ออยเกน โกลด์ชไตน์ ( Eugen Goldstein )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Advertisements

Lecture 4 เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค
นาย ภาณุวัฒน์ เอกธรรมสุทธิ์
หน่วยที่ 1 กระดูก เนื้อเยื่อ.
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
อิเล็กตรอนและโครงสร้างอะตอม Electron & Atomic Structure อ
การเล่าเรื่อง.... ชีววิถีสู่ครัวเรือน. เรื่อง การผลิตฮอร์โมนพืช ผู้เล่า ธีรารัตน์ สุวรรณาลัย แนวคิด อยากลองใช้ EM กับต้นไม้ดอกไม้ใน บ้านเพื่อเร่งการออกดอกของต้นไม้
กลุ่มที่ 2 หัวข้อสัมมนา : ศูนย์บริการเคลื่อนที่ (X-Ray) 1. ควรมีการ X-Ray อะไรบ้าง อย่างไร และการบริการควรมีอะไรบ้าง อย่างไร 2. แบบฟอร์มการ X-Ray ควรมีอะไรบ้าง.
วิธีทำ ตัวอย่างที่ 2.15 ก. สอบผ่านอย่างน้อยหนึ่งวิชา.
Phonics ชมรมครูพ่อแม่
Java collection framework
1 Sutassa BenyasutKasetsart University Rangsarid TangkanaKhonkaen University Weekly Report # 2&3.
แผนยุทธศาสตร์ กรมคุมประพฤติ พ.ศ วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรชั้นนำในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดแบบบูรณาการ เพื่อความสงบสุขของชุมชน อย่างยั่งยืน.
เทคนิคเกษตรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
อัมพาตครึ่งซีก.
อะตอม คือ?.
โครงการ PrEP PACKAGE ปี 2561
ชี้แจง ตัวชี้วัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สำหรับโรงพยาบาล
ฟิสิกส์นิวเคลียร์(Nuclear Physics)
World Time อาจารย์สอง Satit UP
ดาวบาร์นาร์ด.
กล้องจุลทรรศน์และการย้อมสี
โครงสร้างอะตอม.
กองทุนประกันสังคม พ.จ.อ.พิชิต ศรีทองหนา จนท.สิทธิประกันสังคม
2.1 การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า 2.2 กลุ่มดาว
สัญลักษณ์.
แบบจำลองแรงโน้มถ่วง.
จังหวัดสุรินทร์ วันที่ 1 – 3 กรกฎาคม 2558
กลุ่มอาชีวอนามัย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
Nuclear Physics I นิวเคลียร์ ฟิสิกส์ 1
ทฤษฎีกรด-เบส โดย อาจารย์ วิชัย ลาธิ.
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษา โดย อาจารย์สุวิสาข์ เหล่าเกิด
การดำเนินงานสาธารณสุขชายแดน ไทย- สปป.ลาว จังหวัดน่าน
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับอำเภอรอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561 อำเภอเมืองอ่างทอง วันที่ 11 มิถุนายน 2561.
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับจังหวัด รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561
การจัดทำคำขอตั้งงบประมาณ รายละเอียดงบประมาณจำแนกตามงบรายจ่าย
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
นิโคลา เทสลา โดย นาย สุทธิวุฒิ ศิริกัน 4.2 เลขที่ 35
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
อะตอม และ ตารางธาตุ โดย อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
สัมมนาการตลาด (Seminar in Marketing)
การจัดการขยะอินทรีย์โดยการทำน้ำสกัดชีวภาพ
โรงพยาบาลคุณธรรม โรงพยาบาลชะอำ
ดัชนีชี้วัดทัศนคติผู้ลงทุน (Investor Sentiment Index: ISI)
กองทุนประกันสุขภาพ แรงงานต่างด้าว จังหวัดขอนแก่น.
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
Assignments งานประจำวิชา.
จุดบนดวงอาทิตย์.
ระบบเลือดในมนุษย์ ABO Rh A Rh+ B Rh- AB O.
แนวคิดจิตสาธารณะในมิติเยาวชน
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
คิดบวก ชีวิตบวก Positive Thinking, Positive Life
จุดเรียนรู้การจัดการขยะอินทรีย์และขยะเปียกในครัวเรือน
การบริหารการตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
การบริหารการตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
(กลุ่มอาการไข้ ไอ หอบ)
ครั้งที่ 6/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การเคลื่อนไหวของพืช นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
ดัชนีชี้วัดทัศนคติผู้ลงทุน (Investor Sentiment Index: ISI)
ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
การให้การปรึกษาวัยรุ่น
(ตัวอย่าง)การวิเคราะห์สภาวะภายใน
USA Revision BBC videos
Introduction to Public Administration Research Method
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ร่างแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ออยเกน โกลด์ชไตน์ ( Eugen Goldstein )

