธีวิทยาศาสตร์เพื่อค้นพบ ความจริงเกี่ยวกับสิ่งที่ปฏิบัติ หรือเป็นการแก้ปัญหา เช่น การสร้างและพัฒนาทักษะใหม่ๆ หรือวิธีการใหม่ ขึ้น เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหางานที่ปฏิบัติอยู่ โดย ดำเนินการวิจัยในที่ปฏิบัติงานนั้นเอง การวิจัยปฏิบัติการ (Action Research) การวิจัยปฏิบัติการ
12
Action Research หมายถึง วิธีการศึกษาที่มีระเบียบวิธีการเฉพาะ ประกอบด้วย 1)การกำหนดปัญหาในการปฏิบัติงาน 2) การแสวงหาลู่ทางในการแก้ปัญหา 3) การใช้วิธีการต่างๆ ในการแก้ปัญหา 4) การบันทึกรายละเอียดผลการปฏิบัติการ 5) การสรุปและเสนอผลการแก้ปัญหา หมายถึง วิธีการศึกษาที่มีระเบียบวิธีการเฉพาะ ประกอบด้วย 1)การกำหนดปัญหาในการปฏิบัติงาน 2) การแสวงหาลู่ทางในการแก้ปัญหา 3) การใช้วิธีการต่างๆ ในการแก้ปัญหา 4) การบันทึกรายละเอียดผลการปฏิบัติการ 5) การสรุปและเสนอผลการแก้ปัญหา
13
ลักษณะเฉพาะของการวิจัยเชิงปฏิบัติการลักษณะเฉพาะของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 1.เป็นปฏิบัติการที่มุ่งแก้ปัญหา/พัฒนางาน 2.ช่วยให้ได้ความจริงในกรอบวิธีการปฏิบัติ ไม่ต้องการอ้างอิงไปยังกลุ่มอื่น 3.มีลักษณะยืดหยุ่นในกิจกรรมการปฏิบัติ 1.เป็นปฏิบัติการที่มุ่งแก้ปัญหา/พัฒนางาน 2.ช่วยให้ได้ความจริงในกรอบวิธีการปฏิบัติ ไม่ต้องการอ้างอิงไปยังกลุ่มอื่น 3.มีลักษณะยืดหยุ่นในกิจกรรมการปฏิบัติ
14
จุดเด่นและจุดด้อยของการวิจัยปฏิบัติการ จุดเด่น - เป็นการวิจัยที่มีชีวิตชีวา เพราะคำนึงถึงการมี ส่วนร่วม - ผลการวิจัยคือความเจริญก้าวหน้าของทุกฝ่าย - ผลการวิจัยคือความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง จุดด้อย - ผลการวิจัยไม่สามารถสรุปอ้างอิงไปยังกลุ่ม อื่นๆได้ เฉพาะเทคนิควิธีเท่านั้นที่จะนำไป ประยุกต์กับกลุ่มอื่นๆได้ แต่อาจได้ผลไม่ เหมือนกัน จุดเด่น - เป็นการวิจัยที่มีชีวิตชีวา เพราะคำนึงถึงการมี ส่วนร่วม - ผลการวิจัยคือความเจริญก้าวหน้าของทุกฝ่าย - ผลการวิจัยคือความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง จุดด้อย - ผลการวิจัยไม่สามารถสรุปอ้างอิงไปยังกลุ่ม อื่นๆได้ เฉพาะเทคนิควิธีเท่านั้นที่จะนำไป ประยุกต์กับกลุ่มอื่นๆได้ แต่อาจได้ผลไม่ เหมือนกัน
15
Carr & Kemmis (1986) แบ่ง Action Research ออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1.Technical Action Research (ผู้วิจัยทำตัว เป็นผู้เชี่ยวชาญ) 2.Practical Action Research (ผู้วิจัยมีส่วน ร่วมกับผู้ร่วมวิจัยมากขึ้น) 3.Participatory Action Research (ทั้ง ผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัย ต่างร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ และร่วม ประเมิน) Carr & Kemmis (1986) แบ่ง Action Research ออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1.Technical Action Research (ผู้วิจัยทำตัว เป็นผู้เชี่ยวชาญ) 2.Practical Action Research (ผู้วิจัยมีส่วน ร่วมกับผู้ร่วมวิจัยมากขึ้น) 3.Participatory Action Research (ทั้ง ผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัย ต่างร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ และร่วม ประเมิน) Action Research
16
ขั้นตอนการวิจัยของ Action Research 1.ยุทธศาสตร์การ พัฒนาศักยภาพ/ สมรรถนะของแกนนำ ชุมชนและเจ้าหน้าที่ใน การพัฒนาชุมชน การวิจัยระยะที่ 3 การประเมินผล การดำเนินการ พัฒนา/แก้ไข ปัญหา การวิจัยระยะที่ 3 การประเมินผล การดำเนินการ พัฒนา/แก้ไข ปัญหา การวิจัยระยะที่ 1 การประเมิน สถานการณ์และ การวางแผน พัฒนา/แก้ไข ปัญหา การวิจัยระยะที่ 1 การประเมิน สถานการณ์และ การวางแผน พัฒนา/แก้ไข ปัญหา การวิจัยระยะที่ 2 การดำเนินการ พัฒนา/แก้ไข ปัญหา การวิจัยระยะที่ 2 การดำเนินการ พัฒนา/แก้ไข ปัญหา 1.ปัญหาที่เรามีใน ปัจจุบัน ? 2.เราจะแก้ไข ปัญหา/พัฒนา งานอย่างไร ? 1.ปัญหาที่เรามีใน ปัจจุบัน ? 2.เราจะแก้ไข ปัญหา/พัฒนา งานอย่างไร ? แผนงาน/ โครงการ/ กิจกรรม ดำเนินงาน ที่จะ แก้ปัญหาใน ปัจจุบัน ? ประเมินผล แผนงาน/ โครงการ/ กิจกรรม ดำเนินงาน ที่ ดำเนินการไปแล้ว
17
