ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 10 ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
หน่วยที่ 18 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 2
หน่วยที่ 13 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดแกนเหล็กเคลื่อนที่
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 10 การขยายย่านวัด
ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ
Ch 2 Resistive Circuits วงจรซึ่งประกอบไปด้วย Resistors กับ Sources วงจรซึ่งประกอบไปด้วย Resistors กับ Sources กฎหลักพื้นฐานของการวิเคราะห์วงจรมี 2 ข้อคือ.
หน่วยที่ 5 กฎของโอห์ม.
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
RESONANCE CIRCUITS - IMPEDANCE REVIEW
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าและ
บทที่ 6 เรื่องกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
ไฟฟ้าคืออะไร หนังสือวิทยาศาสตร์ หรือเว็บไซต์ต่างๆ ให้ความหมายที่แตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น - ไฟฟ้า คือ พลังงานรูปหนึ่งที่สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นได้
3.2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน.
หน่วยที่ 3 กฎของโอห์ม ความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้า ( I ) ความต้านทาน ( R ) และความต่างศักย์ (E, V)
ครูวัฒนา พุ่มมะลิ (ครูเจ๋ง)
รหัส มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 (10)
Gas Turbine Power Plant
ELECTRONICS Power อาจารย์ผู้สอน การประเมินผล Lab ปฏิบัติ
การวิเคราะห์วงจรสายส่ง Transmission Line Analysis
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
776 วงจรไฟฟ้า 1 หน่วยที่ 3 แผ่นที่ 3.1/11 กำลังไฟฟ้า
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
การควบคุมการไหลของกำลังไฟฟ้า
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสสลับ AC Indicating Instruments
อันตรกิริยาไฟฟ้า ดร.ณัฐดนัย สิงห์คลีวรรณ.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
พลังงานกับการดำรงชีวิต
บทที่ 3 คุณลักษณะของไดโอด
บทที่ 5 ไดโอดชนิดพิเศษ ไดโอดชนิดพิเศษ เช่น ซีเนอร์ไดโอด ไดโอดเปล่งแสง โพโต้ไดโอด และไดโอดแบบอื่นๆ ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในการควบคุมในงานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม.
งานไฟฟ้า Electricity.
แบบจำลองของระบบไฟฟ้ากำลัง Power System Modeling
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
Basic Electronics.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
พารามิเตอร์สายส่ง Transmission Line Parameters
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
ฟิสิกส์ ฟิสิกส์ กลุ่มเรียนที่ 1 อาจารย์ผู้สอน อ.ดร. วรินทร ศรีทะวงศ์ ห้องทำงาน ห้อง 545 ชั้น 5 อาคารวิชาการ 2 (C2) โทรศัพท์ (office)
วงจรข่ายสองทาง (Two Port Network)
Elements of Thermal System
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
การประมาณโหลดไฟฟ้าเบื้องต้น Electrical Load Estimation
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน เรื่อง กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
Electrical Instruments and Measurements
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้ ระดับแรงดันสำหรับสายส่งแรงสูง ส่งจากโรงไฟฟ้า ระหว่างสถานีไฟฟ้า 69kV, 115kV, 230kV, 500kV อยู่ในความรับผิดชอบของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต ระดับแรงดันสำหรับระบบจำหน่ายแรงสูง สถานีไฟฟ้าย่อยระบบจำหน่าย ไปยังหม้อแปลงระบบจำหน่าย 11kV, 22kV, 33kV, 22kV, 24kV ระดับแรงดันสำหรับระบบจำหน่ายแรงต่ำ -ระบบ1 เฟส 2 สาย 220 โวลต์ ความถี่ 50 เฮิรตซ์ -ระบบแรงต่ำ 3 เฟส 4 สาย 380 โวลต์ 50 เฮิรตซ์ * โวลต์ = V

กระแสไฟฟ้าแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current : DC) คือการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนมีทิศทางการไหลในทิศทางเดียวจากขั้วลบไปยังขั้วบวก เช่นแบตเตอรี่รถยนต์ 24 volt ถ่านไฟฉาย 1.5 volt ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current: AC) เป็นการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนมีทิศทางไหลกลับไปกลับมาตลอดเวลา โดยการเคลื่อนที่ประจุไฟฟ้าบวกและลบสลับกันในตัวนำสาย เช่น ไฟฟ้าตามบ้าน220 โวลต์ 50 เฮิรตซ์

หน่วยวัดทางไฟฟ้า ความต้านทานไฟฟ้า (Resistance) แรงดันไฟฟ้า (Voltage) เป็นคุณสมบัติของสสารที่ต่อต้านการไหลของกระแสไฟฟ้า สสารที่มีความต้านทานไฟฟ้าน้อยกว่าเรียกว่า ตัวนำไฟฟ้า ส่วนสสารที่มีความต้านทานไฟฟ้ามากกว่าเรียกว่า ฉนวนไฟฟ้า ความต้านทานมีหน่วยเป็นโอห์ม () แรงดันไฟฟ้า (Voltage) เป็นแรงที่ทำให้อิเล็กตรอนเกิดการเคลื่อนที่ หรือแรงที่ทำให้เกิดการไหลของไฟฟ้า มีหน่วยเป็น โวล์ท (V) กระแสไฟฟ้า (Current) เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ภายในตัวนำไฟฟ้า หน่วยเป็น แอมแปร์ (A) กำลังงานไฟฟ้า (Power) อัตราการเปลี่ยนแปลงพลังงาน หรืออัดตราการทำงาน มีหน่วยเป็น วัตต์ (Watt : W)

หน่วยวัดทางไฟฟ้า(ต่อ) พลังงานไฟฟ้า (Energy) กำลังไฟฟ้าที่ใช้ไประยะหนึ่ง มีหน่วยเป็น วัตต์-ชั่วโมง (watt-hour) หรือ ยูนิต (unit) ความถี่ (Frequency) จำนวนรอบของกระแสไฟฟ้าสลับ มีหน่วยเป็น เฮิรตซ์ Hz รอบ (cycle) การเปลี่ยนแปลงทางไฟฟ้าครบ 360 องศาซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงไฟฟ้าค่าบวก และค่าลบได้สมบูรณ์ แรงม้า (Horse Power) หรือกำลังม้า เป็นหน่วยวัดกำลังหรืออัตราการทำงาน 1 แรงม้า = 550 ฟุต-ปอนด์ หรือ 745.7 วัตต์ ประมาณ 746 วัตต์

สมการไฟฟ้า กฎของโอห์ม (ohm’s low) ค.ศ. 1862 นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน George Simon Ohm กล่าวว่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรจะแปรผันตรงกับแรงดันไฟฟ้าและแปรผกผันกับค่าความต้านทาน E = IR สมการค่ากำลังไฟฟ้า มีหน่วยเป็นวัตต์ P=EI สมการค่าพลังงานไฟฟ้า W = Pt กิโลวัตต์ต่อชั่วโมง หรือยูนิต(unit) E P I R E I