เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
การควบคุมคลัตช์ ด้วยกลไก
Wang991.wordpress.com Relation and function Click when ready 
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
Kinetics of Systems of Particles A B C F A1 F A2 F C1 F B1 F B2 Particles A B C System of Particles.
สมการการเคลื่อนที่ในระบบพิกัดต่าง ๆ - พิกัดฉาก (x-y)
การกระแทกตามแนวศูนย์กลาง (direct central impact)
Engineering Mechanics
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
กระบวนการของการอธิบาย
Engineering mechanic (static)
ประวตศาสตร์เป็ นวชาทศี่ ึกษาเกยวกบอดตี โดยศึกษาถึง พฤตกิ รรมของมนุษย์ ตามบริบทของช่วงเวลาทเกดขึนซึ่งมผล ต่อมนุษยชาตเิ มอื่ เหตุการณ์น้ันเปลยี่
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
บทที่ 8 คลื่นและคลื่นเสียง
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ความเค้นและความเครียด
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
อาจารย์พีรพัฒน์ คำเกิด
บทที่ 4 งาน พลังงาน กำลัง และโมเมนตัม
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
บทที่ 6 งานและพลังงาน 6.1 งานและพลังงาน
Watt Meter.
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
แรงและการเคลื่อนที่.
Linearization of Nonlinear Mathematical Models
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
ฟิสิกส์ ว ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5
แผ่นดินไหว.
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
โลกของคลื่นและปรากฏการณ์คลื่น
เครื่องผ่อนแรง Krunarong.
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
ความดัน (Pressure).
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotational Motion)
เศษส่วนและทศนิยม.
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ) จากกราฟ v-t concept คือ การกระจัด และระยะทางหาได้จากพื้นที่ใต้กราฟ ความเร่ง หาได้จาก ความชันของกราฟ ข้อ 4 หาความเร็วเฉลี่ย จาก การกระจัด /เวลา

5. จากข้อ 4 จงหาว่าความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา 4 วินาที นี้เป็นเท่าใด 5. จากข้อ 4 จงหาว่าความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา 4 วินาที นี้เป็นเท่าใด หาความเร่งเฉลี่ย จาก หรือหาได้จาก ความชันของกราฟ จะได้ a = (0-10)/4 = -2.5 m/s2

6. วาดรูปจากสถานการณ์และวิเคราะห์จากรูป และที่กำหนดให้ โจทย์ให้หา ระยะห่างระหว่าง บอลลูนกับถุงทราย ขณะที่ถุงทรายขึ้นไปถึงจุดสูงสุด X1 X2 u u นั่นคือ หาว่า ถุงทรายขึ้นไปสูงสุด ใช้เวลาเท่าไร h และจะเป็นเวลาที่บอลลูนขึ้นไปได้ระยะทางเพิ่มเติมจากจุดปล่อยถุงทราย ด้วย concept ที่ได้ u บอลลูน เท่ากับ u ถุงทราย

1. หาเวลาถุงทรายขึ้นไปสูงสุด จาก h u X1 X2 1. หาเวลาถุงทรายขึ้นไปสูงสุด จาก จะได้ และ หาระยะที่ถุงทรายขึ้นไปได้สูงสุดจาก หรือ หาจาก ระยะที่ถุงทรายขึ้นไปสูงสุดจากพื้น = 20+5 = 25 เมตร

2. หาระยะที่บอลลูนขึ้นไปได้ ในเวลา 1 วินาที หลังจากปล่อยถุงทราย h u X1 X2 2. หาระยะที่บอลลูนขึ้นไปได้ ในเวลา 1 วินาที หลังจากปล่อยถุงทราย เนื่องจากบอลลูนเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ จะได้ ระยะที่บอลลูนขึ้นไป เท่ากับ 10x 1=10 m ดังนั้น บอลลูนอยู่สูงจากพื้นดิน เท่ากับ 20+10 = 30 เมตร 3. หาระยะห่างระหว่างบอลลูนกับถุงทราย ขณะที่ถุงทรายขึ้นไปถึงจุดสูงสุด เท่ากับ 30-25 = 5 เมตร

7. จากโจทย์ วาดภาพเพื่อวิเคราะห์ หาขนาดและทิศของแรงเฉลี่ย 7. จากโจทย์ วาดภาพเพื่อวิเคราะห์ หาขนาดและทิศของแรงเฉลี่ย t = 5 s จาก U=5 m/s หรือ V= - 10 m/s แทนค่า ขนาดของแรงเฉลี่ย เท่ากับ 6 นิวตัน มีทิศไปทางทิศใต้ (แรงมีทิศเดียวกับความเร่ง ตามกฏข้อ2 ของนิวตัน)