ระยะที่ 1 รอบการดำเนินงานปี 2556 จังหวัดกำหนดการพัฒนาด้วย 6 กิจกรรมสำคัญ แล้วร่วมงานวิชาการ กระทรวงปี 2556 ประชุมเชิงปฏิบัติการในแกนนำ ประสานการวิจัยระดับ CUP การแจงแจงความถี่ ระยะที่ 2 รอบการดำเนินงานปี 2557 จังหวัดและเครือข่ายร่วมกำหนดการ พัฒนาด้วย 10 กิจกรรมสำคัญ แล้วร่วมงานวิชาการกระทรวงปี 2557 Content analysis -เชิงปริมาณ -เชิงคุณภาพ Content analysis ขั้นตอนการวิจัย การแจงแจงความถี่ -เชิงปริมาณ
18
ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลการ ดำเนินการพัฒนาหมู่บ้านจัดการ สุขภาพ 1.การประเมินผลระหว่างดำเนินงาน 2.การประเมินผลเมื่อเสร็จสิ้นแผนงาน 3.การสรุปผลการพัฒนาและปัญหา จากการพัฒนาตามแผน ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนแก้ไข ปัญหาและพัฒนา 1.การวางแผนแบบมีส่วนร่วมของ ชุมชนในการพัฒนาหมู่บ้านจัดการ สุขภาพ 2.การกำหนดแผนพัฒนาหมู่บ้าน จัดการสุขภาพ 3.การเรียนรู้จาก Best Practice ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ปัญหา 1.การศึกษาสภาพทั่วไปของชุมชน / ปัญหาการพัฒนาหมู่บ้านจัดการ สุขภาพที่ผ่านมา 2.ปัญหาการพัฒนาหมู่บ้านจัดการ สุขภาพที่ผ่านมา/การมีส่วนร่วม ในการพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ของชุมชน 3.การระบุปัญหาและเรียงลำดับ ความสำคัญของปัญหา ขั้นตอนที่ 3 การดำเนินการพัฒนา ตามแผนที่กำหนด 1.การดำเนินการพัฒนาพัฒนาหมู่บ้าน จัดการสุขภาพตามแผนที่กำหนด 2.การจัดการความรู้กับชุมชนที่ประสบ ผลสำเร็จในการพัฒนา 3.การรายงานความก้าวหน้าของแผน/ กิจกรรม ขั้นตอนการวิจัย
19
เพื่อ...... -ประเมินผลและยืนยันผลการ ดำเนินงาน -การสรุปปัญหาและอุปสรรคใน การดำเนินงาน -แนวทางการพัฒนาการ ดำเนินงานให้มีคุณภาพมากขึ้น -พัฒนา/ยกระดับเกณฑ์ที่ใช้ใน การประเมินหมู่บ้านจัดการ สุขภาพให้เข้มแข็งได้อย่างไร เพื่อ...... -ประเมินผลและยืนยันผลการ ดำเนินงาน -การสรุปปัญหาและอุปสรรคใน การดำเนินงาน -แนวทางการพัฒนาการ ดำเนินงานให้มีคุณภาพมากขึ้น -พัฒนา/ยกระดับเกณฑ์ที่ใช้ใน การประเมินหมู่บ้านจัดการ สุขภาพให้เข้มแข็งได้อย่างไร เพื่อให้.... หมู่บ้าน จัดการ สุขภาพที่ เกิดขึ้นมี ศักยภาพ เข้มแข็ง มาตรฐาน และ ยั่งยืน เพื่อให้.... หมู่บ้าน จัดการ สุขภาพที่ เกิดขึ้นมี ศักยภาพ เข้มแข็ง มาตรฐาน และ ยั่งยืน....ทำให้ ประชาชน /ชุมชน พึ่งตนเอง ด้าน สุขภาพ ได้อย่าง แท้จริง....ทำให้ ประชาชน /ชุมชน พึ่งตนเอง ด้าน สุขภาพ ได้อย่าง แท้จริง ในภาพรวมประเทศและจังหวัด มหาสารคาม ยังไม่มีการ ประเมินผลการดำเนินงานตาม นโยบายการดำเนินงานนี้จากผู้ ประเมินภายนอก จากการดำเนินงานที่ผ่านมา ปัญหาเพื่อการวิจัยปัญหาเพื่อการวิจัย
20
ผลการประเมินการพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ของชุมชน 5 ด้าน ผลการประเมินระดับศักยภาพการพัฒนาหมู่บ้าน จัดการสุขภาพของชุมชน การประเมิน (6 ด้าน) 1.ด้านการรับรู้ 2.ด้านการมีส่วนร่วม 3.ด้านการได้รับผลประโยชน์ 4.ด้านความภาคภูมิใจ 5.ด้านความรู้ 6.ด้านทัศนคติ ต่อการพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ในกลุ่มผู้นำระดับครอบครัว และแกนนำ/ตัวแทนชุมชน การประเมิน (6 ด้าน) 1.ด้านการรับรู้ 2.ด้านการมีส่วนร่วม 3.ด้านการได้รับผลประโยชน์ 4.ด้านความภาคภูมิใจ 5.ด้านความรู้ 6.ด้านทัศนคติ ต่อการพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ในกลุ่มผู้นำระดับครอบครัว และแกนนำ/ตัวแทนชุมชน ผลการประเมินศักยภาพของแกนนำและตัวแทน ชุมชนในการจัดการสุขภาพชุมชน 5 ด้าน การร่วมกัน เรียงลำดับ ปัญหาการ พัฒนา หมู่บ้าน จัดการ สุขภาพ การร่วมกัน เรียงลำดับ ปัญหาการ พัฒนา หมู่บ้าน จัดการ สุขภาพ การร่วมกัน วางแผน แก้ไข ปัญหาและ พัฒนา หมู่บ้าน จัดการ สุขภาพ (การวิจัย ขั้นตอน ที่ 2) การร่วมกัน วางแผน แก้ไข ปัญหาและ พัฒนา หมู่บ้าน จัดการ สุขภาพ (การวิจัย ขั้นตอน ที่ 2) ปัญหาและสิ่งที่ต้องพัฒนา จากการวิเคราะห์สถานการณ์ ก่อนการพัฒนา ปัญหาและสิ่งที่ต้องพัฒนา จากการวิเคราะห์สถานการณ์ ก่อนการพัฒนา ปัญหาเพื่อการวิจัยปัญหาเพื่อการวิจัย
21
ความคล้ายคลึงของกระบวนการวิจัย กระบวนการบริหารและกระบวนการพัฒนาคุณภาพ ความคล้ายคลึงของกระบวนการวิจัย กระบวนการบริหารและกระบวนการพัฒนาคุณภาพ
22
