ตัวแปรและชนิดของข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Advertisements

หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Array ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. The concept of array อาเรย์ : กลุ่มของข้อมูลที่มีชนิดเดียวกันและถูก จัดเก็บเรียงลำดับต่อเนื่องกัน ตัวแปร x สามารถจัดเก็บค่ามากกว่า.
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
Solution Explorer Properties Window Tool Box.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Operator of String Data Type
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
Chapter 10 Arrays Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
คำสั่งควบคุมการทำงาน
เกม คณิตคิดเร็ว.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ข้อมูลและการดำเนินการกับข้อมูล
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
โปรแกรมย่อย อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 3 ชนิดข้อมูลและการแทนชนิดข้อมูลการประกาศตัวแปร.
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 4 เครื่องหมาย ตรรกะศาสตร์ และการดำเนินการทางตรรกะศาสตร์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
ภาษา C เบื้องต้น.
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
BC320 Introduction to Computer Programming
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 4 ตัวแปร (Variables)
หน่วยการเรียนที่ 4 เรื่อง การควบคุมทิศทางการทำงาน
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
Week 5 C Programming.
SMS News Distribute Service
Variable Constant.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array Sanchai Yeewiyom
Array: One Dimension Programming I 9.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
พอยเตอร์ #include <stdio.h> void main() { int age; int *pointer;
Computer Game Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวแปรและชนิดของข้อมูล Variable and Data Type

ในการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษา C สิ่งที่ต้องเรียนรู้คือ การทำความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับตัวแปรและชนิดของข้อมูล รวมถึงความสัมพันธ์และความแตกต่างระหว่างข้อมูลในแต่ละชนิด ตัวแปร (Variable) คือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนค่าข้อมูลในการเขียนโปรแกรม ซึ่งข้อมูลนั้นจะเป็นตัวหนังสือหรือตัวเลขก็ได้ โดยที่เบื้องหลังการทำงานของตัวแปร จะเป็นการจองพื้นที่ของหน่วยความจำสำหรับเก็บข้อมูลตามรูปแบบชนิดของข้อมูล

ชื่อตัวแปร หน่วยความจำ intld ch str เมื่อมีการประกาศตัวแปร คอมไพเลอร์จะมีการจองพื้นที่ของหน่วยความจำสำหรับเก็บข้อมูล ดังนี้ ชื่อตัวแปร หน่วยความจำ intld ch str หากมีการกำหนดค่าให้กับตัวแปร หมายความว่า ข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในพื้นที่ของหน่วยความจำที่จองไว้ ดังนี้ ชื่อตัวแปร หน่วยความจำ intld ch str 7 C D E V B O O K จากรูป หมายความว่า ตัวแปร intld มีค่าเท่ากับ 7 เป็นต้น

กฎการตั้งชื่อ กฎการตั้งชื่อตัวแปรในภาษา C ซึ่งกฎการตั้งชื่อนี้รวมไปถึงการตั้งชื่อกับฟังก์ชัน ค่าคงที่ และชื่ออื่น ๆ ในภาษา C ด้วย โดยมีข้อกำหนดดังนี้ 1. ชื่อจะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรหรือเครื่องหมาย underscore (_) เท่านั้น จะขึ้นต้นด้วยตัวเลขหรือเครื่องหมายอื่นไม่ได้ แต่ภายในชื่อสามารถประกอบด้วยตัวอักษร เครื่องหมาย underscore หรือตัวเลขก็ได้ เช่น TEST_Amount, Love1, g1_A2, _FirstName เป็นต้น 2. ชื่อจะประกอบด้วยอักขระพิเศษไม่ได้ เช่น $, @, #, & 3. ภายในชื่อมีช่องว่างหรือแท็บไม่ได้ 4. ชื่อในภาษา C เป็นแบบ Case-Sensitive คือ ตักอักษรตัวใหญ่กับตัวอักษรตัวเล็กจะถือเป็นคนละตัวกัน เช่น Test, test, tEst จะถือว่าชื่อที่ตั้งเป็นคนละชื่อกัน 5. ชื่อที่ตั้งขึ้นต้องไม่ซ้ำกับคำสงวนในภาษา C ซึ่งมีดังนี้

auto break case char const continue default do double else enum extern float for goto if int long register return short signed sizeof static struct switch typedef union unsigned void volatile while ในการตั้งชื่อใด ๆ นั้นควรตั้งชื่อให้สื่อความหมาย เพื่อให้สามารถรู้ได้ว่าชื่อนั้นหมายถึงอะไร เนื่องจากเป็นการเขียนโปรแกรมที่มีขนาดใหญ่ หรือมีผู้ร่วมงานหลายคน เพื่อจะสามารถสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกันนั่นเอง

