อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 2 : การนำเสนอมัลติมีเดียในรูปแบบดิจิตอล(Digital Representation) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP10-1 DSP 10 Multirate Signal Processing การประมวลผลแบบหลายอัตราสุ่ม ดร. พีระพล.
Advertisements

DSP 7 Digital Filter Structures โครงสร้างตัวกรองดิจิตอล
What is filtering? การประมวลผลภาพแบบดิจิตอล Ian Thomas
Computer Code เลขฐานสอง bit (binary digit ) 1 byte = A.
DSP 10 Multirate Signal Processing การประมวลผลแบบหลายอัตราสุ่ม
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 3 Digital.
Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing EEET0770 Digital Filter Design การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 6 Multirate.
Data Transmission Encoding Techniques and Transmission mode
Network Model Signal and Data transmission
DSP 10 Multirate Signal Processing การประมวลผลแบบหลายอัตราสุ่ม
Data Communication and Computer Network
Modulation เป็น เทคนิคที่ใช้ในการปรับ/เปลี่ยนรูปแบบของสัญญานไฟฟ้าของ คลื่นนำ เพื่อให้สัญญานนั้นสามารถนำพา ข้อมูลไปยังปลายทางได้
SPU Information Science Institute of Sripatum University Sripatum University 1 IS516 Computer Communication and Networks การสื่อสารคอมพิวเตอร์และเครือข่าย.
Computer Coding & Number Systems
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
บทที่ 10 การทำงานกับ ข้อความ (string). สตริงในภาษา PHP ASCII (American Standard Code for Information Interchange) จำนวน 8 บิต เก็บได้ 256 ตัว Unicode.
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ CESdSP
EEET0770 Digital Filter Design
Introduction to Analog to Digital Converters
บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์
RC servo motor Voltage Weight Size Output Torque Operating Speed
Electronics for Analytical Instrument
หน่วยที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
บทที่ 4 วงจร ADC เทอดศักดิ์ ลิ่วหาทอง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์
การรับส่งข้อมูลระหว่าง Group 1 กับ Group 2
MULTIMEDIA REPRESENTATION IMAGE / VIDEO / AUDIO รศ. ดร. อรฉัตร จิตต์โสภักตร์ ECC-915.
ADC & UART.
Concept and Terminology Guided media (wired) Twisted pair Coaxial cable Optical fiber Unguided media (wireless) Air Seawater Vacuum Direct link Point.
Image Acquisition and Digitization
Multiplexing Techniques 1. Frequency-division multiplexing 2. Time-division multiplexing.
การสื่อสารข้อมูล.
ข้อมูลและสารสนเทศ Data & Information.
หน่วยที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เครื่องมือวัดดิจิตอล
Chapter 2 – Wireless Transmission
Lab# Digital Modulation
ครั้งที่ 1 ระบบตัวเลข & ลอจิกเกต (Number Systems & Logic Gates)
ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
การเขียนโปรแกรมรับข้อมูลแบบอนาล็อก
พื้นฐานการอินเตอร์เฟส
เครื่องวัดแบบชี้ค่าแรงดันกระแสสลับ AC Indicating Voltage Meter
การติดต่อสื่อสารของคอมพิวเตอร์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสสลับ AC Indicating Instruments
บทที่ 4 อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลและองค์ประกอบข้อมูล
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK)
การติดต่อสื่อสารของคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ เบื้องต้น
Chapter5:Sound (เสียง)
บทที่ 7 การรับส่งข้อมูลบนเครือข่าย
การแปลงสัญญาณ ดิจิตอล เป็น อนาล็อก Digital to Analogue Conversion
การแทนข้อมูล ในคอมพิวเตอร์ ผศ. กัลยาณี บรรจงจิตร 31/12/61.
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 การบริหารจัดการข้อมูลและลำดับชั้นของการจัดเก็บข้อมูล
Introduction to Analog to Digital Converters
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
หน่วยที่ 2 ระบบมัลติเพล็กซ์ จุดประสงค์การสอน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 5 ระบบเลขฐานและรหัสแทนข้อมูล
อ.พิณรัตน์ นุชโพธิ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
รหัสแทนข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
การจัดการสินค้าคงคลัง
Pulse Width Modulation (PWM)
Analog vs. Digital Analog Digital
เสียง.
Chapter 02 – Wireless Transmission
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และการประมวลผลข้อมูล (Introduction to Computer and Data Processing) บทที่ Business Computer & Information.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 2 : การนำเสนอมัลติมีเดียในรูปแบบดิจิตอล(Digital Representation) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline ทำความรู้จักกับข้อมูลแบบอนาล็อกและ ดิจิตอล สัญญาณอนาล็อก (Analog Signal) สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal) การแปลงสัญญาณ (Conversion) การเข้ารหัสสัญญาณด้วยวิธี PCM