กลวิธีสำหรับวันนี้กลวิธีสำหรับวันนี้ 1.เราจะเขียนมาประจำที่ ทำมาแล้วในปี 58 เป็นงาน R2R ได้อย่างไร ? 2.งานประจำปี 59 จะทำให้ เป็นงาน R2R ที่มีคุณภาพ ได้อย่างไร ? Action Research 3 ระดับ 1.Technical Action Research (ผู้วิจัยทำตัวเป็น ผู้เชี่ยวชาญ) 2.Practical Action Research (ผู้วิจัยมีส่วนร่วมกับ ผู้ร่วมวิจัยมากขึ้น) 3.Participatory Action Research (ทั้งผู้วิจัยและผู้ร่วม วิจัย ต่างร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ และ ร่วมประเมิน) Action Research 3 ระดับ 1.Technical Action Research (ผู้วิจัยทำตัวเป็น ผู้เชี่ยวชาญ) 2.Practical Action Research (ผู้วิจัยมีส่วนร่วมกับ ผู้ร่วมวิจัยมากขึ้น) 3.Participatory Action Research (ทั้งผู้วิจัยและผู้ร่วม วิจัย ต่างร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ และ ร่วมประเมิน) Action Research
23
วิจัยและพัฒนา (Research and Development) วิจัยและพัฒนา
24
การวิจัยและพัฒนา (R&D) การวิจัยและพัฒนา (The Research and Development) เป็นลักษณะหนึ่งของการวิจัยเชิง ปฏิบัติการ (Action Research) ที่ใช้กระบวนการ ศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มุ่งพัฒนาทางเลือก หรือวิธีการใหม่ๆ เพื่อใช้ในการยกระดับคุณภาพ งานหรือคุณภาพชีวิต การวิจัยและพัฒนา (R&D) การวิจัยและพัฒนา (The Research and Development) เป็นลักษณะหนึ่งของการวิจัยเชิง ปฏิบัติการ (Action Research) ที่ใช้กระบวนการ ศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มุ่งพัฒนาทางเลือก หรือวิธีการใหม่ๆ เพื่อใช้ในการยกระดับคุณภาพ งานหรือคุณภาพชีวิต
25
ข้อสังเกตของการวิจัย R&D ปัญหาการวิจัยของ R&D ต้องตอบสนอง ความต้องการสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มี 2 ลักษณะ คือ ต้องการแก้ปัญหา ต้องการสร้างนวัตกรรมใหม่ ข้อสังเกตของการวิจัย R&D ปัญหาการวิจัยของ R&D ต้องตอบสนอง ความต้องการสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มี 2 ลักษณะ คือ ต้องการแก้ปัญหา ต้องการสร้างนวัตกรรมใหม่
26
ตัวอย่างการเขียนปัญหาวิจัย 1. สิ่งใดจะช่วยให้ผู้ป่วยหรือกลุ่มเป้าหมายมี ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ....ที่ดีขึ้น 2. รูปแบบใดที่สามารถพัฒนาทักษะชีวิตของ ผู้ป่วยหรือกลุ่มเป้าหมาย....ได้ดี 3. เครื่องมือใดทำให้ผู้ป่วยมีความเจ็บปวด....ลด น้อยลง 4. อะไรทำให้องค์กรทำงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ......มากขึ้น 5. รูปแบบใดที่เหมาะสมกับการจัดการสุขภาพ ระดับชุมชนในปัจจุบัน.....ให้ดีขึ้น 6. รูปแบบการบริหารใดที่ทำให้ รพ.สต.มี ประสิทธิภาพ.........มากขึ้นตัวอย่างการเขียนปัญหาวิจัย 1. สิ่งใดจะช่วยให้ผู้ป่วยหรือกลุ่มเป้าหมายมี ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ....ที่ดีขึ้น 2. รูปแบบใดที่สามารถพัฒนาทักษะชีวิตของ ผู้ป่วยหรือกลุ่มเป้าหมาย....ได้ดี 3. เครื่องมือใดทำให้ผู้ป่วยมีความเจ็บปวด....ลด น้อยลง 4. อะไรทำให้องค์กรทำงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ......มากขึ้น 5. รูปแบบใดที่เหมาะสมกับการจัดการสุขภาพ ระดับชุมชนในปัจจุบัน.....ให้ดีขึ้น 6. รูปแบบการบริหารใดที่ทำให้ รพ.สต.มี ประสิทธิภาพ.........มากขึ้น
27
วิจัยประเมินผล (Evaluation Research) วิจัยประเมินผล
28
การวิจัยประเมินผล เป็นรูปแบบการวิจัยชนิดหนึ่ง เหมือน การวิจัยเชิงสำรวจ แต่การวิจัยประเมินผล เป็นวิธีการวิจัยที่มุ่งหาความรู้+ความจริงมา หาคุณค่าของสิ่งที่วิจัยนั้น เพื่อให้ผู้บริหาร คิด/สนใจว่าความยุติโครงการหรือให้ ดำเนินการต่อไป การวิจัยประเมินผล (Evaluation Research) เป็นรูปแบบการวิจัยชนิดหนึ่ง เหมือน การวิจัยเชิงสำรวจ แต่การวิจัยประเมินผล เป็นวิธีการวิจัยที่มุ่งหาความรู้+ความจริงมา หาคุณค่าของสิ่งที่วิจัยนั้น เพื่อให้ผู้บริหาร คิด/สนใจว่าความยุติโครงการหรือให้ ดำเนินการต่อไป
29
การวิจัยประเมินผล สามารถดำเนินการประเมินได้ใน 3 ระดับ 1. ก่อนการดำเนินงาน 2. ระหว่างดำเนินงาน 3. สิ้นสุดโครงการ การวิจัยประเมินผล สามารถดำเนินการประเมินได้ใน 3 ระดับ 1. ก่อนการดำเนินงาน 2. ระหว่างดำเนินงาน 3. สิ้นสุดโครงการ
30
