ศาล ทำหน้าที่.... ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลทหาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบบัตรประจำตัวประชาชน โครงการขยายการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนแบบใหม่
Advertisements

แนะนำอุปกรณ์ระบบคอมพิวเตอร์
เรื่องเล่าคนชายขอบต่างชาติพันธุ์ในวรรณกรรมไทยร่วมสมัย พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๕๕
MARKET PLANNING DECISION
บทที่ ๒ พัฒนาการของรัฐธรรมนูญนิยม (CONSTITUTIONALISM)
รูปแบบระบบเครื่อง คอมพิวเตอร์ โครงการขยายการให้บริการด้วย ระบบคอมพิวเตอร์ บรรยายโดย : ด๊ะลาน เด็งจิ
โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
โครงร่างของรัฐธรรมนูญ 2550(Social Contract)
ปฏิญญาสากลว่าด้วย สิทธิมนุษยชน
นสภ.ณัฐกานต์ ศรีกรินทร์
หินอัคนี (Igneous rocks)
P r o t i s t a /.../Sarcodina/ap/intactcell.jpg.
What is CSS? CSS (Cascading Style Sheet) ซึ่งเราจะใช้ CSS เพื่อให้แก้ไขคุณสมบัติ ของเว็บเพจ ให้มีหน้าตา สีสันหรือรูปแบบเป็นไปตามที่ต้องการ CSS มีลักษณะคล้ายหน้ากาก.
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law (ตอน 02)
ยุคกลาง : Medieval Age The Church อาจารย์สอง Satit UP.
ตอนที่ 2 ขอบเขตการบังคับใช้ พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่
travel margie’s margie’s travel
ตอนที่ 2 ขอบเขตการบังคับใช้ พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
รัฐธรรมนูญในฐานะกฎหมายสูงสุดแห่งรัฐ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ Constitutional Law
บทที่4 การควบคุมการใช้อำนาจรัฐ
ระบบรัฐบาล ในระบอบเสรีประชาธิปไตย
Health Data System.
SMART TALK : Naval Nurse
รัฐธรรมนูญในฐานะกฎหมายสูงสุดแห่งรัฐ
PPA 1106 สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศาล ทำหน้าที่.... ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลทหาร ศาลปกครอง....คดีพิพาทระหว่างหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชนกรณีหนึ่ง และข้อพิพาทระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกันอีกกรณีหนึ่ง ศาลรัฐธรรมนูญ..พิจารณาวินิจฉัยว่าร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือร่างข้อบังคับการประชุมของสภาผู้แทนราษฎรของวุฒิสภา หรือของรัฐสภา ที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือรัฐสภา แล้วแต่กรณี ให้ความเห็นชอบแล้ว แต่ยังมิได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือไม่  ศาล ทำหน้าที่.... ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลทหาร 2

ที่ไม่ได้อยู่ แยกเป็น 4 ประเภท คือ ศาลทหาร พิจารณาพิพากษาลงโทษผู้กระทำความผิดอาญาซึ่งเป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหาร ที่ไม่ได้อยู่ แยกเป็น 4 ประเภท คือ 1.ได้แก่คดีที่บุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารกับบุคคลที่ไม่อยู่ในอำนาจศาลทหารกระทำผิดด้วยกัน 2.ได้แก่คดีที่เกี่ยวพันกับคดีที่อยู่ในอำนาจศาล พลเรือน 3.ได้แก่คดีที่ต้องดำเนินในศาลเยาวชนและครอบครัว เนื่องจากอายุของผู้กระทำความผิด ซึ่งคงจะมีแต่เฉพาะนักเรียนทหาร 4.ได้แก่คดีที่ศาลทหารเห็นว่าไม่อยู่ในอำนาจศาลทหาร คดีประเภทนี้คงจะต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์ 2 ประการ ประการแรก คือ ได้มีการฟ้องคดียังศาลทหารแล้ว ประการที่สอง คือ เป็นคดีที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์ในสามประเภทแรก 3

ศาลยุติธรรม ศาลยุติธรรม เป็นศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่คดีที่รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอำนาจของศาลอื่น ศาลยุติธรรมมี 3 ชั้น คือ ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ได้แก่ ศาลอุทธรณ์ และศาลอุทธรณ์ภาค ศาลฎีกา ซึ่งเป็นศาลยุติธรรมสูงสุด ที่มีอยู่เพียงศาลเดียว https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1_(%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2)

