กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

สมดุลเคมี.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
Time-Dependent Phenomena of Excited State
Ground State & Excited State
Chapter 7 Poisson’s and Laplace’s Equations
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
Morse Curve.
“Non Electrolyte Solution”
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
??? กฏข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics)
Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
Enthalpy of Formation DHof = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปีของปฏิกิริยา
(Colligative Properties)
พลังงานอิสระ (Free energy)
Heat Capacity นิยาม ความจุความร้อนโมลาร์ (C ): ความร้อนที่ให้สาร 1 โมล
2NO 2 = N 2 O 4 ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ทดลองเพื่ออะไร.
Introduction to The 2nd Law of Thermodynamics
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
1st Law of Thermodynamics
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
F = C - P + 2 Free Energy and Phase Equilibria The Phase Rule
Phase equilibria The thermodynamics of transition
ชีวเคมี II Bioenergetics.
Laboratory in Physical Chemistry II
งบดุลความร้อนของมหาสมุทร (Heat Budget of the Ocean)
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
สารที่มีค่าลดทอนเหมือนกัน จัดว่าอยู่ในสภาวะที่สอดคล้องกัน
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
(GAS - EQUATION OF STATE)
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
ทบทวนความรู้ การสอบปฏิบัติการครั้งที่ 1
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
งานและพลังงาน (Work and Energy).
Second-Order Circuits
พลังงานภายในระบบ.
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
(Internal energy of system)
Chapter 6 Thermodynamic Properties of Fluids
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
การทดลองที่ 5 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
อุณหพลศาสตร์ Thermodynamics
Review of Basic Principle of Thermodynamics 1
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
Effect of Temperature dH = H dT = CpdT T Constant presure
การคำนวณหาค่าคงที่สมดุล
1.6 The enthalpy กิจกรรมฝึกคำนวณเกี่ยวกับ Calorimetry
Chemical equilibrium Thermodynamic background 4.1 The reaction Gibbs energy Gibbs energy ของปฏิกิริยา แทนด้วย  r G ปฏิกิริยาเคมีจะอยู่ที่สมดุล ณ ความดันและ.
อุณหพลศาสตร์ (Thermodynamics)
Physics Thermodynamics-1
บทที่ 9 เทอร์โมไดนามิกส์เคมี
Property Changes of Mixing
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
BIOENERGETICS อ.ชัยวัฒน์ วามวรรัตน์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์ (The third Law of Thermodynamics) จากหลักการที่ว่า เมื่ออุณหภูมิของระบบลดลง ระบบย่อมมีความเป็นระเบียบสูงขึ้น และค่าเอนโทรปีของระบบย่อม ลดลง Lewis และ Randall ตั้งกฎข้อที่ 3:

So = O “ ที่ O Kelvin เอนโทรปีของสารผลึกบริสุทธิ์ สมบูรณ์แบบ (perfect crystalline substance) มีค่าเป็นศูนย์ ส่วนเอนโทรปีของสารใด ๆ มีค่าเป็นบวกเสมอ “ So = O

จาก dS =Dqrev T

= Third Law Entropy ST ไม่ใช่ DS DHmelt T O K Tf Tb S0 DHvap Solid liquid gas T O K Tf หรือ Tm Tb (freezing point) (boiling point) (melting point) ST = Third Law Entropy ไม่ใช่ DS S0 absolute entropy ที่สภาวะมาตรฐาน

การหาค่า DS สามารถคำนวณได้โดยตรงจากสมการ

พลังงานอิสระ (Free energy) เงื่อนไขของการเกิดได้เองและสภาวะสมดุล จาก 2nd law : DStot O DS + DSsurr O

หรือ dS - dSsurr

TdS Dqrev เครื่องหมาย = reversible process (equilibrium) เครื่องหมาย = reversible process (equilibrium) เครื่องหมาย > irreversible process Isolated system: qrev = O; dS = O เสมอ