กระบวนการและขั้นตอนการทำวิจัย ประเมินผล ขั้นที่ 1 เลือกโครงการและตั้งหัวข้อวิจัย ขั้นที่ 2 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ขั้นที่ 3 กำหนดปัญหา เป้าหมายและ วัตถุประสงค์ของการประเมิน ขั้นที่ 4 ออกแบบวิจัย วางแผนวิจัยประเมิน ขั้นที่ 5 เก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นที่ 6 วิเคราะห์ข้อมูลและแปรผล ขั้นที่ 7 การเสนอรายงานวิจัยประเมินผล กระบวนการและขั้นตอนการทำวิจัย ประเมินผล ขั้นที่ 1 เลือกโครงการและตั้งหัวข้อวิจัย ขั้นที่ 2 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ขั้นที่ 3 กำหนดปัญหา เป้าหมายและ วัตถุประสงค์ของการประเมิน ขั้นที่ 4 ออกแบบวิจัย วางแผนวิจัยประเมิน ขั้นที่ 5 เก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นที่ 6 วิเคราะห์ข้อมูลและแปรผล ขั้นที่ 7 การเสนอรายงานวิจัยประเมินผล
31
รูปแบบของการประเมินโครงการรูปแบบของการประเมินโครงการ
33
วิจัยประเมินผล โดยใช้รูปแบบ โดยใช้รูปแบบ CIPP Model วิจัยประเมินผล โดยใช้รูปแบบ โดยใช้รูปแบบ CIPP Model
34
การประเมินด้านบริบท หรือประเมินเนื้อความ (context Evaluation ) เป็นการศึกษาปัจจัยพื้นฐานที่นำไปสู่การพัฒนา เป้าหมายของโครงการ ได้แก่ บริบทของสภาพแวดล้อม นโยบาย วิสัยทัศน์ ปัญหา แหล่งทุน สภาพความผันผวน ทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ตลอดจนแนวโน้ม การก่อตัวของปัญหาที่อาจจะเป็นอุปสรรคต่อการดำเนิน โครงการ การประเมินด้านบริบท หรือประเมินเนื้อความ (context Evaluation ) เป็นการศึกษาปัจจัยพื้นฐานที่นำไปสู่การพัฒนา เป้าหมายของโครงการ ได้แก่ บริบทของสภาพแวดล้อม นโยบาย วิสัยทัศน์ ปัญหา แหล่งทุน สภาพความผันผวน ทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ตลอดจนแนวโน้ม การก่อตัวของปัญหาที่อาจจะเป็นอุปสรรคต่อการดำเนิน โครงการ การประเมินผล CIPP Model
35
การประเมินปัจจัยป้อน (Input Evaluation) เพื่อต้นหาประสิทธิภาพขององค์ประกอบ ที่นำมาเป็น ปัจจัยป้อน อาจจะจำแนกเป็นบุคคล สิ่งอำนวย ความ สะดวก เครื่องมือ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ศักยภาพการ บริหารงาน ซึ่งแต่ละปัจจัยก็ยังจำแนกย่อยออกไปอีก เช่น บุคคล อาจพิจารณาเป็นเพศ อายุ มีสถานภาพทางสังคมและ เศรษฐกิจ ความพึงพอใจ ความคาดหวัง ทัศนคติ ศักยภาพ ความสามารถ ประสบการณ์ ความรู้ คุณวุฒิทางการศึกษา ถิ่นที่อยู่และลักษณะกระบวนการกลุ่ม การประเมินปัจจัยป้อน (Input Evaluation) เพื่อต้นหาประสิทธิภาพขององค์ประกอบ ที่นำมาเป็น ปัจจัยป้อน อาจจะจำแนกเป็นบุคคล สิ่งอำนวย ความ สะดวก เครื่องมือ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ศักยภาพการ บริหารงาน ซึ่งแต่ละปัจจัยก็ยังจำแนกย่อยออกไปอีก เช่น บุคคล อาจพิจารณาเป็นเพศ อายุ มีสถานภาพทางสังคมและ เศรษฐกิจ ความพึงพอใจ ความคาดหวัง ทัศนคติ ศักยภาพ ความสามารถ ประสบการณ์ ความรู้ คุณวุฒิทางการศึกษา ถิ่นที่อยู่และลักษณะกระบวนการกลุ่ม การประเมินผล CIPP Model
36
การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการศึกษาต่อจากการประเมินบริบทและปัจจัย ป้อนว่า กระบวนการเป็นไปตามแผนที่วางไว้ เป็นการศึกษา ค้นหาข้อบกพร่อง จุดอ่อน หรือจุดแข็งของกระบวนการ บริหารจัดการโครงการที่จะนำโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ ที่วางไว้ว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการศึกษาต่อจากการประเมินบริบทและปัจจัย ป้อนว่า กระบวนการเป็นไปตามแผนที่วางไว้ เป็นการศึกษา ค้นหาข้อบกพร่อง จุดอ่อน หรือจุดแข็งของกระบวนการ บริหารจัดการโครงการที่จะนำโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ ที่วางไว้ว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด การประเมินผล CIPP Model
37
การประเมินผลิตผล (Product Evaluation) เป็นการตรวจสอบประสิทธิผลของโครงการ โดยเฉพาะความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์กับผลลัพธ์ที่ ได้แล้วนำเกณฑ์ที่กำหนดไว้ไปตัดสินเกณฑ์มาตรฐานนั้น อาจจะกำหนดขึ้นเองหรืออาศัยเกณฑ์ที่บุคคลหรือ หน่วยงานอื่นกำหนด การประเมินผลิตผล (Product Evaluation) เป็นการตรวจสอบประสิทธิผลของโครงการ โดยเฉพาะความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์กับผลลัพธ์ที่ ได้แล้วนำเกณฑ์ที่กำหนดไว้ไปตัดสินเกณฑ์มาตรฐานนั้น อาจจะกำหนดขึ้นเองหรืออาศัยเกณฑ์ที่บุคคลหรือ หน่วยงานอื่นกำหนด การประเมินผล CIPP Model
