Risk Based Capital by Thanachart Life Assurance

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Bond Pricing Services Department ThaiBMA November 13th, 2007
Advertisements

การตรวจสอบภายในที่ไม่ใช่การจับผิด ทำอย่างไร ?
1 Solutions: Assignment #1 Based on the contract specification and the given historical price information of the SET50 Index Futures and Gold10 Baht Futures.
Basel II : นาย พงษ์พันธ์ ชูรัตนสิทธิ์
การจัดส่งแบบรายงาน Basel II
คณะทำงาน RBC สมาคมประกันวินาศภัย 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
5FORCE Analysis Kleokamon boonyeun
บทที่ 4 การดำรงเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์
Lecture 1: Risk Management: Introduction
นายชาญชัย พิณ เมืองงาม.  Knowledge - มี ?  Attitude - ปรับเปลี่ยน ?  Practice - ปฏิบัติ ?
บทที่ 3 เครดิตและการให้สินเชื่อของธนาคาร CREDIT FROM COMMERCIAL BANK
สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
INVESTMENTS Chapter 6 (2) Understanding the Business A company may invest in the securities of another company to: Earn a return on idle funds.
การแข่งขันทาง การตลาด และตัวแปรทาง เศรษฐกิจ. การแข่งขันทางการตลาด (Competition) พฤติกรรมของผู้บริโภคไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ในช่วง.
สาระสำคัญแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี (พ.ศ ) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ผู้บัญชาการ และฝ่ายข้อมูลและยุทธศาสตร์
LIABILITIES Chapter 10 2.
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนา
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ
International Trade Agreement สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
การประยุกต์ใช้แนวทางของ IAIS เพื่อการกำกับดูแลบริษัทประกันภัย
Food safety team leader
บทที่ 12 การระดมเงินทุนจากตลาดหลักทรัพย์ระหว่างประเทศ
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง
การเงินระหว่างประเทศ
พระราชบัญญัติ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า
การวิเคราะห์งบการเงิน
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
Introduction to Social Protection
การเบิกจ่ายค่าจ้างเหมาบริการ
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
ศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน ประชุมคณะทำงานพหุภาคี ครั้งที่ 1
องค์ประกอบหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ในตลาดล่วงหน้า
Risk-Based Audit Audit Risk Assessment Model
A.Petcharee Sirikijjakajorn
Generic View of Process
“ระบบการจัดเก็บข้อมูลบริการ เพื่อเชื่อมโยงกับระบบบัญชี”
บทที่ 3 ระบบสารสนเทศกับการบริหารองค์กร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
Money and Banking รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
การจัดการการเงินการคลังท้องถิ่น
การเปิดรับความเสี่ยงจากธุรกรรมการค้า (Transaction Exposure)
บทที่ 7 การควบคุม (Controlling).
แนวทางและนโยบาย การบริหารความเสี่ยง
Techniques Administration
การวิเคราะห์กิจการเพื่อการวางแผน
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
ความเสี่ยงเรื่อง เงินตราต่างประเทศ
บทที่ 8 การจัดการลูกหนี้ ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
ชื่อ –สกุล นายอนุพันธ์ วุธประดิษฐ์ ตำแหน่ง ผช.หัวหน้าหน่วย (พพธ.7)
การผลิตและการจัดการการผลิต
บทที่ 2 ทฤษฎีการตัดสินใจ (Decision Theory)
Origin Group Present.
แนวความคิดและทฤษฎีการจัดการ Concept and Management Theory
สถาบันการเงิน และนโยบายการเงิน
เมืองไทยกับกองทุน การเงินระหว่างประเทศ (IMF)
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
การเงินระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
Topic 13 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
International Trade Agreement สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน/สำนักงาน ป.ป.ท.
โครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการเงินและการธนาคาร
Credit Management ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
International Commercial Terms
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Risk Based Capital by Thanachart Life Assurance Risk Management Department Risk Based Capital by Thanachart Life Assurance Risk Management Department November 2006

