Thyroid.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

ความผิดปกติของระบบต่อมไร้ท่อ
หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
ต่อมไทรอยด์ คือ ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของร่างกาย อยู่บริเวณคอด้านหน้า, วางอยู่หน้าต่อหลอดลม ต่อมไทรอยด์ มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน โดยใช้ ธาตุไอโอดีน.
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
การพัฒนาการทางกาย ของวัยรุ่น.
รายงานสุขศึกษา เรื่อง : โรคคอพอก ส่ง อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย 1. ด. ญ
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
Myasthenia Gravis.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคในระบบต่อมไร้ท่อ.
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
โรคที่เกิดจากต่อมไร้ท่อ
โรคที่เกิดจากต่อมไร้ท่อ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น อาการ, อารมณ์ ( ปัญหาต่าง ๆ ) และพฤติกรรม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ( ปัญหา ) ไม่ได้เป็น สาเหตุของการเกิดอารมณ์ และพฤติกรรมโดยตรง แต่เกิดจาก.
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
การใช้ยาและอาการไม่พึงประสงค์ ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา
ว่านหางจระเข้ ฟ้าทะลายโจร เสลดพังพอน
Thyroid gland.
Tonsillits Pharynngitis
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
การบริหารการหายใจ เพื่อการคลายเครียด
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

thyroid

ต่อมธัยรอยด์ เป็นต่อมไร้ท่อที่ใหญ่ที่สุดของร่างกายมีน้ำหนักประมาณ 20 กรัม ในผุ้ใหญ่ มีรุปร่างคล้ายผีเสื้อ ตั้งอยุ่บริเวณคอระหว่างหลอดลมและกล่องเสียง

ต่อมธัยรอยด์จะหลั่งฮอร์โมน 2 ชนิด 1.ธัยรอกซิน( Thyroxine ) T4 2.ไตรไอโอโดธัยโรนิน( Triiodothyronine ) T3

ความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์ 1.ต่อมธัยรอยด์โตหรือคอพอก( Goiter ) 2.ต่อมธัยรอยด์ทำหน้าที่มากเกินไป (Hyperthyroidism) หรือต่อมธัยรอยด์เป็นพิษ (Thyrotoxicosis) 3.ต่อมธัยรอยด์ทำหน้าที่น้อยเกินไป(Hypothyroidism)

อาจเกิดจากความผิดปกติใน3อย่างต่อไปนี้ 1.โรคคอพอก ( Simple goiter ) ต่อมธัยรอยด์โต อาจเกิดจากความผิดปกติใน3อย่างต่อไปนี้ 1.โรคคอพอก ( Simple goiter ) 2.ต่อมธัยรอยด์อักเสบ ( Thyroiditis ) 3.เนื้องอกของต่อมธัยรอยด์

โรคคอพอกแบ่งเป็น 2 ชนิด 1.โรคคอพอกเฉพาะถิ่น ( Endodemic goiter ) พบมากทางภาคเหนือของประเทศไทย สาเหตุ 1.ขาดสารไอโอดีนในอาหารที่บริโภค

โรคคอพอกไม่จำกัดท้องถิ่น สาเหตุ 1.มีความบกพร่องทางพันธุกรรม 2.รับประทานอาหารที่ก่อให้เกิดคอพอกจำนวนมาก 3.รับประทานยาบางอย่างที่มีสารทำให้เกิดคอพอก

การวินิจฉัย -จากอาการ -การตรวจร่างกาย การรักษา 1.รักษาด้วยไอโอดีน หรือ ฮอร์โมนธัยรอยด์ 2.การผ่าตัดเอาต่อมธัยรอยด์ออกบางส่วน (Subtotal thyroidectomy)

