Acute diarrhea
นิยาม ถ่ายอุจจาระมากกว่าหรือเท่ากับ 3 ครั้ง/วัน หรือถ่ายเป็นมูกเลือดอย่างน้อย 1 ครั้ง หรือถ่ายเป็นน้ำมากๆเพียงครั้งเดียว ระยะเวลาน้อยกว่า 2 สัปดาห์
Watery diarrhea หรือ non-invasive diarrhea แบ่งเป็น 2 กลุ่ม Watery diarrhea หรือ non-invasive diarrhea ถ่ายเหลวเป็นน้ำ สีเหลือง สีเขียวอ่อน น้ำขุ่นคล้ายน้ำซาวข้าว - สารพิษ (toxin) Vibrio cholera, E.Coli, Staphylococcus, Clostridium perfringens, Vibrio parahemolyticus, Bacillus ceres - เชื้อไวรัส Rotavirus, Norwalk virus
2. Mucus bloody หรือ invasive diarrhea ถ่ายมีมูกเลือดปน มักมีไข้ ปวดหัว ปวดท้อง ปวดเบ่งที่ทวารหนัก ถ่ายแต่ละครั้งไม่มาก Shigellaspp, Salmonella spp., EnteroinvasiveE.coli (EIEC), Compylobacterjejuni, Yerseniaenterolitica, Entamoebahistolytica
วิธีปฏิบัติ 1. การซักประวัติ - อุจจาระ ; ลักษณะอุจจาระ ปริมาณอุจจาระ - อาการร่วม ; ไข้ ปวดท้อง อาเจียน หน้ามืด - feeding ; ในเด็ก 2. การตรวจร่างกาย - sign of dehydration - ชั่งน้ำหนัก
sign of dehydration
Children ความรุนแรง น้อย 3-5 % ปานกลาง 6-9% มาก > 10% ชีพจร ปกติ เร็ว เร็ว เบา ความดันเลือด ปกติ หรือต่ำลงกว่า 10 มม.ปรอท ต่ำ , Pulse pressure แคบ, วัดไม่ได้ พฤติกรรม กระสับกระส่าย กระวนกระวายถึงซึมมาก กระหายน้ำ เล็กน้อย ปานกลาง มาก เยื่อบุปาก แห้ง แห้งจนเหี่ยว น้ำตา มีน้ำตา ลดลง ไม่มีน้ำตา ตาลึกโหล กระหม่อมหน้า บุ๋มเล็กน้อย บุ๋มมาก กระบอกตา ลึกโบ๋ ลึกโป๋มาก ความยืดหยุ่นของผิวหนัง ยังดีอยู่ เสียเล็กน้อย ไม่คืนกลับในช่วง 2 วินาที จับแล้วยังตั้งอยู่นานเกิน 4 วินาที Urine specific gravity <1.020 >1.020 Urine output < 1 ml/kh/hr >1.030 Urine output <0.5 ml/kg/hr Capillary refill < 2 วินาที 2-3 วินาที 3-4 วินาที
ปกติ หรือต่ำลงกว่า 10 -20 mmHg Adult ความรุนแรง น้อย ปานกลาง มาก อาการ ยังแข็งแรง ดำเนินชีวิตได้ตามปกติ ไม่รบกวนการประกอบอาชีพ ไม่อ่อนเพลีย รู้สึกตัวดี ทำงานหนักได้ และไม่กระหายน้ำ อ่อนเพลีย ไม่มีแรง แต่ยังพอเดินไปไหนมาไหนได้ สามารถดำเนินชีวิตและทำงานเบาๆ ได้ อาจต้องมีคนมาช่วยดูแล อาจต้องหยุดงานหรือนอนพักผ่อนอยู่กับบ้าน และกระหายน้ำบ้าง อ่อนเพลียมาก จนไม่มีแรง ลุกเดินไม่ค่อยไหว ต้องนั่งหรือนอนอยู่กับเตียง หรือนอนรพ. อาจต้องหยุดงาน ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันหรือช่วยเหลือตัวเองได้ อาจมีอาการซึม หรือไม่ค่อยรู้สึกตัว กระหายน้ำมากหรือมีปัสสาวะออกน้อย ชีพจร ปกติ เร็ว เร็ว เบา ความดันเลือด Systolic BP ปกติ หรือต่ำลงกว่า 10 -20 mmHg ต่ำลงมากกว่า 20 mmHg Postural hypotension ไม่มี มีหรือไม่มีก็ได้ มี