อัยการสูงสุดเป็นผู้ฟ้องคดีอาญา ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐระดับสูง ต่อศาลฎีกา แผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง

ทบทวน

1.พิจารณาข้อความต่อไปนี้ รัฐธรรมนูญ คือ กติกาในการบริหารประเทศ รัฐธรรมนูญไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ Magna Carta เป็นรัฐธรรมนูญของกรีก รัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทยพระราชทานโดย รัชกาลที่ 7 รัฐธรรมนูญที่กำลังมีเป็นฉบับที่ 20 8

พิจารณาข้อความต่อไปนี้ รัฐธรรมนูญ คือ กติกาในการบริหารประเทศ  รัฐธรรมนูญไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้  Magna Carta เป็นรัฐธรรมนูญของกรีก รัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทยพระราชทานโดย รัชกาลที่ 7  รัฐธรรมนูญที่กำลังมีเป็นฉบับที่ 20  9

1. ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะของกฎหมายรัฐธรรมนูญ 1. เป็นกติกาในการปกครอง 2. สามารถยกเลิกแก้ไขได้ 3. มีรายละเอียดเกี่ยวกับการเลือกผู้นำ 4. ไม่จำเป็นต้องตีความ 

2. ข้อใด ไม่ใช่ เนื้อหาที่มีในรัฐธรรมนูญ 1. สิทธิ หน้าที่ของประชาชน 2. การพิจารณาตัดสินคดีความ 3. วิธีการเลือกตั้ง 4. การแต่งตั้งองค์กรอิสระ 

3. ผู้เป็นประธานคณะกรรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 20 คือ 1. นายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ 2. นายมีชัย ฤชุพันธ์ 3. นาวาอากาศตรีประสงค์ สุ่นศิริ 4. นายวิษณุ เครืองาม 

4. องค์กรอิสระที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญมีหลายองค์กร ยกเว้น ข้อใด 1. กกต. 2. ป.ป.ช 3. ส.ต.ง 4. กสม. 

5. จากรัฐธรรมนูญฉบับที่ 20 กำหนดว่าศาลจะมีกี่ศาล 1. 1 ศาล 2. 2 ศาล 3. 3 ศาล 4. 4 ศาล 

6. ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะของกฎหมายรัฐธรรมนูญ 1. รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด 2. รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายหลัก 3. รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายที่มีความคงทนถาวร ไม่สามารถแก้ไขได้ 4. กฎหมายใด จะขัด หรือ แย้งต่อรัฐธรรมนูญไม่ได้ 

7. กรณีที่มี บทบัญญัติที่อาจจะ ขัดแย้ง กับ กฎหมายรัฐธรรมนูญ จะดำเนินการอย่างไร 1.ประกาศใช้ได้ ถ้าพระเจ้าแผ่นดินเห็นชอบ 2.ประกาศใช้ได้ ถ้าเพื่อประโยชน์ของประชาชน 3.ประกาศใช้ได้ ถ้าศาลรัฐธรรมนูญชี้ขาดแล้วว่าไม่ขัด 4. ต้องยกเลิก ทันที แม้มีบางคนสงสัย 

8.ที่มาของกฎหมายรัฐธรรมนูญ ข้อใด ไม่ถูกต้อง ประมุขของรัฐมอบให้ การกระทำของราษฎรโดยตรง การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง การเปลี่ยนผู้นำประเทศ หรือ คณะผู้นำ 

9.ที่มาของกฎหมายรัฐธรรมนูญ ในประเทศไทย คือ... ประมุขของรัฐมอบให้ การกระทำของราษฎรโดยตรง การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง การเปลี่ยนผู้นำประเทศ หรือ คณะผู้นำ 

10. การเรียกร้องให้มีกฎหมายรัฐธรรมนูญ ในประเทศไทย ตรงกับ ปี พ.ศใด ร.ศ.103 หรือ พ.ศ 2427 ร.ศ.112 หรือ พ.ศ 2436 รศ.113 หรือ พ.ศ. 2437 ร.ศ.130 หรือ พ.ศ.2454 

