ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอหิวาตกโรค แพทย์หญิง นฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ กรมการแพทย์ พญ.นฤมล สววรค์ปัญญาเลิศ กรมการแพทย์ ความรู้พื้นฐานอหิวาต์ 6 nov 07
ประวัติศาสตร์ของโรคอหิวาตกโรค Cholera เป็นภาษากรีกแปลว่า A flow of bile 1817 เป็นปีที่เริ่มประวัติศาสตร์ของโรค Cholera 1817-1923 เป็นช่วงที่มีการระบาดของโรคทั่วโลก 6 ครั้ง 1849 John Snow พบวิธีการถ่ายทอดโรค 1854 พบเชื้อแบคทีเรียในอุจจาระของผู้ป่วย 1883 พบเชื้อ Vibrio cholerae
ประวัติศาสตร์ของโรคอหิวาตกโรค 1905 พบ Serogroup ใหม่ Vibrio cholerae El Tor 1961 มีการระบาดทั่วโลกครั้งที่ 7 1962 WHO ประกาศให้ Cholera เป็นโรคที่ต้องเฝ้าระวัง 1992 พบการระบาดของ Serotype ใหม่ (O139)
สาเหตุ Bacteria Vibrio cholerae ลักษณะ ; ติดสี gram negative Rod from ขนาดกว้าง 0.3-0.4 ไมครอน ยาว1.5-2.0 ไมครอน มีหนวดยาว 1 เส้น (Flagella) ยาว 6.-10.0 ไมครอน ผนังเซลล์ค่อนข้างบางขนาด 0.12 ไมครอน เยื่อชั้นนอกของผนัง เซลล์ประกอบด้วย lipoprotien
สิ่งที่เชื้ออหิวาต์ชอบ/ไม่ชอบ ความชื้น อุณหภูมิที่เหมาะคือ 35-37 c ภาวะความเป็นด่าง pH 8.0-8.5 ต้องการน้ำตาลและโปรตีนในการเจริญเติบโตขยายพันธุ์และสร้าง Exotoxin ไม่ชอบ ความแห้ง อุณหภูมิ 100 c ตายภายใน 2 นาที ความเป็นกรด ค่อนข้างอ่อนแอ มีไวรัสบางชนิด (PHAGE) กินเชื้อ V.C. โดยเฉพาะ
การจำแนกชนิดของเชื้ออหิวาตกโรค (Vibrio cholerae) Biotype : Classical El Tor Serotype : Ogawa Inaba Hikojima Serogroup : O1, O139
- El Tor อยู่นอกร่างกายมนุษย์ได้นานกว่า BIOTYPE - Classical - El Tor อยู่นอกร่างกายมนุษย์ได้นานกว่า SEROTYPE โดย O antigen 3 ชนิด คือ A,B,C - Ogawa = A B - Inaba = A C - Hikojima = A B C SEROGROUP โดย O antigen ตั้งแต่ 01-0193 และจะพบต่อไปอีก ที่สำคัญ คือ 01 และ 0139 ซึ่งสามารถสร้าง CT TOXIN ทำให้เกิดอาการถ่ายอุจจาระเป็นน้ำอย่ารุนแรงได้
ในปัจจุบันเชื้อที่กำลังระบาดในประเทศไทย คือ Vibrio cholerae El tor Ogawa และ Inaba การก่อโรคในคน ระยะฟักตัว 1-5 วัน การติดเชื้อ คือการที่เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายและสามารถเพิ่มจำนวนได้
องค์ประกอบของการติดเชื้อ มี 3 ประการได้แก่ จำนวน สำหรับ El tor Vibrio cholerae ประมาณ 1011 (แสนล้าน) ตัว เข้าถูกทาง เชื้อเข้าปากพร้อมอาหารและน้ำ เชื้อโรคมีความสามารถก่อพยาธิสภาพ ( virulence)
องค์ประกอบของการเกิดโรค แหล่งโรค (Source) วิธีการถ่ายทอดโรค (Mode of transmission) ผู้มีความไวรับและความต้านทานโรค (Susceptibility and Resistance)
รังโรค (Reservoir) ที่ที่เชื้อโรคสามารถอาศัยอยู่(ข้างในและ/หรือข้างนอก)และสามารถถ่ายทอดโรคได้ตามธรรมชาติ คน ผู้ป่วย และ พาหะ สิ่งแวดล้อม แพลงตอน สาหร่าย สัตว์ทะเลพวกกุ้ง ปู