8.จากโจทย์ หาความเร่งสูงสุดเท่าใด เชือกจึงจะไม่ขาด โดยเชือกทนแรงตึงได้30 นิวตัน วาดรูป เขียนแรง จากกฎข้อ 2 ของนิวตัน T a 30 – 2(10) = 2a mg

โจทย์ให้หา อัตราเร็วปลาย จากสภาพวัตถุหยุดนิ่ง u = 0 m/s 9. จากโจทย์ วาดรูป U=0 V =? F=300 N t=2 s โจทย์ให้หา อัตราเร็วปลาย จากสภาพวัตถุหยุดนิ่ง u = 0 m/s จากกฎข้อ 2 ของนิวตัน หรือ แทนค่า เพื่อหาค่า v จะได้

10. โจทย์ให้หาแรงต้านเฉลี่ยที่เนื้อไม้กระทำต่อลูกปืน วาดรูป เขียนแรง วิเคราะห์ในกรณีนี้ concept คือ งาน = การเปลี่ยนพลังงานจลน์ U=200m/s V=0 m/s M=3 g. 7.5 cm แทนค่าในสมการ จะได้

11. จากรูป พิจารณาที่วัตถุ 1kg เขียนแรง เนื่องจากโจทย์กำหนดว่า วัตถุกำลังเคลื่อนที่พอดี ดังนั้นจึงเข้ากฎข้อ1 ของนิวตันจะได้ N T T เขียนสมการ m1 gsin f=µN m1 g cos เขียนสมการ m1 g cos M2g m1g แทนค่าจะได้ (1) พิจารณา มวล M2 เขียนแรง จากกฎข้อหนึ่งของนิวตัน เขียนสมการได้เป็น นำ T แทนในสมการ(1) จะได้ จัดรูปสมการเพื่อหาค่า µ จะได้ แทนค่า

12. จากโจทย์ วาดรูป เพื่อวิเคราะห์หางานในการต้านกระสุนปืนของเนื้อไม้ วิเคราะห์ในกรณีนี้ concept คือ งาน = การเปลี่ยนพลังงานจลน์ V=0 m/s U=400m/s M=10 g. 5 cm แทนค่าในสมการ จะได้

หา W มากที่สุดที่ทำให้ระบบสมดุล(วัตถุอยู่นิ่ง) 13.จากรูป หา W มากที่สุดที่ทำให้ระบบสมดุล(วัตถุอยู่นิ่ง) เขียนแรงที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม พิจารณาที่มวลหนัก 40 นิวตัน จะได้ N A f=µN 37o 53o พิจารณาที่จุดสมดุลA (กำหนดให้ sin37=0.6 และ sin53=0.8) mg ใช้กฎของsine จะได้ แทนค่า W = 12 นิวตัน

14. จากโจทย์ พื้นไม่มีแรงเสียดทาน และระบบมวลเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเดียวกัน a จากกฎข้อสองของนิวตัน ∑F = ma F = (m1 + m2)a

จะเห็นว่า ความเร็วของนักว่ายน้ำในน้ำไหล เพื่อไป ยังฝั่งตรงข้ามได้นั้น 15. วาดรูปแสดงการว่ายน้ำของนักว่ายน้ำ ในน้ำนิ่งและในน้ำที่ไหล เพื่อไปยังฝั่งตรงข้าม ความเร็ว u ในน้ำนิ่ง ความเร็วของน้ำเชี่ยว V จะเห็นว่า ความเร็วของนักว่ายน้ำในน้ำไหล เพื่อไป ยังฝั่งตรงข้ามได้นั้น อย่างน้อย นักว่ายน้ำต้องว่ายน้ำด้วยอัตราเร็ว เท่ากับ หรือมากกว่า ความเร็วของน้ำ ดังนั้น คำตอบคือ V

16. จากโจทย์ วาดรูปเพื่อการวิเคราะห์ วิเคราะห์ วัตถุอยู่สูงในระดับเดียวกัน จะตกถึงพื้นด้วยเวลาที่เท่ากัน B A u 2u H จาก ทั้งวัตถุA และ B มีความสูงเท่ากัน dA dB ดังนั้น ƬA = ƬB พิจารณา dA และ dB เป็นการกระจัดในแนวระดับซึ่งเป็นการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว จากสมการ จะได้ ดังนั้น คำตอบคือ ข้อ D