Adult ความรุนแรง น้อย ปานกลาง มาก Jugular venous pressure มองเห็นได้ในท่านอนราบ อาจมองเห็นหรือไม่เห็นในท่านอนราบก็ได้ มองไม่เห็นในท่านอนราบ ปากคอแห้ง ไม่มี มีบ้าง มีมาก Sunken eye ball มีเล็กน้อย มากชัดเจน ความยืดหยุ่นของผิวหนัง ยังดีอยู่ เสียเล็กน้อย ไม่คืนกลับในช่วง 2 วินาที จับแล้วยังตั้งอยู่นานเกิน 4 วินาที Capillary refill < 2 วินาที 2-3 วินาที 3-4 วินาที
การรักษาผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน
1. การป้องกันและรักษาภาวะขาดน้ำ การรักษาภาวะขาดน้ำด้วยสารน้ำทางปาก ขาดน้ำน้อย ให้สารน้ำทางปาก 50 มล./กก. ใน 4 ชั่วโมงแรกหรือ 2 เท่าของปริมาณนมที่เด็กกินใน 4 ชั่วโมง หรือให้รับประทาน ORS 1- 1.5 เท่า ของปริมาณอุจจาระที่ถ่ายใน 4 ชั่วโมงใน 24 ชั่วโมงต่อไปให้สารน้ำปริมาณเท่ากับ maintenance + concurrent loss รวมเท่ากัน 6 ออนซ์/กก./วัน ขาดน้ำปานกลาง ให้สารน้ำทางปาก 100 มล./กก. ใน 4ชั่วโมงแรกหรือ 3 เท่าของปริมาณนมที่กิน ขาดน้ำมาก ให้สารน้ำทางปากให้เร็วและมากที่สุดพร้อมทั้งส่งต่อโรงพยาบาลเพื่อให้สารน้ำทางหลอดเลือด(IV. Fluid) ORS สูตรทำเอง น้ำตาลทราย 2 ช้อนโต๊ะ และ เกลือป่น 1 ช้อนชา ผสมในน้ำต้มสุกที่เย็นแล้ว 750 มิลลิลิตร
การรักษาภาวะขาดน้ำด้วยสารน้ำทางหลอดเลือด ในผู้ใหญ่ ควรให้เป็น Ringer lactate solution หรือ Acetar เนื่องจากมี potassium ผสมอยู่แล้ว deficit +maintenance + concurrent loss
Deficit การขาดสารน้ำต่อหน่วยน้ำหนักตัว ประเมินจากภาวะ dehydration Maintenance คิดตามแคลอรีที่ผู้ป่วยใช้ตามสูตรของ Holiday และ Segar น้ำหนักตัว 0 - 10 กก. ใช้ 100 กิโลแคลอรี/กก. 10 - 20 กก. ใช้ 1000 + 50 กิโลแคลอรี/กก. ที่มากกว่า 10 กก. >20 กก. ใช้ 1500 + 20 กิโลแคลอรี/กก. ที่มากกว่า 20 กก.
3. Concurrent loss สารน้ำที่ยังสูญเสียต่อไปอย่างผิดปกติ จากอาเจียน, ถ่าย
2. การให้อาหารสำหรับผู้ป่วยอุจจาระร่วงเฉียบพลัน - อาหารอ่อนๆ ที่ย่อยง่าย เช่น ข้าวต้ม โจ๊ก น้ำข้าว ขนมปังเค็ม น้ำซุป น้ำผลไม้ น้ำมะพร้าว นมถั่วเหลือง - นมไม่ควรรับประทานมาก - โยเกิร์ต - อาหารไขมันต่ำ
3. การให้ยาต้านอุจจาระร่วง - ยาลดการเคลื่อนไหวของลำไส้ (anti-peristaltics) ; Loperamide - ยาต้านฤทธิ์ cholinergic ( Anticholinergics) ; Hyoscine - ยาออกฤทธิ์ดูดซับสารพิษ ( Absorbents ) ; activated charcoal , Kaolin, pectin, dioctahedral smectite - Probiotics - Antibiotics ; Norflox (400) 1x2 , Bactrim (160/800) 1x2, Ciproflox (500) 1x2 ,
Early warning sign 1. เฝ้าระวังของภาวะ shock - ระดับความรู้สึกตัว : ซึมลง กระสับกระส่าย - ความดันโลหิต, ชีพจร : - SBP <90 mmHg, MAP ลดลง ≥ 40 mmHg จากเดิม, Pulse pressure ≤20 mmHg, PR > 100 2. ประเมินภาวะ dehydration
Early warning sign Action point (ถ้าผู้ป่วยมีภาวะช็อก) 1. ประเมินอาการของภาวะ shock 2. การให้ออกซิเจน canula 3. ตรวจ check v/s ทุก 15 นาที ระยะแรก shock 4. Record urine output ทุก 1 hr 5. ดูแลให้สารน้ำตามแผน 6. กระตุ้นให้ดื่มน้ำเข้าไปทดแทน 7. รายงานแพทย์ทันที