การอักเสบของต่อมธัยรอยด์มี 3 ชนิด ต่อมธัยรอยด์อักเสบ การอักเสบของต่อมธัยรอยด์มี 3 ชนิด 1.ต่อมธัยรอยด์อักเสบเฉียบพลันจากมีหนอง ( Acute supparative thyroid ) 2.ต่อมธัยรอยด์อักเสบปานกลางจากเนื้องอกเล็ก ( Subacute granulomatous thyroiditis ) 3.ต่อมธัยรอยด์อักเสบเรื้อรัง ( Chronic thyroiditis)

สาเหตุ การวินิจฉัย * เชื้อแบคทีเรีย * เชื้อไวรัสหรือสเตร็ปโตคอคคัส * พันธุกรรมหรือจากร่างกายต้านระบบภุมิคุ้มกัน ของตนเอง การวินิจฉัย * จากอาการและอาการแสดง * การตรวจเลือด * การตรวจร่างกาย

การรักษา 1.การให้ฮอร์โมนธัยรอยด์ 2.การให้คอร์ติโคสเตียรอยด์ ระยะสั้น 3.การผ่าตัด

ภาวะต่อมธัยรอยด์เป็นพิษ เกิดจาก 1.การทำงานของต่อมธัยรอยด์มากขึ้น 2.การที่ต่อมธัยรอยด์ไม่ได้ทำงานมากขึ้น แต่ระดับ ธัยรอยด์ฮอร์โมนสุงขึ้น จากการอักเสบของต่อม ธัยรอยด์ หรือ ได้รับยาธัยรอยด์ฮอร์โมนมากเกินไป

อาการ 1. เหนื่อย ใจสั่น 2.รับประทานอาหารเก่งแต่น้ำหนักลด 3. ขี้ร้อน เหงื่อออกมาก 4. โมโห หงุดหงิดง่าย 5. นอนไม่หลับ 6. มีอาการถ่ายอุจจาระบ่อย 7. บางครั้งมีประจำเดือนผิดปกติ

อาการแสดง 1. หลุกหลิก กระสับกระส่ายไม่อยู่นิ่ง 2. มีมือสั่น ตาโปน 3. ผิวหนังชุ่มชื้น 4. ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตสุง 5. อาจมีอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลว 6. บวมที่หน้าแข้ง 7. มีอาการมากอาจถึงขั้นพายุธัยรอยด์ 8. มีไข้สูง มีการเร้าประสาทกล้ามเนื้อ และเพ้อคลั่ง

สาเหตุ สาเหตุที่แท้จริงยังไม่ทราบ แต่จะสัมพันธ์กับ 1. พันธุกุรรม 2. เพศ 3. อารมณ์ อัตราส่วนเพศหญิงต่อเพศชายที่มีภาวะต่อมธัยรอยด์เป็นพิษ 6:7 -7:1 บุคคลที่มีอารมณ์เครียดเสมอ มีอุบัติการการเกิด โรคนี้สุง

การรักษา 1. ให้ยา 2. ให้ไอโอดีนกัมมันตรังสี 3. การผ่าตัด การรักษาที่เป็นที่ยอมรับและนิยมทั่วไป คือการผ่าตัด ซึ่งจะกระทำภายหลังจากเตรียมผุ้ป่วยโดยให้รับประทาน ยาต้านธัยรอยด์จนผุ้ป่วยพ้นจากสภาพพิษธัยรอยด์เข้าสุ่ สภาวะปกติ

การปฏิบัติตัวหลังผ่าตัดธัยรอยด์ 1. การหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ 2. การไออย่างมีประสิทธิภาพ 3. การออกกำลังกายแขนและขาทั้ง 2ข้าง 4. การเคลื่อนไหวร่างกายหลังผ่าตัด ( early ambulation) 5. การออกกำลังกล้ามเนื้อบริเวณคอ

การปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน 1. สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ 2. การดุแลแผลผ่าตัด 3. การรับประทานอาหาร 4. การรับประทานยา 5. การพักผ่อน 6. การสังเกตุอาการผิดปกติ 7. การมาตรวจตามนัด

สวัสดี