Closed system: อุณหภูมิ & ปริมาตรคงที่ อุณหภูมิ & ความดันคงที่

1. การเปลี่ยนแปลงที่อุณหภูมิ และปริมาตรคงที่ 1. การเปลี่ยนแปลงที่อุณหภูมิ และปริมาตรคงที่ จาก 1st law : dU = Dq + DW Dq = dU - DW Dq = dU + PdV

TdS Dqrev ปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้เอง เมื่อ จะได้ TdS dU + PdV หรือ dU + PdV - TdS O

เมื่อ V คงที่ d(U-TS) O dV = O ; PdV = O TdS = d(TS) = TdS + SdT dU + PdV - TdS O dV = O ; PdV = O TdS = d(TS) = TdS + SdT T คงที่ dU - d(TS) O d(U-TS) O จะได้ความสัมพันธ์ใหม่คือ

A = U - TS d(U-TS) O กำหนดฟังก์ชัน A: dA = O ปฏิกิริยาเกิดแบบย้อนกลับได้ dA < O ปฏิกิริยาเกิดแต่ย้อนกลับไม่ได้

เมื่อ T,V คงที่: dA O เมื่อ A = Helmholtz’ Free Energy เป็นฟังก์ชันสภาวะ เมื่อ T,V คงที่: dA O

??? 2. การเปลี่ยนแปลงที่อุณหภูมิ และความดันคงที่ เมื่อ P คงที่ 2. การเปลี่ยนแปลงที่อุณหภูมิ และความดันคงที่ เมื่อ P คงที่ dU + PdV - TdS O ???

d(U + PV - TS) O d(H - TS) O P คงที่: PdV = d(PV) = PdV + VdP T คงที่: TdS = d(TS) = TdS + SdT dU + d(PV) - d(TS) O d(U + PV - TS) O d(H - TS) O

G = H - TS d(H-TS) O กำหนดฟังก์ชัน G: dG = O ปฏิกิริยาเกิดแบบย้อนกลับได้ dG < O ปฏิกิริยาเกิดแต่ย้อนกลับไม่ได้

เมื่อ G = Gibbs’ Free Energy เป็นฟังก์ชันสภาวะ เมื่อ T,P คงที่: dG O

Josiah Willard Gibbs (1839 - 1903)

“สรุป“ dG = O ปฏิกิริยาเกิดแบบย้อนกลับได้ Reversible Process (equilibrium) dG < O ปฏิกิริยาเกิดแต่ย้อนกลับไม่ได้ Spontaneous Irreversible dG > O ปฏิกิริยาไม่เกิด หรือเกิดในทิศทางย้อนกลับ

a A + b B ฎ c C + d D พิจารณาสมการ หาได้จากค่า DGof การหาค่า DG DGof = Gibbs’s free energy of formation DG o = S (np(DGof)P) - S (nR(DGof)R) R P

ความหมาย ของ พลังงานอิสระ : งานในรูปอื่น ๆ เช่น งานไฟฟ้า ที่ไม่ใช่งานการเปลี่ยนแปลงปริมาตร จากกฎข้อที่ 1: W = W’ + WPV

DU = q + W = q + W’ + WPV DU = q + W’ - PdV DU = q + W’ - PDV (ที่ความดันคงที่)

ดังนั้น : DG = W’ = q + W’ - PDV + PDV - TDS = TDS + W’ - TDS จาก DG = DH - TDS ที่อุณหภูมิคงที่ = (DU + PDV) - TDS ที่ความดันคงที่ = q + W’ - PDV + PDV - TDS = TDS + W’ - TDS ดังนั้น : DG = W’

A = U - TS G = H - TS = U + PV - TS ความสัมพันธ์ระหว่าง A กับ G G = A + PV H = U + PV

การหาค่า DG จาก DH และ DS จาก DG = DH - D(T S) ที่อุณหภูมิคงที่ : DG = DH - TDS Standard State : DG0 = DH0- TDS0