38
ผลลัพธ์ของการ ประเมิน ความสำเร็จของแผน ยุทธศาสตร์ระดับจังหวัด และระดับอำเภอ กรอบ การประเมินบริบท 1.การกำหนดนโยบาย ของระดับจังหวัดและ อำเภอ 2.ความสอดคล้องของ แผนยุทธศาสตร์ระดับ อำเภอและระดับจังหวัด 3.ความครบถ้วนของ ตัวชี้วัดของแผน ยุทธศาสตร์ระดับอำเภอ และระดับจังหวัด 4.การเตรียมองค์กร ประสิทธิผลของการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพของระดับอำเภอและระดับจังหวัด ประกอบด้วย ( 1) ความสอดคล้องของแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ( 2) ความครบถ้วนของตัวชี้วัด (3) ผลของตัวชี้วัดในแผนยุทธศาสตร์ ระบบสุขภาพระดับอำเภอและระดับจังหวัด กระบวนการเรียนรู้แบบสหวิทยาการ 1.การวิเคราะห์และการประเมินสภาพ 2.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างทีม/ภายในทีม 3.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างทีมระดับนโยบาย/ทีม ระดับปฏิบัติการ การมีส่วนร่วม/ความหลากหลาย 1.ทีมระดับนโยบายและทีมระดับปฏิบัติการ 2.ระหว่างทีมปฏิบัติการ 3.ภายในทีมระดับนโยบาย/ทีมระดับปฏิบัติการ การประเมินบริบทการประเมินปัจจัยนำเข้าการประเมินกระบวนการการประเมินผลผลิต กรอบ การประเมินปัจจัย นำเข้า 1.แผนปฏิบัติการ 2.การสนับสนุน งบประมาณดำเนินการ 3.การเตรียมบุคลากร กรอบ การประเมิน กระบวนการ 1.การถ่ายทอดนโยบายสู่ การปฏิบัติระหว่างจังหวัด กับอำเภอ 2.การถ่ายทอดนโยบายสู่ ผู้ปฏิบัติของหน่วยงาน 3.การนิเทศ และการ ควบคุมกำกับการ ดำเนินงาน กรอบ การประเมินผลผลิต 1.การประเมินตัวชี้วัด 2.การประเมินปัญหาการ ดำเนินงาน 3.การกำหนดแนวทาง พัฒนาในรอบปีถัดไป
39
การประเมินผล CIPP Model การประเมินบริบท การประเมินปัจจัยนำเข้าการประเมินกระบวนการ การประเมินผลผลิต แนวทางพัฒนา การดำเนินโครงการ ด้าน PP ของกองทุนฯ ในรอบปีถัดไป กรอบ การประเมินบริบท 1.การกำหนดนโยบายด้าน PP ของระดับท้องถิ่น 2.ความสอดคล้องของ แผนยุทธศาสตร์ระดับ อำเภอและระดับจังหวัด ด้าน PP กับแผน ปฏิบัติการกองทุนฯ 3.ความครบถ้วนของ กลุ่มเป้าหมายดำเนินงาน ประสิทธิผลในการจัดการปัญหาสุขภาพชุมชนของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ในจังหวัดมหาสารคาม หมายถึง ผลการดำเนินงานภาพรวมตำบลเทียบกับเป้าหมายที่กำหนดในแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพจังหวัดมหาสารคาม ปี 2558- 2561 และกำหนดเป้าหมายการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2558 ใน 5 กลุ่มวัย คือ 1) กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 2) กลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี 3) กลุ่มเด็กโตและวัยรุ่นอายุ 6-24 ปี 4) กลุ่มผู้ใหญ่ 25-59 ปี 5) กลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป กระบวนการเรียนรู้แบบสหวิทยาการ 1.การวิเคราะห์และการประเมินสภาพ 2.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างทีม/ ภายในทีม การมีส่วนร่วม/ความหลากหลาย 1.ทีมระดับนโยบายและทีมระดับ ปฏิบัติการ 2.ระหว่างทีมปฏิบัติการ 3.ภายในทีมระดับปฏิบัติการ กรอบ การประเมินปัจจัยนำเข้า 1.โครงการใน 5 ประเภท 2.การกำหนด กลุ่มเป้าหมายดำเนินงาน 3.งบประมาณดำเนินการ ในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย 3.การเตรียมความพร้อม ของผู้ดำเนินงานโครงการ กรอบ การประเมินกระบวนการ 1.การจัดการงบประมาณ โครงการ 2.การควบคุมกำกับการ ดำเนินงานตามโครงการ 3.การรายงานผล ดำเนินงานตามโครงการ กรอบ การประเมินผลผลิต 1.การประเมินผล กระบวนการ 2.การประเมินผลตัวชี้วัด ด้าน PP 3.การประเมินปัญหาการ ดำเนินงานของโครงการ SWOT Analysis
40
ความมุ่งมั่นในการ...ดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาสุขภาพของประชาชนจังหวัดมหาสารคาม...ความมุ่งมั่นในการ...ดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาสุขภาพของประชาชนจังหวัดมหาสารคาม........เพื่อให้พี่น้องชาวมหาสารคามมีสุขภาพที่ดี.......ด้วยความมุ่งมั่นของทีมงานด้านสุขภาพทุกระดับ......ด้วยความร่วมมือร่วมใจของทุกคน........เพื่อให้พี่น้องชาวมหาสารคามมีสุขภาพที่ดี.......ด้วยความมุ่งมั่นของทีมงานด้านสุขภาพทุกระดับ......ด้วยความร่วมมือร่วมใจของทุกคน...
