การวัด และหน่วย อ.รัตนสุดา สุภดนัยสร โดย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การเปลี่ยนแปลงของเปลือก โลก นางสาวอุนนดา มุสิก พันธ์
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ปริมาณสเกล่าร์ และปริมาณเวกเตอร์
หลักการ เบื้องต้น ของการใช้สถิติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
Engineering Mechanics
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
รายชื่อผู้จัดทำ ด.ช.จิณณวัตร ทับจันทร์ เลขที่ 1 ม.1/3 ด.ช.ฐิติพงศ์ โลหะเวช เลขที่ 4 ม.1/3 ด.ช. พงศ์ภัค พุทธรักษ์ เลขที่9 ม.1/3 ด.ช.อริยะ แดงงาม เลขที่
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การทดลองในวิชาฟิสิกส์
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
Engineering mechanic (static)
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
สมบัติของเลขยกกำลัง จัดทำโดย นางเพ็ญประภา รัตนะเดชะ.
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
หน่วย ปริมาณทางฟิสิกส์ (Units, Physics Quantities
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การหาร ระดับ 1 อ. กิตติเชษฐ์ สวัสดิ์ธนาสกุล
ฟิสิกส์ (Physics) By Aueanuch Peankhuntod.
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
อาจารย์ รุจิพรรณ แฝงจันดา
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
วัตถุประสงค์ ปริมาณพื้นฐาน และการจำลองสำหรับกลศาสตร์ (Basic quantities and idealizations of mechanics) กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน และการโน้มถ่วง (Newton’s.
ความเค้นและความเครียด
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
ฟิสิกส์ (Physics) By Aueanuch Peankhuntod.
เหตุใดท้องฟ้าจึงเป็นสีฟ้าในเวลากลางวัน และเป็นสีดำในเวลากลางคืน
พลังงานกับการดำรงชีวิต
Serial Communication.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
อาจารย์พีรพัฒน์ คำเกิด
บทที่ 4 งาน พลังงาน กำลัง และโมเมนตัม
DC Voltmeter.
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
แรงและการเคลื่อนที่.
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
เครื่องผ่อนแรง Krunarong.
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
ความดัน (Pressure).
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ความเข้มข้นของสารละลาย
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โมล และ ความสัมพันธ์ของโมล
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
อาจารย์ปิยะพงษ์ ทวีพงษ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
วิชาวิศวกรรมพื้นฐานสำหรับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวัด และหน่วย อ.รัตนสุดา สุภดนัยสร โดย อ.รัตนสุดา สุภดนัยสร สาขาวิชาฟิสิกส์ประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

หน่วยวัด ระบบอังกฤษ ระบบสากลระหว่างชาติ (SI) ระบบเมทริก (CGS) ระบบหน่วย เวลา มวล ความยาว ความเร็ว SI วินาที กิโลกรัม เมตร เมตร/วินาที CGS กรัม เซนติเมตร เซนติเมตร/วินาที อังกฤษ สลัก ฟุต ฟุต/วินาที

หน่วยวัด หน่วย SI แบ่งเป็น หน่วยฐาน และ หน่วยอนุพัทธ์ หน่วยฐาน เป็นหน่วยของปริมาณฐานซึ่งมี 7 ปริมาณ ดังนี้

หน่วยวัด ความเร็ว มีหน่วย m/s โมเมนตัม มีหน่วย kg.m/s หน่วยอนุพัทธ์ คือ หน่วยที่มีหน่วยฐานหลายหน่วยมา เกี่ยวเนื่องกัน เช่น ความเร็ว มีหน่วย m/s โมเมนตัม มีหน่วย kg.m/s แรง มีหน่วย kg. m/s2 หรือ นิวตัน, N

คำอุปสรรคในระบบ SI ถ้าค่าของหน่วยมูลฐานหรือหน่วยอนุพัทธ์ มากหรือน้อยเกินไป การเขียนแบบธรรมดาจะยุ่งยาก เช่น ความเร็วแสงมีค่าประมาณ 300,000,000 เมตรต่อวินาที โดยการเปลี่ยนรูปแบบการเขียนจำนวนเป็นการเขียนในรูป 10 ยกกำลัง เช่น 105 เพื่อความสะดวกจึงใช้คำอุปสรรค (prefix) แทนค่า 10 ยกกำลังเหล่านั้น

คำอุปสรรคแทน 10 ยกกำลังเลขบวก ความหมาย สัญลักษณ์ exa- 1018 E peta- 1015 P tera- 1012 T giga- 109 G mega- 106 M kilo- 103 k hecto- 102 H deka- 101 Da

คำอุปสรรคแทน 10 ยกกำลังเลขลบ (ค่าน้อยกว่า 1) ความหมาย สัญลักษณ์ deci- 10-1 D centi- 10-2 C milli- 10-3 m micro- 10-6  nano- 10-9 n pico- 10-12 p femto- 10-15 f atto- 10-18 a

ตัวอย่าง 300,000,000 เมตรต่อวินาที = 3 x108 เมตรต่อวินาที 60,000,000 g = 60 x106 g = 60 Mg = 60,000 x 103 g = 60,000 kg 10 km = 103 m 2 ms = 2 x 10-3 ms = 0.002 s

กิจกรรม จงเปลี่ยนหน่วยเหล่านี้ให้ถูกต้อง กิจกรรม จงเปลี่ยนหน่วยเหล่านี้ให้ถูกต้อง 1 km = mm 1.5 nm = m 2.7 m3 = mm3 1.45 kN = mN 1.4 MHz = kHz

หน่วยวัด ถ้าต้องการเปลี่ยน km/h เป็น m/s จาก 1 km = 103 m 1 h = 3600 s การเปลี่ยนหน่วย ถ้าต้องการเปลี่ยน km/h เป็น m/s จาก 1 km = 103 m 1 h = 3600 s และ