ทำความรู้จักกับข้อมูลแบบอนาล็อกและดิจิตอล การนำเสนอมัลติมีเดียบนคอมพิวเตอร์จำเป็นต้อง แปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปของสัญญาณ (Signal) ที่ สามารถส่งและจัดเก็บลงบนคอมพิวเตอร์หรือ อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลต่างๆ “สัญญาณ” หมายถึงกระแสไฟฟ้าหรือคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าที่ใช้เพื่อเข้ารหัส และส่งข้อมูลไปยังอุปกรณ์ต่างๆ สัญญาณแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ สัญญาณ อนาล็อก (Analog Signal) และสัญญาณดิจิตอล (Digital Signal)

ทำความรู้จักกับข้อมูลแบบอนาล็อกและดิจิตอล [2] ข้อมูลอนาล็อก (Analog Data) เป็นรูปแบบข้อมูล ที่มีลำดับต่อเนื่อง (Continuous Form) เช่น เสียง ของการพูดคุย ซึ่งเป็นลักษณะคลื่นแบบต่อเนื่องที่ เดินทางผ่านอากาศ ข้อมูลดิจิตอล (Digital Data) เป็นรูปแบบข้อมูลที่มี ลักษณะไม่ต่อเนื่อง (Discrete Form) อยู่ใน รูปแบบไบนารี (Binary) คือมีเฉพาะ 0 และ 1 เป็นข้อมูลที่ถูกเก็บอยู่ในหน่วยความจำของ คอมพิวเตอร์ ส่วนสัญญาณ (Signal) ก็มีทั้งสัญญาณอนาล็อก และดิจิตอลเช่นกัน

สัญญาณอนาล็อก (Analog Signal) สัญญาณอนาล็อกเป็นสัญญาณในรูปของคลื่น ต่อเนื่องหรือ Sine Wave ซึ่งมีความถี่และความ เข้มของสัญญาณต่างกัน อยู่ในรูปของพลังงานต่างๆที่มนุษย์สามารถสัมผัสได้ เช่น เสียง แสง ความร้อน สามารถวัดพลังงานได้จากอุปกรณ์ที่เรียกว่า Sensor ที่สามารถวัดและแปลงพลังงานให้อยู่ในรูป สัญญาณที่สามารถอ่านค่าได้ เช่น ไมโครโฟนจะ มีเซนเซอร์ที่แปลงพลังงานเสียงเป็นสัญญาณทาง ไฟฟ้า

สัญญาณอนาล็อก (Analog Signal) : คุณสมบัติสำคัญ 1) แอมพลิจูด (Amplitude) คือค่าการกระจัด (ระยะจากแนวสุมดุลถึงจุดบนคลื่น) ของจุดใดจุด หนึ่งบนลูกคลื่น หน่วยที่ใช้วัด เช่น Volt หรือ Watt เป็นต้น โดยแอมพลิจูดแสดงให้เห็นถึง ปริมาณพลังงานหรือแรงที่เกิดจากแหล่งกำเนิด 2) ความถี่ (Frequency) คือจำนวนของลูกคลื่นใน 1 วินาที ซึ่งความถี่จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการ เปลี่ยนแปลงของจำนวนลูกคลื่นในหนึ่งหน่วยเวลา สามารถใช้แทนระดับเสียงหรือจำนวนสีของแสงได้ มีหน่วยเป็น Hertz 3) เฟส (Phase) คือตำแหน่งของลูกคลื่น ณ เวลาเท่ากับศูนย์ โดยตำแหน่งดังกล่าวจะถูกเรียก เป็นองศา ซึ่งหนึ่งลูกคลื่นจะมี 360 องศา