- เสมอ + DG < O 1. ถ้า DH < O และ DS > O ปฏิกิริยา DG0 = DH0- TDS0 - + DG < O เสมอ 1. ถ้า DH < O (คายความร้อน) และ DS > O (S เพิ่มขึ้น) ปฏิกิริยา เกิดขึ้นได้เอง

เสมอ - + + DG > O 2. ถ้า DH > O และ DS < O (S ลดลง) DG0 = DH0- TDS0 + - + DG > O เสมอ 2. ถ้า DH > O (ดูดความร้อน) และ DS < O (S ลดลง) ปฏิกิริยา เกิดขึ้นไม่ได้ A + B ฎ C + D A + B ฌ C + D แต่จะเกิดในทิศทางย้อนกลับ

เมื่อ T > DH + + DG < O 3. ถ้า DH > O TDS > DH DG0 = DH0- TDS0 + + DG < O เมื่อ 3. ถ้า DH > O (ดูดความร้อน) และ DS > O TDS > DH (S เพิ่มขึ้น) T > DH DS

เมื่อ - - T < DH + DG < O 4. ถ้า DH < O TDS < DH DG0 = DH0- TDS0 - + - DG < O เมื่อ 4. ถ้า DH < O (คายความร้อน) และ DS < O TDS < DH (S ลดลง) T < DH DS

5. ถ้า DH = TDS DG = O นั่นคือระบบอยู่ในสภาวะสมดุล

Given that DGo for the hydrolysis of ATP Ex 1. Given that DGo for the hydrolysis of ATP to ADP and phosphate is -30.5 kJ.mol -1 and DGo for the hydrollysis of ADP to AMP and phosphate is -31.1 kJ.mol-1 . What is the DGo for the process below: ATP + AMP ฎ 2 ADP under these conditions? (0.6 kJ-mol-1)

2. At 310 K, the DGo for ATP hydrolysis is -30. 5 kJ. mol-1 2. At 310 K, the DGo for ATP hydrolysis is -30.5 kJ.mol-1. Calorimetric measurements give DHo = -20.1 kJ.mol-1. What is the Value of DSo for this process? (33.5 J.K.-1mol-1)

แต่กรณี [H+] = 1 Molar pH = O H2O + ATP4- ฎ ADP3- + HPO2-4 + H+ Chemical Standard State Solutes : ATP4- , ADP3- , Pi , H+ ต่างก็มีความเข้มข้น 1 M แต่กรณี [H+] = 1 Molar pH = O

(neutrality) ATP4- , ADP3+ , Pi 1 M H+ 10-7 M Biochemical Standard State pH = 7 (neutrality) ATP4- , ADP3+ , Pi 1 M H+ 10-7 M pH = 7

DGo ของระบบทาง Biological System

Bioenergetics การศึกษาการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ใน living system เช่น “ Glycolysis” ซึ่งเป็น biochemical reaction ที่สำคัญกระบวนการหนึ่ง

สำหรับปฏิกิริยา A + B ฎ C+ xH+ Standard State คือ [A] = [B] = [C] = 1 M และ [H+] = 10-7 M

ถ้า x = 1 ; ที่ 298.15 K จะได้ DGo’ = DGo - 39.95 kJ DGo’ = DGo + RT ln [H+ ] x = DGo + xRT ln [H+ ] = DGo + xRT ln (10-7) ถ้า x = 1 ; ที่ 298.15 K จะได้ DGo’ = DGo - 39.95 kJ

แสดงว่า ในปฏิกิริยาที่ผลิต H+ ; DGo’ จะมีค่าน้อยกว่า DGo นั่นคือ สำหรับปฏิกิริยา A + B ฎ C+ xH+ DGo’ = DGo - 39.95 kJ แสดงว่า ในปฏิกิริยาที่ผลิต H+ ; DGo’ จะมีค่าน้อยกว่า DGo นั่นคือ ปฏิกิริยาที่เกิดที่ pH = 7 จะเกิดได้ ดีกว่าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ pH = O