ตารางธาตุ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง บัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 2) พ
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
สมบัติของสารและการจำแนก
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลยางพารา
ส่วนประกอบในร่างกาย หัว ใบหน้า ร่างกาย ปาก.
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
Nickle.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
ผัก.
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
โครเมี่ยม (Cr).
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ธาตุและสารประกอบ.
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
Gas Turbine Power Plant
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
A L U M I N I U M นายจักรกฤษณ์ หมวกผัน นายเอกราช รอดสว่าง
ตารางธาตุ.
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Basic Electronics.
ปฏิกิริยาเคมี ครูปฏิการ นาครอด.
อะตอม คือ?. แบบจำลองอะตอม โดย ครูเกษศิรินทร์ พลหาญ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
น้ำและมหาสมุทร.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ครูปฏิการ นาครอด.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การหาปริมาณของบอแรกซ์ และกรดบอริคในสารตัวอย่าง
แผ่นดินไหว.
Chemistry Introduction
อะตอม และ ตารางธาตุ โดย อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 สารและสมบัติของสาร ว มัธยมศึกษาปีที่ 5.
คุณลักษณะของน้ำพลังแมกเนติก
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
ความดัน (Pressure).
ความเข้มข้นของสารละลาย
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
โครงการประหยัดพลังงาน ฝ่ายการพยาบาล 2559
โมล และ ความสัมพันธ์ของโมล
Nuclear Symbol kru piyaporn.
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
สมบัติธาตุตามตารางธาตุ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตารางธาตุ

ตารางธาตุ การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุในตารางธาตุ

การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ

กลุ่ม A เรียกว่า ธาตุเรพรีเซนเตติฟ (Representative elements) VIIIA กลุ่ม A เรียกว่า ธาตุเรพรีเซนเตติฟ (Representative elements)

กลุ่ม B ธาตุแทรนซิชัน (Transition elements) VIIIA กลุ่ม B ธาตุแทรนซิชัน (Transition elements)

โลหะอัลคาไลน์เอิร์ธ (alkaline earth) ก๊าซเฉื่อย (Inert gas) VIIIA โลหะอัลคาไล (alkali metal) โลหะอัลคาไลน์เอิร์ธ (alkaline earth) ธาตุเฮโลเจน (halogen)

การจัดเรียงของธาตุในตารางธาตุ “การจัดเรียงธาตุทางเคมีเป็นตาราง โดยจัดเรียงธาตุที่มีสมบัติคล้ายกันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน” การจัดเรียงของธาตุในตารางธาตุ 1. ธาตุซึ่งเรียงตามลำดับเลขอะตอมที่เพิ่มขึ้นและเป็นแถวตามแนวนอนเรียกว่า คาบ ซึ่งมีทั้งหมด 7 คาบ  Atomic number (Z) Atomic mass Or Mass number (A)

แนวโน้มความเป็นโลหะ-อะโลหะในตารางธาตุ

สมบัติของธาตุในตารางธาตุ

ธาตุหมู่ 1A (โลหะอัลคาไล) Li Na K Rb Cs Fr

สมบัติที่สำคัญของธาตุหมู่ 1A Li Na K Rb Cs Fr ว่องไวต่อปฏิกิริยาสูงมาก เกิดปฏิกิริยาได้ดีกับธาตุหมู่ 7A ทำปฏิกิริยารุนแรงกับน้ำ ได้แก๊สไฮโดรเจน ดังสมการ

- เป็นของแข็ง - ความหนาแน่นน้อย - จุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงแต่ต่ำเมื่อเทียบกับโลหะหมู่อื่น - เวเลนว์อิเล็กตรอน 1 จึงสูญเสียอิเล็กตรอนได้ง่าย เกิดเป็นไอออน เช่น Li+ , Na+

ประโยชน์ของธาตุหมู่ 1A * Cs (ซีเซียม) ใช้ทำโฟโตเซลล์ที่เปลี่ยนสัญญาณแสงไปเป็นสัญญาณไฟฟ้า เช่น เครื่องวัดความเข้มแสงในกล้องถ่ายรูป * เกลือแกง (โซเดียมคลอไรด์ NaCl) * ดินประสิว (โพแทสเซียมไนเตรต KNO3) * ผงฟู (โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต NaHCO3) * โซเดียมซิลิเกต (Na2SiO4) อุตสาหกรรมทำแก้ว * โซดาไฟ (NaOH) ใช้ล้างท่อน้ำทิ้ง ใช้เป็นวัตถุดิบในการทำสบู่ และใช้ในอุตสาหกรรมกระดาษ