ตัวอย่างของรูปแบบคลื่นในสัญญาณอนาล็อก แอมพลิจูด 0 องศา 360 องศา

สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal) เป็นสัญญาณไฟฟ้าแบบไม่ต่อเนื่องที่ได้มาจากการ แปลงข้อมูลดิจิตอล เคลื่อนที่ตามระดับ แรงดันไฟฟ้าในลักษณะรูปคลื่นสี่เหลี่ยมที่แทนค่า ด้วยรหัสไบนารี โดยทั่วไปจะแทนข้อมูล 0 ด้วย ค่าแรงดันไฟฟ้า (Voltage) ศูนย์โวลต์ และข้อมูล 1 แทนด้วยค่าแรงดันไฟฟ้าที่เป็นบวก

สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal) : คุณลักษณะที่สำคัญ 1) ระยะห่างระหว่างบิต (Bit Interval) คือหน่วย เวลาที่ใช้ส่งข้อมูลเพียง 1 บิต 2) อัตราการส่งบิตข้อมูล (Bit Rate) คือจำนวนบิต ที่สามารถส่งได้ในเวลา 1 วินาที มีหน่วย เป็น “บิตต่อวินาที (Bit Per Second : bps)”

ตัวอย่างของรูปแบบสัญญาณดิจิตอล ถ้าระยะเวลา 1 วินาที มี 8 บิต Bit rate = 8 bps Bit Interval

สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal) [2] ปัจจัยที่กำหนดคุณภาพในการแสดงผลด้วย สัญญาณดิจิตอล คือ อัตราการสุ่ม (Sampling Rate) และจำนวนบิต (Bit Dept) การเคลื่อนที่ของสัญญาณดิจิตอลไม่สามารถเขียน แทนได้ด้วยกราฟหรือเส้นที่ต่อเนื่องกัน แต่จะแทน ด้วยจัดตามช่วงเวลาต่างๆที่ไม่ต่อเนื่องกัน การแทนข้อมูลด้วยรหัสไบนารี ปกติจะใช้ “รหัส แอสกี” (American Standard Code for Information Interchange : ASCII) กลุ่มของรหัสไบนารีจำนวน 8 bit จะเท่ากับ 1 ไบต์ (Byte)

ตัวอย่างของการ Sampling ของสัญญาณดิจิตอล

สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal) : ข้อดี-ข้อเสียของสัญญาณดิจิตอล การแทนข้อมูลเป็นมาตรฐานสากล (Universal Representation) อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล (Storage) ความสามารถในการถ่ายทอดข้อมูล (Transmission) การประมวลผล (Processing) ข้อเสีย สัญญาณจะถูกลดทอนลง เมื่อมีการรับส่งข้อมูลระยะ ทางไกลๆ เมื่อมีการแบ่งสัญญาณออกเป็นส่วนๆ ส่วนที่สูญหายจะไม่ สามารถกู้คืนมาได้ ต้องการพื้นที่ขนาดใหญ่ในการจัดเก็บข้อมูล

การแปลงสัญญาณ (Conversion) มี 2 แบบคือ การแปลงสัญญาณจากอนาล็อกเป็นดิจิตอล (Analog to Digital Conversion : ADC) การแปลงสัญญาณจากดิจิตอลเป็นอนาล็อก (Digital to Analog Conversion : DAC)

การแปลงสัญญาณ (Conversion) : อนาล็อกเป็นดิจิตอล ข้อมูลในรูปแบบตัวอักษร ภาพนิ่ง เสียง แอนิ เมชั่น และวีดีโอ ไม่สามารถจัดเก็บลงใน คอมพิวเตอร์ด้วยสัญญาณอนาล็อกได้ จึง จำเป็นต้องแปลงสัญญาณอนาล็อกให้อยู่ในรูปแบบ สัญญาณดิจิตอลก่อน โดยกระบวนการแปลงมี 3 ขั้นตอน ได้แก่ การสุ่มสัญญาณ (Sampling) การควอนไตเซชันสัญญาณ (Quantization) การแทนรหัสข้อมูลด้วย Code Word Generation