ข้อมูล ข้อ 17 – 19 นำมาวาดรูป ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ ตอบคำถาม ข้อ 17 -19 วัตถุถูกขว้างขึ้นไปจากยอดตึกซึ่งสูงจากพื้นราบ h ด้วยความเร็ว v และทำมุมเงย  กับแนวระดับ ในสนามโน้มถ่วง g โดยถือเป็นการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ที่ไม่มีแรงต้านอากาศ ข้อมูล ข้อ 17 – 19 นำมาวาดรูป v h

17. concept การเคลื่อนในที่แบบโปรเจคไตล์ในแนวราบ มีความเร็วคงที่ h v ดังนั้น กราฟ การกระจัด-เวลา จึงเป็นกราฟเส้นตรง ที่มีความชันของกราฟไม่เป็นศูนย์ (มีการเปลี่ยนการกระจัด) x t คำตอบ คือ ข้อ C

conceptการเคลื่อนที่แนวดิ่งเป็นการเคลื่อนที่แบบมีความเร่งคงที่ g 18. conceptการเคลื่อนที่แนวดิ่งเป็นการเคลื่อนที่แบบมีความเร่งคงที่ g h v ความเร็วมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และความชันของกราฟคงที่ (กราฟเป็นเส้นตรง) ในกรณีนี้เป็นการเคลื่อนที่ ขึ้น แล้วตกกลับลงมา ดังนั้นทิศความเร็วจึงมีทั้งบวกและลบ Vy t ดังนั้น คำตอบคือข้อ c

หาเวลาทั้งหมดที่วัตถุอยู่ในอากาศจนตกพื้น 19. หาเวลาทั้งหมดที่วัตถุอยู่ในอากาศจนตกพื้น กำหนด และ h v จากสมการ นำ 2 คูณตลอด ปรับรูปสมการ แทนค่า จะได้ แล้วแก้สมการ หาค่า t โดยใช้สูตร

พิจารณา การเคลื่อนที่ในแนวระดับ เป็นการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ 20. ดีดวัตถุออกจากขอบโต๊ะสูง H = 78.48 cm. จากพื้น ด้วยอัตราเร็วต้น u ในแนวระดับ ถ้าต้องการให้วัตถุตกบนพื้นห่างในแนวระดับจากขอบโต๊ะเท่ากับความสูง H u ต้องมีขนาดเท่าใด (g=9 .8 m/s2) วาดรูป เขียนแรง u พิจารณา การเคลื่อนที่ในแนวระดับ เป็นการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ H H หาเวลา t จากการเคลื่อนที่แนวดิ่ง จากสมการ นำค่า t แทนใน (1) จะได้

21. จากกราฟ จะได้ว่า เมื่อวัตถุขึ้นไปถึงจุดสูงสุดใช้เวลา เท่ากับ Ƭ หาได้จาก แทนค่า t ด้วย Ƭ จะได้ Ƭ = (ขาลง vy เป็นลบ) จากโจทย์ให้หาเวลาเมื่อวัตถุมีความเร็ว จากสูตร แทนค่า vy และ t จะได้ ดังนั้น t = 3Ƭ/2

22. วาดรูป แสดงสถานการณ์การเคลื่อนที่ทั้งของ A และ B M V V=0 SB µ tB B m v V=0 SA µ tA A หาความสัมพันธ์ ระหว่าง v กับ t จาก จากสมการ วัตถุ A จะได้ (1) (3) (2) และ วัตถุ B จะได้ (4) (1)/(2) จะได้ พิจารณาจาก สมการ นำ (3)/(4) จะได้ วัตถุA และB จะได้ คำตอบคือข้อ a และ

ทำนองเดียวกัน ที่วัตถุ B จะได้ (2) 23.ก้อนวัตถุ A มวล m และก้อนวัตถุ B มวล M เดิมอยู่ห่างกัน L เคลื่อนที่เข้าหากันในแนวเส้นตรงบนพื้นระดับด้วยอัตราเร็วต้น uA และ uB ถ้าวัตถุทั้งสองเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงตัว และหยุดก่อนที่จะแตะกันพอดี ระยะทาง SA และ SB ที่ A และ B เคลื่อนที่ได้ตามลำดับ มีค่าเท่าใด วาดรูป B A VA=0 VB=0 ที่วัตถุ A จากสมการ uA uB m M sA sB L และ (1) จะได้ จะได้ นำไปแทนใน (3) ทำนองเดียวกัน ที่วัตถุ B จะได้ (2) จะได้ นำ (1)+ (2) จะได้ หาค่า t จาก ทำนองเดียวกัน จะได้ คำตอบ คือข้อ D