เกณฑ์การดำรงเงินกองทุนในปัจจุบัน Risk Management Department เกณฑ์การดำรงเงินกองทุนในปัจจุบัน บริษัทประกันชีวิต กฎหมายที่เกี่ยวข้อง เงินกองทุน >= Max(50ล้านบาท , 2%*(เงินสำรอง)) ม. 27 พรบ.ประกันชีวิต พ.ศ. 2535 บริษัทประกันภัย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง เงินกองทุน >= Max (30ล้านบาท,10% * (เบี้ยประกันภัยสุทธิที่ได้รับทั้ง หมดสำหรับปีปฏิทินที่ล่วงแล้ว)) ม. 27 พรบ.ประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535

IAIS IAIS ย่อมาจาก International Association of Insurance Supervisors Risk Management Department IAIS IAIS ย่อมาจาก International Association of Insurance Supervisors ที่ตั้งสำนักงาน ตึกสำนักงาน BIS กรุงบาเซิล (Basle) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ หน้าที่หลัก IAIS คือ สมาคมกลางทำหน้าที่คล้ายกับ BIS เพื่อออกแนวทางสากลเพื่อการบริหารความเสี่ยงบริษัทประกันภัย ปัจจุบันคือ Solvency II

แนวทางของกรมการประกันภัยในการดำรงเงินกองทุน Risk Management Department แนวทางของกรมการประกันภัยในการดำรงเงินกองทุน เงินกองทุน อัตราส่วนที่พิจารณา = ประกันภัย + ตลาด + เครดิต * Liquidity Risk และ Operational Risk จะดูแลโดยใช้ Guidance เงินกองทุนที่เพียงพอคิดเป็นจำนวนเท่าของผลขาดทุน ขั้นต้น เสนอให้พอที่จะเป็นบริษัทระดับ AAA คิด 1.5 เท่า ขั้นเตือน เสนอให้พอที่จะเป็นบริษัทระดับ BBB คิด 1.2 เท่า ขั้นต่ำ เสนอให้พอที่จะเป็นบริษัทระดับ BB คิด 1.0 เท่า

หลักการคำนวณความเสี่ยง Risk Management Department หลักการคำนวณความเสี่ยง

หลักการคำนวณความเสี่ยงด้าน Market Risk Risk Management Department หลักการคำนวณความเสี่ยงด้าน Market Risk Market Risk = Price risk + Reserve risk

Risk Management Department Credit Risk

ความเป็นมาของ Basel II Risk Management Department ความเป็นมาของ Basel II เกี่ยวกับ BIS BIS ย่อมาจาก Bank for International Settlements ธนาคารเพื่อการชำระเงินระหว่างประเทศ จัดตั้งขึ้น ปี ค.ศ. 1930 (พ.ศ. 2473) ผู้ก่อตั้ง ธนาคารกลางในกลุ่มประเทศ G-10 ที่ตั้งสำนักงาน กรุงบาเซิล (Basle) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

ความเป็นมาของ Basel II Risk Management Department ความเป็นมาของ Basel II Basel II (Credit Risk + Market Risk + Operational Risk) 2004 Basel I (Credit Risk + Market Risk) 1996 1988 Basel I (Credit Risk)

วิวัฒนาการของสูตรในการคำนวณอัตราเงินกองทุน Risk Management Department วิวัฒนาการของสูตรในการคำนวณอัตราเงินกองทุน

Risk Management Department สาระสำคัญของ Basel I

เงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง Risk Management Department สาระสำคัญของ Basel I ให้สถาบันการเงินดำรงเงินกองทุนในอัตราส่วนที่สูงเพียงพอต่อความเสี่ยง => เงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง สร้างความมั่นใจแก่ผู้ฝากเงินและเจ้าหนี้ ส่งผลให้เกิดความมั่นคงและเสถียรภาพแก่ระบบสถาบันการเงิน เงินกองทุน สินทรัพย์เสี่ยง เงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง (BIS Ratio) เงินกองทุน สินทรัพย์เสี่ยง เงินกองทุนขั้นที่ 1 เงินกองทุนขั้นที่ 2 สินทรัพย์ ภาระ ผูกพัน

