พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
Advertisements

ชื่อโครงงาน : การอนุรักษ์พลังงานของระบบควบคุมแรงดันน้ำ Inside Outside
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง
8.2 Ampere’s Law “อินทริกรัลเชิงเส้นของสนามแม่เหล็กรอบเส้นทางปิดใดๆมีค่าเท่ากับกระแสที่ผ่านเส้นทางปิดนั้น” สำหรับสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสเส้นตรงยาวอนันต์
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
ดำเนินงานโดย สำนักฝึกอบรมและพัฒนาทรัพยากรบุคคล กับภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
X-Ray Systems.
สาระที่ 4 พีชคณิต.
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
อสมการ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
ENCODER.
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
Lab 2: การใช้ MATLAB สำหรับการสร้างแบบจำลองเพื่อวิเคราะห์
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
สื่อการสอนเรื่องแรงบนตัวนำ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
ระบบกลไก.
อุปกรณ์ขับเคลื่อนแบบหมุน
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
Second-Order Circuits
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
หม้อแปลง.
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
การใช้บอร์ดควบคุมสำหรับ Robot 35 in 1
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
หน่วยที่ 4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลัง
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
Magnetic Particle Testing
การหาค่าพารามิเตอร์เพื่อจำลองการทำงานของมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
หลักการแก้ปัญหา
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Stepper motor.
Application of PID Controller
DC motor.
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วย วงจรกรองแบบช่องบาก รูปที่ 5.1 โครงสร้างของระบบที่ใช้วงจรกรองแบบช่องบาก (5-1) (5-10) (5- 11)
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง เพื่อศึกษาการควบคุมในขั้นสูงต่อไป พิจารณาเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรงให้มีข้อจำกัดต่อไปนี้ ไม่พิจารณาการอิ่มตัวของสนามแม่เหล็ก ไม่คิดผลของอาร์เมเจอร์รีแอคชั่น แรงเคลื่อนแม่เหล็กจากอาร์เมเจอร์อยู่ในแนวขวางขั้วแม่เหล็กหลักอย่างเดียว

วงจรมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบพลวัต ถ้าสมมติสนามแม่เหล็กเป็นเชิงเส้น ถ้าเขียนในรูปของสมการลาปลาซ

เขียนเป็นสมการลาปลาซแบบไม่คิดค่าเริ่มต้น เมื่อสวิตช์ปิดที่ t = 0 เขียนเป็นสมการลาปลาซแบบไม่คิดค่าเริ่มต้น เมื่อ (ทดสอบหาโดยป้อน AC)

ส่วนสมการพลวัตของระบบทางกล เมื่อ

ในส่วนกระแสไฟฟ้าที่เข้าอาร์เมเจอร์ จาก

จาก

การทดสอบหาพารามิเตอร์ Ra ทดสอบด้วยแรงดันกับกระแสไฟตรง Km ได้จากมอเตอร์หมุนตัวเปล่าในสภาวะคงตัว Laq ทดสอบด้วยแรงดันกับกระแสไฟสลับ ทดสอบ Run down

ตัวอย่าง 1 มอเตอร์แบบแยกกระตุ้นมีพารามิเตอร์เป็น Ra = 0 ตัวอย่าง 1 มอเตอร์แบบแยกกระตุ้นมีพารามิเตอร์เป็น Ra = 0.5 Laq ~ 0 และ B ~ 0 แรงเคลื่อนเหนี่ยวนำอาร์เมเจอร์ของมอเตอร์เป็น 220 V ที่ 2,000 rpm และกระแส If เป็น 1 A มอเตอร์ขับโหลดคงที่ TL = 25 N-m ค่า J ทั้งหมดเป็น 2.5 Kg-m2 ที่ If - 1 A และ Vt = 220 Vdc (a) จงแสดงสมการความเร็ว ( ) พร้อมที่มาในฟังก์ชันของเวลา (b) หาค่ากระแสและความเร็วรอบที่สภาวะคงตัว วิธีทำ = =1.05 V/rad/sec = = = =

จากสมการแรงดัน และแรงบิด จะได้ว่า

***ข้อนี้ไม่ซับซ้อนเพราะว่าไม่พิจารณา ***ถ้าพิจารณาทุกค่าจะซับซ้อนมาก จึงขอนำเสนอตัวอย่างถัดไป โดยใช้โปรแกรม MatLab ช่วยจำลองระบบ****

ตัวอย่าง 2 มอเตอร์แบบแยกกระตุ้น 500 hp 250 V มีกระแสอาร์เมเจอร์เป็น 1400 A จงหาค่าความเร็วรอบในฟังก์ชันของเวลา ถ้าแรงดันอาร์มาเจอร์ลดลง 20% โดยโหลดยังมีค่าคงที่ และพารามิเตอร์เป็นดังต่อไปนี้ Ra=0.0035 Laq=0.000175H Km=2.65 V/rad./sec. J = 74.6 Kg-m2 และ ความสูญเสียจากการหมุน = 5.4 kW ที่ 900 rpm วิธีทำ พิจารณาจากสมการ ต้องหาค่าพารามิเตอร์ ให้ครบถ้วนก่อน แรงบิดส่วนการสูญเสียจากการหมุน กำลังส่วนการสูญเสียจากการหมุน ค่าคงที่ส่วนการสูญเสียจากการหมุน

อาจพิจารณาจาก อาจแก้ปัญหาโดยใช้ลาปลาซ หรือวิธีอื่นๆ

หรืออาจแก้ปัญหาโดยใช้สมการเมทริก (eig(A) ใน MatLab ) ค่าเจาะจงหาจาก ค่าเจาะจงแต่ละค่าถือเป็นรากสมการ จำนวนจริงที่เป็นลบ ถือว่าระบบมีเสถียรภาพ

กรณีที่มี ค่าเจาะจง หลายค่าจะได้คำตอบส่วนธรรมชาติ (natural response) เป็น ค่า M และ หาจากค่าเริ่มต้น จึงได้คำตอบเป็นสมการความเร็วรอบ เมื่อปรับลดแรงดันไปเป็น 200V เป็น

นำสมการความเร็วรอบมาเขียนกราฟเป็นดังรูป

การจำลองระบบด้วย MatLab Simulink จากตัวอย่าง 2 ที่ผ่านไป นำพารามิเตอร์ที่ได้ ไปใส่ในบล็อกไดอะแกรมมอเตอร์กระแสตรง

บทสรุป พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์กระแสตรง ส่วนวงจรอาร์เมเจอร์คิดค่ารีแอคแตนซ์เพิ่มเข้ามา แก้ปัญหาโดยลาปลาซ หรือเมทริก ต้องการจำลองระบบอาจใช้ MatLab Simulink