การประกาศตัวแปร ในการประกาศตัวแปรเพื่อใช้งาน คือ การสร้างตัวแปร โดยกำหนดชื่อและชนิดของข้อมูลให้กับตัวแปร ในบางกรณีจะมีการกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรดังกล่าวด้วย ซึ่งภาษา C มีรูปแบบการประกาศตัวแปร และกำหนดชนิดข้อมูลให้กับตัวแปร ดังนี้ Type varName [= value]; โดยที่ type เป็นชนิดของข้อมูล varName เป็นชื่อตัวแปร Value เป็นค่าข้อมูลของตัวแปร ตัวอย่างเช่น char chName = “Thai”; char chBoolean = “T”; int intCount; double dblGPA;

ชนิดของข้อมูล (Data Type) ภาษาซีเป็นภาษาหนึ่งที่มีชนิดข้อมูลให้ใช้อยู่มากมาย และแต่ละชนิดข้อมูลนั้นมีขอบเขตของค่าข้อมูลมากน้อยแตกต่างกัน โดยชนิดข้อมูลที่มีขอบเขตค่าของข้อมูลกว้าง ๆ จะแลกมาด้วยเนื้อที่ในหน่วยความจำที่มากตามไปด้วย ดังนั้นผู้พัฒนาโปรแกรมควรคำนึงถึงความจำเป็นในการใช้งานชนิดของข้อมูลแต่ละชนิดตามความเหมาะสมด้วย เพราะหากใช้ชนิดข้อมูลที่มีขนาดใหญ่เกินความจำเป็น ก็จะทำให้สิ้นเปลืองเนื้อที่หน่วยความจำในการจัดเก็บข้อมูล ในทางกลับกันหากใช้ชนิดข้อมูลที่มีขนาดน้อยกว่าขอบเขตข้อมูลที่จะใช้งานจริง ก็จะทำให้เกิดข้อผิดพลาดในการทำงานของโปรแกรมได้

ชนิดของข้อมูล (Data Type) * Integer Type (ชนิดข้อมูลแบบจำนวนเต็ม) * Character Type (ชนิดข้อมูลแบบตัวอักษร) * String Type (ชนิดข้อมูลแบบกลุ่มของตัวอักษร) * Floating Type (ชนิดข้อมูลแบบจำนวนเลขทศนิยม)

ชนิดของข้อมูลแบบจำนวนเต็ม (Integer Type) การกำหนดค่าให้กับตัวแปรชนิดจำนวนเต็ม 1. เป็นค่าตัวเลขไม่มีจุดทศนิยม 2. ห้ามใช้เครื่องหมาย , หรือช่องว่างระหว่างตัวเลข เช่น 1,234 ถือว่าผิด 3. กรณีเป็นค่าบวกไม่ต้องใส่ + แต่เป็นค่าลบต้องใส่เครื่องหมาย – เช่น -10 4. ช่วงตัวเลขจำนวนเต็มควรอยู่ในช่วงข้อมูลนั้น ๆ 5. สามารถใช้เครื่องหมาย suffix ต่อท้ายค่าที่กำหนดให้ตัวแปรได้ โดยใช้ L ต่อท้ายชนิดข้อมูล Long หรือใช้ U ต่อท้ายค่าที่เป็น unsigned เช่น testInt = 1234; testInt = -1234;

ชนิดของข้อมูลแบบตัวอักษร(Charactor Type) Char (Charactor) เป็นชนิดข้อมูลแบบอักษรตัวเดียว มีขนาด 1 ไบต์ หรือ 8 บิต โดยจะกำหนดค่าอยู่ในเครื่องหมาย ‘ ’ เป็นได้ทั้งตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์พิเศษ แต่ไม่สามารถนำไปคำนวณได้ ตัวอย่างเช่น ‘5’ แตกต่างจากตัวเลข 5 ดังนั้น ‘5’ + 3 จึงไม่สามารถประมวลผลได้ ตัวอย่าง charTest = ‘A’; printf(“Char A = %c\n”, charTest); ผลลัพธ์ Char A = A charTest = ‘ABC’; printf(“Char ABC = %c\n”, charTest); Char ABC = C