11.การเรียกร้องให้มีกฎหมายรัฐธรรมนูญ ในประเทศไทย เริ่มขึ้นเมื่อสมัยใด... รัชกาลที่ 4 รัชกาลที่ 5 รัชกาลที่ 6 รัชกาลที่ 7 

12.เหตุผลที่ ร. 5 เห็นว่า ยังไม่ใช่เวลาที่เหมาะสมในการพระราชทานกฎหมายรัฐธรรมนูญ ... ยังไม่มีรัฐธรรมนูญ ยังไม่มีการเลือกตั้ง ยังไม่มีงบประมาณเพียงพอ ยังไม่มีการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ 

13.เหตุผลที่ ร. 7 ยังไม่พระราชทานกฎหมายรัฐธรรมนูญ ... ยังร่างรัฐธรรมนูญไม่เสร็จเกิดปฏิวัติก่อน คนไทย ยังไม่มีจิตสำนึกทางการเมือง คณะอภิรัฐมนตรีทูลคัดค้าน สถานการณ์โลกกำลังเข้าสู่ภาวะสงคราม 

14.ข้อใดผิด ... ประกาศเมื่อ 27 มิย 2475 รัชกาลที่ 7 เป็นผู้พระราชทานรัฐธรรมนูญ เป็นฉบับชั่วคราว เพื่อรอฉบับจริง รัชกาลที่ 7 เป็นกษัตริย์ที่อยู่ใต้รัฐธรรมนูญ 

15.ประเทศใด ได้ชื่อว่า มีรัฐธรรมนูญใช้เป็นประเทศแรก กรีก โรมัน อังกฤษ สหรัฐอเมริกา 

16.ประเทศใด มีรัฐธรรมนูญที่เป็นลายลักษณ์อักษร 16.ประเทศใด มีรัฐธรรมนูญที่เป็นลายลักษณ์อักษร กรีก โรมัน อังกฤษ สหรัฐอเมริกา 

17.รัฐธรรมนูญแบบจารีดประเพณี กรีก โรมัน อังกฤษ สหรัฐอเมริกา 

18. รัฐธรรมนูญของอังกฤษได้มาโดยวิธีใด 1.กษัตริย์พระราชทาน 2.การปฏิวัติ 3. การเรียกร้องของประชาชน 4. วิวัฒนาการมาเป็นลำดับ 

19. เหตุใดจึงกล่าวว่า กฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นสิ่งที่มั่นคงถาวร 1.เกิดขึ้นพร้อมกับการเกิดขึ้นของรัฐ 2. ไม่สามารถแก้ไขได้ 3. แก้ไข ได้ แต่ยุ่งยาก 4. เกิดชึ้นจากความต้องการของประชาชน 

20. รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันของไทย (ตค59)เป็นฉบับที่ เท่าไหร่ 1. 18 2. 19 3. 20 4. 21 

21. รัฐธรรมนูญฉบับปัจุบันของไทย (ตค59)เป็น คือ ฉบับใด 1. 18 2. 19 3. 20 4. 21 

22. รัฐธรรมนูญฉบับปัจุบันของไทย (ตค59) ชื่อว่า 1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2540 2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2550 3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2555 4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 

23. รัฐธรรมนูญ จะประกาศได้ใช้เมื่อใด 1. ผ่านการลงประชามติของประชาชน 2. มีการเลือกตั้ง และมีนายกรัฐมนตรีคนใหม่ 3. ผ่านความเห็นชอบของ ครม 4. พระเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธย 

24. แม่น้ำ 5 สาย หรือ องค์กรทั้ง 5 องค์กรที่มีบทบาทเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ 1. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) 2. คณะรัฐมนตรี (ครม.) 3. สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) 4 คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ 5. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) 

25. แม่น้ำ 5 สาย หรือ องค์กรทั้ง 5 องค์กรที่มีบทบาทเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ 1. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) 2. คณะรัฐมนตรี (ครม.) 3. สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) 4 คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ 5. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) 

แม่น้ำ 5 สาย 1. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) 2. คณะรัฐมนตรี (ครม.) 1. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) 2. คณะรัฐมนตรี (ครม.) 3. สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) 4 คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ  5. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)