41
ดำเนินงานตามแนวทางแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพจังหวัดมหาสารคาม ปี 2558-2561 และ กำหนดตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปี 2559 ดำเนินงานตามแนวทางแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพจังหวัดมหาสารคาม ปี 2558-2561 และ กำหนดตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปี 2559
42
แผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพจังหวัดมหาสารคาม ปี 2558-2561 แผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพจังหวัดมหาสารคาม วิสัยทัศน์ ประชาชนจังหวัดมหาสารคาม มีสุขภาพดี ภาคีมีส่วนร่วมจัดระบบบริการ สุขภาพที่ได้มาตรฐาน ภายในปี 2561 วิสัยทัศน์ ประชาชนจังหวัดมหาสารคาม มีสุขภาพดี ภาคีมีส่วนร่วมจัดระบบบริการ สุขภาพที่ได้มาตรฐาน ภายในปี 2561 เป้าหมาย 10 ปี 1. อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี 2. อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่ น้อยกว่า 72 ปี เป้าหมาย 10 ปี 1. อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี 2. อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่ น้อยกว่า 72 ปี 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (3 เป้าประสงค์) 2.พัฒนาและจัดระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุมประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ โดยภาคีเครือข่ายมี ส่วนร่วม (5 เป้าประสงค์) 3.พัฒนาระบบการบริหารจัดการสุขภาพเพื่อสนับสนุนการ จัดบริการและเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล (4 เป้าประสงค์) 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (3 เป้าประสงค์) 2.พัฒนาและจัดระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุมประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ โดยภาคีเครือข่ายมี ส่วนร่วม (5 เป้าประสงค์) 3.พัฒนาระบบการบริหารจัดการสุขภาพเพื่อสนับสนุนการ จัดบริการและเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล (4 เป้าประสงค์) 12 เป้าประสงค์ 9 แผนงานหลัก 64 ตัวชี้วัด 12 เป้าประสงค์ 9 แผนงานหลัก 64 ตัวชี้วัด วิสัยทัศน์ : ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2559 :ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรง เพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน วิสัยทัศน์ : ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2559 :ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรง เพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข 2559 (3 ยุทธศาสตร์ 21 KPI) แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข 2559 (3 ยุทธศาสตร์ 21 KPI) แผนยุทธศาสตร์เขตสุขภาพที่ 7 ปี 2559 (7 ยุทธศาสตร์ 29 KPI) แผนยุทธศาสตร์เขตสุขภาพที่ 7 ปี 2559 (7 ยุทธศาสตร์ 29 KPI)
43
แผนงานหลักแผนงานหลัก แผนงานหลักที่ ชื่อแผนงานหลักจำนวนตัวชี้วัด 1 กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (0 - 5 ปี)6 ตัวชี้วัด 2 กลุ่มเด็กวัยเรียน (5 – 14 ปี)5 ตัวชี้วัด 3 กลุ่มเด็กวัยรุ่น (15 – 21 ปี) และการป้องกันบำบัดรักษา ยาเสพติด 6 ตัวชี้วัด 4 กลุ่มวัยทำงาน (15 – 59 ปี) และระบบควบคุมโรค12 ตัวชี้วัด 5 กลุ่มผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) และกลุ่มผู้พิการ4 ตัวชี้วัด 6 การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ9 ตัวชี้วัด 7 การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ5 ตัวชี้วัด 8 การพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2 ตัวชี้วัด 9 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ ด้านการบังคับใช้กฎหมาย ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ด้านการพัฒนาบุคลากร ด้านการเงินการคลัง ด้านยาและเวชภัณฑ์ไม่ใช่ยา/พัสดุ ด้านการปราบปรามทุจริต ด้านการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ 15 ตัวชี้วัด รวม64 ตัวชี้วัด
44
นโยบายการดำเนินงาน สาธารณสุข ของจังหวัดมหาสารคาม ปี 2559 นโยบายการดำเนินงาน สาธารณสุข ของจังหวัดมหาสารคาม ปี 2559 นายแพทย์คิมหันต์ ยงรัตนกิจ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม
45
นโยบายการดำเนินงานนโยบายการดำเนินงาน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม
46
1.ยึดนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข-เขตสุขภาพ1.ยึดนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข-เขตสุขภาพ 2.ใช้แผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพ จังหวัด มหาสารคาม ปี 2558-2561 เป็นทิศทางดำเนินงาน นโยบายการดำเนินงานนโยบายการดำเนินงาน 3.ใช้ตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปี 2559 เป็นเครื่องมือวัด ความสำเร็จ 4.การทำงานให้ใช้หลัก “ทำแล้วได้อะไร” ต่อ กลุ่มเป้าหมาย/ประชาชน
47
5.ทำงานภายใต้ทรัพยากรที่มีจำกัด แต่ให้มีผลลัพธ์ สูงสุด 6.ให้การทำงานในหน้าที่ปกติเป็นการพัฒนาศักยภาพตนเอง และพัฒนาวิชาการของงานที่รับผิดชอบด้วย นโยบายการดำเนินงานนโยบายการดำเนินงาน 7.ให้มุ่งการประสานความร่วมมือจากภาคส่วนที่ เกี่ยวข้อง ให้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานให้มากที่สุด 8.การทำงานที่มุ่งเน้นผลลัทธ์สูงสุด ภายใต้ บรรยากาศองค์กรที่ผู้ปฎิบัติงานมีความสุข
48
1.งานมหกรรมคุณภาพระดับ CUP 2.งานวิชาการระดับจังหวัด (พค.) วงรอบของการโชว์วิชาการ 2559 3.งานวิชาการระดับเขต (3-5 สค.) 4.งานวิชาการระดับประเทศ R2R Thailand (มิย.) 6.งานวิชาการระดับประเทศ (วศม.) (ธค.) 5.งานวิชาการระดับประเทศ กระทรวง (กย.)