การแปลงสัญญาณ (Conversion) : อนาล็อกเป็นดิจิตอล : การสุ่มสัญญาณ (Sampling) [1] การสุ่มสัญญาณหมายถึงการเลือกค่าแอมพลิจูดที่จุด ใดๆ ของสัญญาณอนาล็อกตามช่วงเวลาที่เท่ากัน การสุ่มสัญญาณที่ขึ้นอยู่กับเวลา จะเรียกว่า “Time Discretization” ส่วนการสุ่มสัญญาณที่ไม่ เปลี่ยนแปลงตามเวลาจะเรียกว่า “Space Discretization” ค่าที่ได้จากการสุ่มจะอยู่ในรูปแบบของจุดที่ไม่ ต่อเนื่องกัน ผลที่ได้จะมีลักษณะเป็นขั้นบันได

การสุ่มสัญญาณ

การแปลงสัญญาณ (Conversion) : อนาล็อกเป็นดิจิตอล : การสุ่มสัญญาณ (Sampling) [2] อัตราการสุ่ม (Sampling Rate) ยิ่งมีอัตราการสุ่ม สูง จะได้ผลลัพธ์ของสัญญาณที่สมบูรณ์ครบถ้วน แต่จำนวนข้อมูลที่ได้จากการสุ่มก็จะมากตามไปด้วย ซึ่งมีผลต่อพื้นที่ที่ใช้เก็บข้อมูล ทฤษฎีการสุ่มของ Nyquist ปี 1928 วิศวกรชาว อเมริกันชื่อ Harry Nyquist ได้พิสูจน์ว่าการเก็บ ตัวอย่างของสัญญาณไม่จำเป็นต้องบันทึกสัญญาณ ทั้งหมด แต่ดึงมาเฉพาะบางส่วนก็สามารถนำมาใช้ แทนข้อมูลเดิมได้ แต่มีเงื่อนไขคืออัตราการสุ่มต้อง มีค่าไม่น้อยกว่า 2 เท่าของแบนด์วิดธ์ ต่อมาในปี 1949 นักคณิตศาสตร์ชื่อ Claud Shannon ได้ พิสูจน์ทฤษฎีดังกล่าวจนได้รับการยอมรับ จึงเรียก ทฤษฎีนี้ว่า “Nyquist-Shannon”

การแปลงสัญญาณ (Conversion) : อนาล็อกเป็นดิจิตอล : การสุ่มสัญญาณ (Sampling) [3] สัญญาณอนาล็อกจะถูกสุ่มสัญญาณด้วยความถี่ ต่างกัน เมื่อความถี่ในการสุ่มลดลงน้อยกว่า 2 เท่า ของแบนด์วิดธ์ของคลื่นอนาล็อกจะทำให้ได้ผลลัพธ์ ที่มีข้อมูลบางส่วนซ้อนทับกัน เรียกว่า “Alias” หรือคลื่นแฝง อุปกรณ์สำหรับแปลงจากสัญญาณอนาล็อกเป็น ดิจิตอลจึงต้องมีตัวกรองติดตั้งไว้ก่อนหน้าวงจรสุ่ม สัญญาณ เพื่อกรองความถี่สูงออกก่อนที่สัญญาณ จะถูกสุ่ม เรียกว่า “Anti-Aliasing Filter”

การแปลงสัญญาณ (Conversion) : อนาล็อกเป็นดิจิตอล : การควอนไตเซชั่น (Quantization) [1] ผลลัพธ์จากขั้นตอนการสุ่มสัญญาณจะได้เป็นชุด ของค่าตัวอย่าง (Sample Value) โดยจำนวนของ ค่าการสุ่มจะขึ้นอยู่กับอัตราการสุ่ม ซึ่งจะเป็น ตัวกำหนดคุณภาพข้อมูล เมื่อได้ค่าจากการสุ่มแล้วจะนำค่าเหล่านี้มาพิจารณา เพื่อเลือกเฉพาะค่าที่จำเป็นต้องบันทึกเท่านั้น ซึ่งมี ความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะมีผลต่อพื้นที่จัดเก็บ ข้อมูล รวมถึงคุณภาพของสัญญาณดิจิตอล