แหล่งโรค คน ผู้ป่วย และ พาหะ สิ่งแวดล้อม อาหาร น้ำ หรือ วัตถุสิ่งของ ที่ที่มีเชื้อโรคอยู่และสามารถถ่ายทอดเชื้อโรคได้ทันที คน ผู้ป่วย และ พาหะ สิ่งแวดล้อม อาหาร น้ำ หรือ วัตถุสิ่งของ
Dormant state เกิดขึ้นเมื่อสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต คือ ระยะที่เชื้อ V. cholerae เปลี่ยนรูปร่างทรงกลม เกิดขึ้นเมื่อสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต สามารถอยู่ในธรรมชาติ(น้ำกร่อย)ได้นานเป็นปี มีการทดลองในสัตว์ทดลองหรือให้อาสาสมัครทานพบว่า ทำให้เกิดอาการอุจจาระร่วงได้
การแพร่โรค อาหารและน้ำ จำนวน เชื้อ V. cholerae (El Tor) ที่ ทำให้เกิด โรค =1011 ตัว คนสู่คน พบได้น้อย (อาจทำให้เกิดระบาดในโรงพยาบาล แม่ให้นมลูก)
การแพร่โรค อุจจาระผู้ป่วย 1 cc.มีเชื้อ V. cholerae 109 ตัว ตรวจพบเชื้อในผู้ป่วยได้จนถึง 2-5 วันหลังจากไม่มีอาการ
ผู้มีความไวรับ ภาวะที่มีกรดในกระเพาะอาหารน้อย ทานยาลดกรด ภาวะที่มีกรดในกระเพาะอาหารน้อย ทานยาลดกรด กระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรัง ตัดกระเพาะอาหาร เลือด group O
ความต้านทานโรค ถ้าติดเชื้อครั้งแรกด้วย biotype Classical สามารถป้องกันการติดเชี้อซ้ำได้ 100% ถึง 3 ปี ถ้าติดเชื้อครั้งแรกด้วย biotype El Tor สามารถป้องกันการติดเชี้อซ้ำได้ 90% แอนติบอดี้ต่อ serogroup O1 ไม่สามารถป้องกัน serogroup O139 ได้ แอนติบอดี้ Ab ถ่ายทอดจากแม่สู่ลูกได้
อาการของโรคอหิวาต์ ระยะฟักตัวของโรค 1- 5 วัน ระยะฟักตัวของโรค 1- 5 วัน ส่วนใหญ่ (90%) ไม่แสดงอาการ ถ่ายเหลวเป็นน้ำ อาเจียน ปวดท้อง ไข้ พบได้น้อย อาการของภาวะขาดน้ำ
การประเมินความรุนแรงของภาวะขาดน้ำ ไม่รุนแรง (Mild dehydration) ดำเนินชีวิตได้ตามปกติ ไม่รบกวนการประกอบอาชีพ ไม่อ่อนเพลีย ตรวจร่างกาย ปกติ รุนแรงปานกลาง (Moderate dehydration) มีอาการอ่อนเพลีย ยังพอเดินได้เริ่มรบกวนการดำเนินชีวิตประจำวัน ตรวจร่างกายพบ ปากแห้ง คอแห้ง
การประเมินความรุนแรงของภาวะขาดน้ำ รุนแรงมาก (Severe dehydration) มีอาการอ่อนเพลียมาก ส่วนใหญ่มัก ต้องนอนหรือนั่ง ต้องหยุดงาน ตรวจร่างกายพบ ชีพจรเร็ว ความดันต่ำ วัดความดันท่านั่งต่ำกว่าท่านอน
ภาวะแทรกซ้อน การสูญเสียน้ำอย่างมากทำให้เกิดภาวะไตวายเฉียบพลัน(Acute renal failure) หรือ shock และ หมดสติได้ การสูญเสียเกลือแร่ ทำให้เกิดอาการ ตะคริว ชารอบปาก ภาวะเลือดเป็นกรด
แนวทางการรักษา รักษาภาวะขาดน้ำ เป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุด การให้ยาปฏิชีวนะ ให้เฉพาะผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานต่ำ และผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง
Thank you for your attention