49
กลวิธีการพัฒนา ผลงานวิชาการ ของจังหวัดมหาสารคาม ของจังหวัดมหาสารคาม
50
กลวิธีการพัฒนาวิชาการกลวิธีการพัฒนาวิชาการ KPI วิจัย 2551 ตัวชี้วัดน้ำหนักภายในตัวชี้วัด 1.จำนวนผลงานศึกษาวิจัยในพื้นที่แล้วเสร็จในปีงบประมาณ 2551 2. มีการสนับสนุนการร่วมประชุมและนำเสนอผลงานด้านวิชาการ และการวิจัย 1111 รวม2 ตัวชี้วัดหน่ว ยวัด เกณฑ์การให้คะแนน 12345 หน่วยงาน (CUP) และเครือข่าย ศูนย์สุขภาพชุมชน ทำการศึกษา วิจัยในพื้นที่เสร็จสิ้นใน ปี 2551 เรื่องมีโครงร่าง การวิจัย 1 เรื่อง 2 เรื่อง 3 เรื่อง4 เรื่อง เกณฑ์การให้คะแนนตามกิจกรรมด้านวิชาการและการวิจัย ดังนี้ 1.ส่งบุคลากรเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับจังหวัด 2.ส่งบุคลากรเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับเขต /ประเทศ 3.การจัดเวทีนำเสนอและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการและการวิจัย ระดับอำเภอ 4.มีผลงานวิชาการและการวิจัยเข้าร่วมนำเสนอระดับเขต 5.มีผลงานวิชาการและการวิจัยเข้าร่วมนำเสนอระดับประเทศ เกณฑ์การให้คะแนนตามกิจกรรมด้านวิชาการและการวิจัย ดังนี้ 1.ส่งบุคลากรเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับจังหวัด 2.ส่งบุคลากรเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับเขต /ประเทศ 3.การจัดเวทีนำเสนอและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการและการวิจัย ระดับอำเภอ 4.มีผลงานวิชาการและการวิจัยเข้าร่วมนำเสนอระดับเขต 5.มีผลงานวิชาการและการวิจัยเข้าร่วมนำเสนอระดับประเทศ
51
กลวิธีการพัฒนาวิชาการกลวิธีการพัฒนาวิชาการ KPI วิจัย 2556 รอบที่ 1 ระดับ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1CUP มีคณะกรรมการที่ดำเนินงานด้านวิจัยสาธารณสุขของ CUP 2CUP มีนโยบายการส่งเสริมการวิจัยสาธารณสุขของบุคลากรภายใน CUP 3CUP มีการสนับสนุนงบประมาณแก่ผู้วิจัยของ CUP 4CUP มีเค้าโครงงานวิจัยที่ CUP ให้การสนับสนุนงบประมาณแก่ผู้วิจัยของ CUP 5CUP มีการติดตามความก้าวหน้าของงานวิจัยที่ CUP ให้การสนับสนุน งบประมาณของรอบการประเมิน รอบที่ 1
52
กลวิธีการพัฒนาวิชาการกลวิธีการพัฒนาวิชาการ KPI วิจัย 2556 รอบที่ 2 ระดับคะแนนเกณฑ์การให้คะแนน 1CUP มีการติดตามความก้าวหน้าของงานวิจัยที่ CUP ให้การสนับสนุน งบประมาณของรอบการประเมิน รอบที่ 2 2CUP มี Full Report ของงานวิจัยอย่างน้อย 1 เรื่องต่อปี 3CUP มีการส่งผลงานวิจัยเข้าคัดเลือกเพื่อนำเสนอและประกวดในระดับ จังหวัด/ระดับเขต/ระดับประเทศ อย่างน้อย 3 เรื่อง/ปี 4CUP นำเสนอผลงานวิจัยในระดับจังหวัด/ระดับเขต/ระดับประเทศ อย่างน้อย 3 เรื่อง/ปี 5CUP ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารทุกระดับ อย่างน้อย 1 เรื่องต่อปี
53
กลวิธีการพัฒนาวิชาการกลวิธีการพัฒนาวิชาการ KPI วิจัย 2557 ข้อเกณฑ์การให้คะแนน 1 CUP มีคณะกรรมการที่ดำเนินงานด้านวิจัยสาธารณสุขของ CUP (0.5 คะแนน) CUP มีนโยบายการส่งเสริมการวิจัยสาธารณสุขของบุคลากรภายใน CUP (0.5 คะแนน) 2 CUP มีการสนับสนุนงบประมาณแก่ผู้วิจัยของ CUP (0.5 คะแนน) CUP มีเค้าโครงงานวิจัยที่ CUP ให้การสนับสนุนงบประมาณแก่ผู้วิจัย ของ CUP (0.25 คะแนน) CUP มีระบบการติดตามความก้าวหน้าของงานวิจัย ที่ให้การสนับสนุน งบประมาณ (0.25 คะแนน) 3CUP มี Full Report ของงานวิจัย จำนวน 5 เรื่องต่อปี (1 คะแนน) 4CUP มีการส่งผลงานวิจัยเข้าคัดเลือกเพื่อนำเสนอและประกวดในระดับ จังหวัด/ระดับเขต/ระดับประเทศ จำนวน 15 เรื่องต่อปี (1 คะแนน) 5 CUP นำเสนอผลงานวิจัยในระดับจังหวัด/ระดับเขต/ระดับประเทศ จำนวน 5 เรื่อง/ปี (0.5 คะแนน) CUP ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารทุกระดับ จำนวน 3 เรื่องต่อปี (0.5 คะแนน)