การแปลงสัญญาณ (Conversion) : อนาล็อกเป็นดิจิตอล : การควอนไตเซชั่น (Quantization) [2] Quantization Level หมายถึงจำนวน Sample Value ที่ได้จากการสุ่มที่สามารถใช้แทนสัญญาณ ดิจิตอลได้ ยิ่งใช้ Level มากสัญญาณดิจิตอลจะ ยิ่งมีคุณภาพสูง แต่จะใช้พื้นที่จัดเก็บข้อมูลและใช้ เวลาในการประมวลผลมากขึ้น วิธีการหนึ่งที่ใช้ในการเลือกค่าจาก Sample Value ที่ได้จากการสุ่ม คือการแบ่งแอมพลิจูด ออกเป็นระดับ “Amplitude-Discretization”

ตัวอย่างการ Quantization ที่ Level ต่างๆ Lvl 1 Lvl 2 Lvl 3

การแปลงสัญญาณ (Conversion) : อนาล็อกเป็นดิจิตอล : การแทนรหัสข้อมูลด้วย Code Word Generation เมื่อขั้นตอนการ Quantization สิ้นสุดลง จะได้ ผลลัพธ์เป็นกลุ่มของ Sample Value ที่ถูกแบ่งตาม ระดับของแอมพลิจูดต่อหน่วยเวลา จากนั้นจึงนำมาแทนให้อยู่ในรูปไบนารี เพื่อ นำไปใช้แทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์ เรียกขั้นตอนนี้ ว่า “Code Word Generation” และสุดท้ายจึงนำข้อมูลไปจัดเก็บในแหล่งจัดเก็บ ข้อมูลทางกายภาพ (Physical Storage)

การแปลงจากสัญญาณอนาล็อกเป็นดิจิตอล (ADC) Anti-Aliasing Filter ADC (Sampling, Quantization, Code Word Generation) Encoder Analog Signal Digital Signal ตัดคลื่นความถี่สูงออกจากสัญญาณ

การแปลงสัญญาณ (Conversion) : ดิจิตอลเป็นอนาล็อก หากต้องการนำข้อมูลที่จัดเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์มา แสดงผล จำเป็นต้องแปลงข้อมูลดิจิตอลให้เป็น อนาล็อก มีขั้นดังนี้ ข้อมูลดิจิตอลจะถูกส่งผ่านอุปกรณ์ที่ทำ หน้าที่แปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นอนาล็อก (DAC) จากนั้นส่งต่อให้ Low-Pass Filter เพื่อกรองคลื่น ความถี่สูงออกไป

การแปลงจากสัญญาณดิจิตอลเป็นอนาล็อก (DAC) Low-Pass Filter Decoder Digital Signal Analog Signal คลื่นแบบขั้นบันได

การแปลงสัญญาณ (Conversion) [สุดท้าย] อุปกรณ์ในปัจจุบันจะสามารถเข้ารหัสและถอดรหัส พร้อมกันได้ เนื่องจากการสื่อสารผ่านมัลติมีเดีย จำเป็นต้องผ่านกระบวนการทั้งสอง จึงนำ ADC และ DAC มารวมเข้าด้วยกัน เรียกว่า “Encoder-Decoder” หรือ “ADC-DAC”

ADC-DAC

การเข้ารหัสสัญญาณด้วยวิธี PCM Pulse Code Modulation (PCM) เป็นกระบวนที่ใช้ เพิ่มประสิทธิภาพของการแปลงสัญญาณระหว่าง อนาล็อกและดิจิตอล ในกระบวนการเข้ารหัส (Encoder) จะมี Compressor สำหรับบีบอัดแอมพลิจูด ก่อนนำไป เข้ารหัสด้วย ADC ในกระบวนการถอดรหัส (Decoder) จะมี Expander สำหรับขยายแอมพลิจูดของสัญญาณจาก DAC ก่อนนำสัญญาณที่ได้ไปผ่าน Low-Pass Filter

การทำงานของ PCM ในวงจร Encoder Anti-Aliasing Filter Compressor ADC Encoder Analog Signal Digital Signal

การทำงานของ PCM ในวงจร Decoder DAC Expander Low-Pass Filter Decoder Digital Signal Analog Signal