ประวัติ ออยเกน โกลด์ชไตน์ เกิด 5 กันยายน 1850 กลิวิซ,อัปเปอร์แคว้นซิลีเซียที่รู้จักกันในตอนนี้คือ กลิวิซ ประเทศโปแลนด์เสียชีวิต 25 ธันวาคม 1930 Berlin,Germany เบอร์ลิน เยอรมนีสัญชาติเยอรมัน เขาศึกษาที่ หอดูดาวเบอร์ลิน Potsdam Observatoryหอทสดัม ตั้งแต่ 1878 – 1890  แต่ใช้เวลาส่วนใหญ่ในอาชีพของเขาที่หอทสดัม ซึ่งเขาได้กลายเป็นหัวหน้าของส่วน Astrophysical ในปี 1927 

การทำงาน ในปี พ.ศ. 2409 (ค.ศ. 1866) ออยเกน โกลด์ชไตน์ ได้ทำการทดลองโดยเจาะรูที่ขั้วแคโทดในหลอดรังสีแคโทด พบว่าเมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในหลอดรังสีแคโทดจะมีอนุภาคชนิดหนึ่งเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงไปในทิศทางตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของรังสีแคโทดผ่านรูของขั้วแคโทด และทำให้ฉากด้านหลังขั้วแคโทดเรืองแสงได้ โกลด์ชไตน์ได้ตั้งชื่อว่า “รังสีแคแนล” (canal ray) หรือ “รังสีบวก” (positive ray)

การทำงาน สมบัติของรังสีบวกมีดังนี้ 1. เดินทางเป็นเส้นตรงไปยังขั้วแคโทด 1. เดินทางเป็นเส้นตรงไปยังขั้วแคโทด 2. เมื่อผ่านรังสีนี้ไปยังสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า รังสีนี้จะเบี่ยงเบนไปในทิศทางตรงข้ามกับรังสีแคโทด แสดงว่ารังสีนี้ประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก 3. มีอัตราส่วนประจุต่อมวลไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับชนิดของแก๊สในหลอด และถ้าเป็นแก๊สไฮโดรเจนรังสีนี้จะมีอัตราส่วนประจุต่อมวลสูงสุด เรียกอนุภาคบวกในรังสีแคแนลของไฮโดรเจนว่า “โปรตอน” 4. มีมวลมากกว่ารังสีแคโทด เนื่องจากความเร็วในการเคลื่อนที่ต่ำกว่ารังสีแคโทด

การหาค่าประจุต่อมวล ของอนุภาคบวก โกลด์ชไตน์หาค่า e/m ได้ดังนี้ e/m ของอนุภาคบวกมีค่าไม่คงที่ขึ้นอยู่กับธาตุแต่ละชนิด เพราะอะตอมของก๊าซแต่ละชนิดมีมวลไม่เท่ากัน จึงทำให้ค่าประจุต่อมวลของอนุภาคบวกมีค่าไม่เท่ากัน สำหรับค่าประจุต่อมวล e/m ของก๊าซไฮโดรเจนหรือโปรตอน จะมีค่าดังนี้

ผลงาน ค้นพบอนุภาคที่เรียกว่า " โปรตอน " ( Proton ) ซึ่งมาจากการทดลองโดยเจาะรูที่รังสีแคโทดและแอโนดแล้วสังเกตภาพที่ฉากเรืองแสง คิดคำนวณค้นพบมวลของโปรตอนมีค่าเท่ากับ 1.66 X 10-24 กรัม และมีประจุเท่ากับ 1.6 X 10-19 คูลอมบ์

ที่มา http://en.wikipedia.org/wiki/Eugen_Goldstein http://www.thaigoodview.com/node/17287?page=0%2C2 http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/156/1/index1.htm http://members.tripod.com/chem_atom_yothin/tompson.htm

นาย พิชชญา ถูกนึก เลขที่ 12 ม.4.2 จัดทำโดย นาย พิชชญา ถูกนึก เลขที่ 12 ม.4.2