ธาตุหมู่ 2A (โลหะอัลคาไลน์เอิร์ท) Be Mg Ca Sr Ba Ra

สมบัติที่สำคัญของธาตุหมู่ 2A Mg(s) + 2H2O(l)  Mg(OH)2(aq) + H2(g) - โลหะเนื้ออ่อน - เป็นของแข็ง - จุดเดือด จุดหลอมเหลวมากกว่าธาตุหมู่ 1A - มีความว่องไวต่อปฏิกิริยาเคมีน้อยกว่าหมู่ 1A เกิดปฏิกิริยากับน้ำแต่น้อยกว่าหมู่ 1A ให้แก๊สไฮโดรเจนและความร้อน ยิ่งอุณหภูมิสูงยิ่งทำปฏิกิริยาได้ดี ดังสมการ Mg(s) + 2H2O(l)  Mg(OH)2(aq) + H2(g) ความร้อน

- เวเลนซ์อิเล็กตรอน 2 เสียอิเล็กตรอนได้ง่าย แต่ไม่ดีเท่ากับธาตุหมู่ 1A - เกิดเป็นไอออน เช่น Mg2+, Ca2+ - รวมตัวกับอโลหะเกิดสารประกอบได้หลายชนิดในธรรมชาติ จึงไม่พบในรูปของธาตุอิสระ เช่น CaCO3, MgCl2 , BaCl2

ประโยชน์ของธาตุหมู่ 2A * Mg ผสม Al ทำส่วนประกอบของเครื่องบิน * Mg ใช้ทำไส้หลอดไฟแฟลตถ่ายรูป * Be ผสม Cu ใช้ทำส่วนประกอบของเรือเดินทะเล * CaSO4 ใช้ในอุตสาหกรรมปูนปลาสเตอร์ * Mg(OH)2 ใช้เป็นส่วนผสมในยาสีฟัน และใช้เป็นยาลดกรดในกระเพาะอาหาร

สมบัติที่สำคัญของธาตุหมู่ 7A (Halogen) - เป็นอโลหะ - มีความว่องไวต่อปฏิกิริยาเคมีสูงมาก - ธาตุหมู่นี้ไม่อยู่เป็นอะตอมอิสระ แต่อยู่เป็นโมเลกุล เช่น F2, Cl2, Br2 และ I2 - พบทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส - ธาตุแฮโลเจนทุกชนิดเป็นพิษ F2 เป็นแก๊สพิษอย่างแรง Cl2 เป็นแก๊สพิษมีกลิ่นฉุนจัด - ทุกธาตุเป็นอโลหะ ไม่นำไฟฟ้าทุกสถานะ - เกิดสารประกอบไอออนิกและโคเวเลนต์

ประโยชน์ของธาตุหมู่ 7A * ฟลูออรีนใช้เตรียมสารประกอบฟลูออโรคาร์บอน เช่น ฟรีออน ใช้ในเครื่องทำความเย็น, เทฟลอน * คลอรีนใช้ฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ในสระว่ายน้ำ และในน้ำประปา * ไอโอดีนป้องกันโรคคอพอก * ทิงเจอร์ไอโอดีน (ไอโอดีนละลายในเอทานอล) ใช้เป็นยาฆ่าเชื้อโรค

แสงสีเหล่านี้มีที่มาจากธาตุจำพวกใด

ธาตุหมู่ 8A (แก๊สเฉื่อย) He Ne Ar Kr Xe Rn - แก๊สเฉื่อย (Inert gas) หรือแก๊สมีตระกูล มีสถานะเป็นก๊าซ ในธรรมชาติจะไม่ทำปฏิกิริยากับธาตุอื่น - 1 โมเลกุลมี 1 อะตอม (เป็นแก๊สอะตอมเดี่ยว) - มีจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 ไม่เกิดเป็นไอออน - อยู่เป็นอะตอมอิสระได้ มีสถานะเป็นแก๊สและเฉื่อยต่อ การเกิดปฏิกิริยาเคมี จึงเรียกธาตุหมู่นี้ว่า แก๊สเฉื่อย

ประโยชน์ของก๊าซเฉื่อย He

ประโยชน์ของก๊าซเฉื่อย บรรจุในหลอดนีออน He แสงสีชมพู Ne แสงสีแดงส้ม Ar แสงสีม่วง Xe แสงสีน้ำเงิน