สาระสำคัญของ Basel I เงินกองทุน เงินกองทุนขั้นที่ 1 (Tier I) Risk Management Department สาระสำคัญของ Basel I เงินกองทุน เงินกองทุนขั้นที่ 1 (Tier I) = ทุนชำระแล้ว + ส่วนเกินมูลค่าหุ้น + ทุนสำรองตามกฎหมาย + เงินสำรองที่ได้จัดสรรจาก กำไรสุทธิตามมติที่ประชุม ใหญ่ผู้ถือหุ้น + กำไรสุทธิคงเหลือหลังจาก การจัดสรร เงินกองทุนขั้นที่ 2 (Tier II) = ตราสารหนี้ด้อยสิทธิระยะยาว + เงินสำรองจากมูลค่าส่วนที่ เพิ่มขึ้นจากการตีราคาที่ดิน และอาคาร + เงินสำรองสำหรับสินทรัพย์ จัดชั้นปกติ + เงินสำรองจากการตีราคา ตราสารทุนประเภทเผื่อขาย

ความเสี่ยงของสินทรัพย์ ความเสี่ยงของภาระผูกพัน Risk Management Department สาระสำคัญของ Basel I สินทรัพย์เสี่ยง สินทรัพย์ (On-balance Sheet) = สินทรัพย์แต่ละรายการ - Specific Provision = สินทรัพย์สุทธิ x น้ำหนักความเสี่ยง ความเสี่ยงของสินทรัพย์ ภาระผูกพัน (Off-balance Sheet) ความเสี่ยงของภาระผูกพัน = ภาระผูกพันแต่ละรายการ x ค่าแปลงสภาพ สินทรัพย์สุทธิ x น้ำหนักความเสี่ยง

สาระสำคัญของ Basel I น้ำหนักความเสี่ยง Risk Management Department สาระสำคัญของ Basel I น้ำหนักความเสี่ยง BIS กำหนดน้ำหนักความเสี่ยงของสินทรัพย์ในงบดุลแตกต่างกันโดยแบ่งออกเป็น 4 ระดับ

สาระสำคัญของ Basel I ค่าแปลงสภาพ (Credit Conversion Factor) Risk Management Department สาระสำคัญของ Basel I ค่าแปลงสภาพ (Credit Conversion Factor)

Risk Management Department ข้อเสียของ Basel I Basel I ให้น้ำหนักความเสี่ยงของสินทรัพย์ที่มีการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ต่างกันดัวยน้ำหนักที่เท่ากัน มีข้อเสียคือ ไม่สะท้อนความเสี่ยงที่แท้จริง

Risk Management Department สาระสำคัญของ Basel II

การกำกับดูแลเงินกองทุนตาม Basel II Risk Management Department การกำกับดูแลเงินกองทุนตาม Basel II ประกอบด้วย 3 หลักการ คือ หลักการที่ 1 : การดำรงเงินกองทุนขั้นต่ำ (Pillar 1 : Minimum Capital Requirement) หลักการที่ 2 : การกำกับดูแลโดยทางการ (Pillar 2 : Supervisory Review Process) หลักการที่ 3 : การใช้กลไกตลาดในการกำกับดูแล (Pillar 3 : Market Discipline)

Minimum Capital Requirement Risk Management Department Pillar I : Minimum Capital Requirement

Minimum capital requirements Market Risk (Trading Book) Risk Management Department Minimum capital requirements Credit Risk Operational Risk Market Risk (Trading Book)

Minimum capital requirements Market Risk (Trading Book) Risk Management Department Minimum capital requirements Credit Risk Operational Risk Market Risk (Trading Book)

การคำนวณสินทรัพย์เสี่ยงด้านเครดิต Risk Management Department การคำนวณสินทรัพย์เสี่ยงด้านเครดิต Credit Risk Standardised Approach (SA) ใช้ข้อมูลการจัดอันดับความเสี่ยงจากสถาบันจัดอันดับเครดิตภายนอก Internal Ratings Based Approach (IRB) Foundation IRB Approach (FIRB) Advanced IRB (AIRB) ใช้ข้อมูลการจัดอันดับ ความเสี่ยงภายใน ของ สง. คำนวณหาค่า PD เอง ใช้ค่า LGD , EAD และ M ตามที่ ธปท. กำหนด ความเสี่ยงภายในของ สง. คำนวณหาค่า PD, LGD, EAD และ M เอง Securitisation Framework