ชนิดของข้อมูลแบบข้อความ(String Type) ในความจริงนั้นตัวแปรชนิดข้อความไม่มีการกำหนดไว้ในภาษา C แต่เราสามารถใช้ตัวแปรชนิดข้อความในรูปแบบของชุดตัวแปรอักขระได้โดยใช้เทคนิคในเรื่องของ Array เข้ามาช่วย การกำหนดค่าข้อความให้กับตัวแปรจะอยู่ในภายในเครื่องหมาย “...” โดยในการสร้างต้องประกาศขนาดของ Array ไว้ล่วงหน้า เพื่อเป็นการจองพื้นที่สำหรับขนาดของข้อมูล มีรูปแบบดังนี้ Char name[n] = value; โดยที่ name เป็นชื่อตัวแปร n เป็นขนาดของตัวแปร value เป็นค่าข้อมูลของตัวแปร ตัวอย่างเช่น char chSex[4] = “male”; char chBoolean[5] = “False”;

ชนิดของข้อมูลแบบข้อความ(String Type) ตัวอย่าง main() { char strTest[10] = “DEV BOOK”; printf(“string : %s\n”,strTest); printf(“Index 2 : %c\n”,strTest[2]); } ผลลัพธ์ string : DEV BOOK Index 2 : V

ชนิดของข้อมูลแบบจำนวนทศนิยม (Floating Point Type) เลขทศนิยม เช่น 12.568, -13.5 เลขทศนิยมแบบยกกำลัง เช่น 2.004E+5 ก็คือ 2.004 x 105 ชนิดข้อมูลแบบทศนิยมมีด้วยกัน 3 ชนิดคือ Float ขนาด 4 ไบต์ double ขนาด 8 ไบต์ long double ขนาด 10 ไบต์

ชนิดของข้อมูลแบบจำนวนทศนิยม (Floating Point Type) การกำหนดค่าให้ตัวแปร 1. จะต้องเป็นค่าตัวเลขที่สามารถทีจุดทศนิยมได้ 2. ห้ามใช้เครื่องหมาย , หรือช่องว่างคั่นระหว่างตัวเลข 3. ค่าบวกไม่ต้องใส่เครื่องหมาย + ค่าลบต้องใส่ – นำหน้าเสมอ 4. การเขียนในรูปแบบใช้ตัวอักษร E ค่าที่ถูกกำหนดสามารถกำหนดได้ทั้งค่าบวกและค่าลบ 5. สามารถใช้เครื่องหมาย suffix ต่อท้ายค่าที่กำหนดให้ตัวแปรได้ โดยใช้ L ต่อท้ายชนิดข้อมูล Long Double หรือใช้ F ต่อท้ายค่าที่เป็น double เช่น testFloat = 654.6; testFloat = 13.31F;

ค่าคงที่ (Constants) ค่าคงที่ คือ ค่าข้อมูลชนิดใดชนิดหนึ่งที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในขณะที่โปรแกรมทำงานตัวอย่างเช่น ค่า π ซึ่งมีค่าเท่ากับ 3.14 เป็นต้น ในภาษา C สามารถใช้งานค่าคงที่ได้ 3 รูปแบบ ดังนี้ 1. ระบุค่าโดยตรง เป็นการกำหนดค่าคงที่เพื่อใช้งานโดยตรงไม่มีการกำหนดค่าผ่านตัวแปรใด ๆ ทั้งสิ้น เช่น ‘I’, “LOVE” เป็นต้น 2. นิยามโดย #define เป็นการกำหนดค่าคงที่โดยประกาศไว้ในส่วนของ Header File รูปแบบดังนี้ #define ConstantName value โดยที่ ConstantName คือ ชื่อของค่าคงที่ value คือ ค่าที่ต้องการกำหนดให้กับค่าคงที่ เช่น #define VAT 0.07 #define TXT “Welcome to Thailand”

ค่าคงที่ (Constants) 3. เก็บไว้ในตัวแปร เป็นการกำหนดค่าคงที่ในรูปแบบตัวแปร มีรูปแบบดังนี้ const DataType VariableName = value; โดยที่ DataType คือ ชนิดข้อมูลของค่าคงที่ VariableName คือ ชื่อของค่าคงที่ value คือ ค่าข้อมูลที่ต้องการกำหนดให้กับค่าคงที่ ตัวอย่างเช่น const float vat = 0.07; const int COUNT = 10; const char ch = ‘T’;

TEST ชื่อตัวแปรต่อไปนี้ ข้อใดไม่ถูกต้อง Int ch count auto str การประกาศตัวแปรต่อไปนี้ ข้อใดไม่ถูกต้อง int_int; char 7ch; Int default; long ingMoney; int Long; ถ้าต้องการเขียนโปรแกรมทำงานกับรูปแบบข้อมูลต่อไปนี้ ควรประกาศตัวแปรชนิดใด 1. ระยะห่างระหว่างสถานที่ 2. ชื่อของสถานศึกษา 3. รหัสของนักเรียน 4. ปริมาตรของรูปทรงสามเหลี่ยม