สมบัติที่สำคัญของก๊าซเฉื่อย - ก๊าซเฉื่อย 1 อะตอม เท่ากับ 1 โมเลกุล - ปนอยู่กับอากาศประมาณร้อยละ 1 โดยปริมาตร พบว่ามี Ar อยู่มากที่สุดคือประมาณร้อยละ 96.6 ของก๊าซเฉื่อยทั้งหมด * ความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยา Xe > Kr > Ar > Ne > He ส่วน Rn เป็นธาตุกัมมันตรังสี พบว่า Xe และ Kr สามารถทำปฏิกิริยากับ F2 และ O2 ได้

ประโยชน์ของแก๊สเฉื่อย He ----> Balloon, Deep sea diving, สารหล่อเย็น

* ใช้บรรจุในหลอดนีออน ประโยชน์ของก๊าซเฉื่อย * ใช้บรรจุในหลอดนีออน He ให้แสงสีชมพู Ne ให้แสงสีแดงส้ม Ar ให้แสงสีม่วง Xe ให้แสงสีน้ำเงิน

ประโยชน์ของก๊าซเฉื่อย * อาร์กอน ใช้บรรจุในหลอดไฟฟ้าแบบมีไส้แทนอากาศ * คริปตอนใช้ในหลอดไฟแฟลช , ใช้ในเลเซอร์บางชนิด * เรดอน ใช้รักษาโรคมะเร็ง

การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ จากการเรียงอิเล็กตรอนของธาตุในระดับพลังงานหลักทำให้ทราบว่า จำนวนระดับพลังงานหลักของอิเล็กตรอนทำให้ทราบว่าธาตุนั้นอยู่คาบใด ถ้าธาตุมีจำนวนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนเท่ากัน แสดงว่าธาตุนั้นอยู่ในคาบเดียวกัน จำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน หรืออิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานวงนอกสุด ทำให้ทราบหมู่ของธาตุ ถ้าธาตุมีจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากัน แสดงว่าธาตุนั้นอยู่ในหมู่เดียวกัน (เฉพาะหมู่ย่อย A) ระดับพลังงานของอิเล็กตรอนที่อยู่ใกล้นิวเคลียสที่สุดมีระดับพลังงานต่ำสุด เรียกระดับ K ระดับพลังงานที่อยู่ถัดออกมาเรียก ระดับ L, M, N, O, P, Q ต่อมาได้แสดงเป็นตัวเลขแทนคือที่ n = 1, 2, 3, 4, 5, 6, และ 7 ตามลำดับ

หลักการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุในระดับพลังงานต่าง ๆ 1. ต้องทราบเลขอะตอมหรือจำนวนอิเล็กตรอนของธาตุ 2. จำนวนอิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงานหลักมีจำนวนไม่เกิน 2n2 แต่ไม่เกิน 32 อิเล็กตรอน จำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนไม่เกิน 8 อิเล็กตรอน ระดับพลังงานหลัก n=1 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน 2 อิเล็กตรอน ระดับพลังงานหลัก n=2 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน 8 อิเล็กตรอน ระดับพลังงานหลัก n=3 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน 18 อิเล็กตรอน ระดับพลังงานหลัก n=4 มีอิเล็กตรอนไม่เกิน 32 อิเล็กตรอน 3. จำนวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยโดยอาศัยรูปแบบโคจรของอิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียสเรียกรูปแบบวงโคจรนี้ว่าออร์บิทัล (Orbital) โดย 1 ออร์บิทัลจะมีอิเล็กตรอนได้ไม่เกิน 2 อิเล็กตรอน n=1 มี 1 ระดับพลังงานย่อยคือ s n=2 มี 2 ระดับพลังงานย่อยคือ s, p n=3 มี 3 ระดับพลังงานย่อยคือ s, p, d n=4 มี 4 ระดับพลังงานย่อยคือ s, p, d, f s มี 1 ออร์บิทัล บรรจุได้สูงสุด 2 อิเล็กตรอน p มี 3 ออร์บิทัล บรรจุได้สูงสุด 6 อิเล็กตรอน d มี 5 ออร์บิทัล บรรจุได้สูงสุด 10 อิเล็กตรอน f มี 7 ออร์บิทัล บรรจุได้สูงสุด 14 อิเล็กตรอน

แสดงการจัดเรียงของระดับพลังงานหลักและพลังงานย่อยของธาตุ