54
กลวิธีการพัฒนาวิชาการกลวิธีการพัฒนาวิชาการ ข้อเกณฑ์การให้คะแนน 1 -CUP มีการแต่งตั้งคณะกรรมการที่ดำเนินงานด้านวิจัยสาธารณสุขของหน่วยงานอย่างชัดเจน ตั้งแต่ต้นปี (0.5 คะแนน) -CUP มีการกำหนดให้มีนโยบายการส่งเสริมการวิจัยสาธารณสุขของหน่วยงานอย่างชัดเจน ตั้งแต่ต้นปี (0.5 คะแนน) 2 -CUP มีการสนับสนุนงบประมาณ แก่ผู้ที่ทำการวิจัยสาธารณสุขของหน่วยงาน (0.5 คะแนน) -CUP มีเค้าโครงงานวิจัยสาธารณสุขที่ CUP ให้การสนับสนุนงบประมาณแก่ผู้วิจัยของ CUP (0.25 คะแนน) -CUP มีระบบการติดตามความก้าวหน้าของงานวิจัยสาธารณสุข ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณ (0.25 คะแนน) 3 CUP มีรายงานฉบับสมบูรณ์ (Full Report) ของงานวิจัยสาธารณสุข โดยกำหนดเป้าหมายสัดส่วน บุคลากร 5 คน (เฉพาะข้าราชการทุกตำแหน่ง) ต่อผลงานวิจัยสาธารณสุข 1 เรื่อง (1 คะแนน) 4 CUP มีการส่งผลงานวิจัยเข้าคัดเลือกเพื่อนำเสนอและประกวดในระดับจังหวัด (เม.ย.58)/ระดับเขต (มิ.ย.58)/R2R ระดับประเทศ (มิ.ย.58)/วิชาการกระทรวงสาธารณสุข (ก.ย.58) โดยกำหนด เป้าหมายสัดส่วนบุคลากร 5 คน (เฉพาะข้าราชการทุกตำแหน่ง) ต่อผลงานวิจัยสาธารณสุข 1 เรื่อง (1 คะแนน) 5 -CUP มีการนำเสนอผลงานวิจัยในระดับจังหวัด (เม.ย.58)/ระดับเขต (มิ.ย.58)/R2R ระดับประเทศ (มิ.ย.58)/วิชาการกระทรวงสาธารณสุข (ก.ย.58) โดยกำหนดเป้าหมายสัดส่วน บุคลากร 5 คน (เฉพาะข้าราชการทุกตำแหน่ง) ต่อผลงานวิจัยสาธารณสุข 1 เรื่อง (0.5 คะแนน) -CUP /บุคลากรใน CUP ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารทุกระดับ โดยกำหนดเป้าหมายสัดส่วน บุคลากร 20 คน (เฉพาะข้าราชการทุกตำแหน่ง) ต่อผลงานวิจัยสาธารณสุข 1 เรื่อง (0.5 คะแนน) KPI วิจัย 2558
55
กลวิธีการพัฒนาวิชาการกลวิธีการพัฒนาวิชาการ KPI วิจัย 2559 ข้อเกณฑ์การให้คะแนน 1 - CUP มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนางานวิจัยของหน่วยงานอย่างชัดเจนตั้งแต่ต้น ปี (0.5 คะแนน) - CUP มีนโยบายการส่งเสริมการวิจัยสาธารณสุขของบุคลากรภายใน CUP (0.5 คะแนน) 2 - มีระบบในการสร้างผลงานวิจัยด้านสาธารณสุข (0.5 คะแนน) - มีฐานข้อมูลผลงานวิจัยด้านสาธารณสุข (0.5 คะแนน) 3 - CUP มีการส่งผลงานวิจัยด้านสาธารณสุขเข้าคัดเลือกเพื่อนำเสนอและประกวดใน ระดับจังหวัด/ระดับเขต/R2R ระดับประเทศ /วิชาการกระทรวงสาธารณสุข โดยคิด เป็นสัดส่วนบุคลากรต่องานวิจัย 1 เรื่อง (5 คน/งานวิจัย 1 เรื่อง) (1 คะแนน) 4 - หน่วยงานนำเสนอผลงานวิจัยด้านสาธารณสุขในระดับจังหวัด /ระดับเขต/R2R ระดับประเทศ/วิชาการกระทรวงสาธารณสุข (5 คน / งานวิจัย 1 เรื่อง) (0.5 คะแนน) - ผลงานวิจัยด้านสาธารณสุขของบุคลากรใน CUP ได้รับการตีพิมพ์งานในวารสารทุก ระดับ อย่างน้อย 1 เรื่อง (0.5 คะแนน) 5- CUP มีหลักฐานการนำองค์ความรู้จากผลงานวิจัยด้านสาธารณสุขไปใช้ประโยชน์ (1 คะแนน)
56
ซักถามและแลกเปลี่ยนซักถามและแลกเปลี่ยน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.