การคำนวณสินทรัพย์เสี่ยงด้านเครดิต Risk Management Department การคำนวณสินทรัพย์เสี่ยงด้านเครดิต Credit Risk Standardised Approach (SA) Internal Ratings Based Approach (IRB) Securitisation Framework

Credit Risk : Standardised Approach (SA) Non-performing Assets Risk Management Department Credit Risk : Standardised Approach (SA) การคำนวณสินทรัพย์เสี่ยง x สินทรัพย์สุทธิ น้ำหนักเสี่ยง ประเภทสินทรัพย์ คุณภาพสินทรัพย์ = ยอดคงค้างของสินทรัพย์ - Specific Provision Performing Assets - Credit Risk Mitigation Non-performing Assets

Credit Risk : Standardised Approach (SA) Risk Management Department Credit Risk : Standardised Approach (SA) น้ำหนักความเสี่ยง ประเภทสินทรัพย์ คุณภาพสินทรัพย์ 1. ลูกหนี้รัฐบาลและธนาคารกลาง 2. ลูกหนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ รัฐวิสาหกิจ 3. ลูกหนี้ธนาคารเพื่อการพัฒนาระหว่าง ประเทศ 4. ลูกหนี้สถาบันการเงิน 5. ลูกหนี้บริษัทหลักทรัพย์ 6. ลูกหนี้เอกชน 7. ลูกหนี้รายย่อย 8. สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย 9. สินทรัพย์อื่น 10. ภาระผูกพันนอกงบดุล สินทรัพย์ปกติ (Performing Assets) สินทรัพย์ด้อยคุณภาพ (Non-performing Assets)

Credit Risk : Standardised Approach (SA) Risk Management Department Credit Risk : Standardised Approach (SA) น้ำหนักความเสี่ยงตามประเภทสินทรัพย์ : กรณีเป็นสินทรัพย์ปกติ **ประเทศไทยได้ Foreign currency rating จาก S&P = BBB+ และ Local currency rating จาก S&P = A

Credit Risk : Standardised Approach (SA) Risk Management Department Credit Risk : Standardised Approach (SA) น้ำหนักความเสี่ยงตามประเภทสินทรัพย์ : กรณีเป็นสินทรัพย์ปกติ

Credit Risk : Standardised Approach (SA) Risk Management Department Credit Risk : Standardised Approach (SA) ตาราง Rating Grade : Long term assessment

Credit Risk : Standardised Approach (SA) Risk Management Department Credit Risk : Standardised Approach (SA) ตาราง Rating Grade : Long term assessment

Credit Risk : Standardised Approach (SA) Risk Management Department Credit Risk : Standardised Approach (SA) น้ำหนักความเสี่ยง์ : ลูกหนี้รายย่อยที่ได้รับน้ำหนักความเสี่ยง 75% ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ : 1. Orientation criterion สินเชื่อที่ให้แก่ บุคคล กลุ่มบุคคล หรือ ธุรกิจขนาดเล็ก 2. Product criterion วงเงินหมุนเวียน (Revolving credit) วงเงินสินเชื่อ (Line of credit) สินเชื่อบุคคล สินเชื่อเช่าซื้อ วงเงินกู้/ภาระผูกพัน ที่ให้แก่ ธุรกิจขนาดเล็ก

Credit Risk : Standardised Approach (SA) Risk Management Department Credit Risk : Standardised Approach (SA) น้ำหนักความเสี่ยง์ : ลูกหนี้รายย่อยที่ได้รับน้ำหนักความเสี่ยง 75% ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ : 3. Granularity criterion การกระจายตัวของสินเชื่อในระดับที่ลดความเสี่ยงได้ วงเงินสินเชื่อและการก่อภาระผูกพันที่ให้กับลูกหนี้แต่ละรายและผู้เกี่ยวข้อง =< 0.2%ของยอดรวมวงเงินให้สินเชื่อรายย่อยและการก่อภาระผูกพันที่เข้าเกณฑ์ทั้งหมด 4. Low value of individual exposure วงเงินสินเชื่อและการก่อภาระผูกพันที่ให้กับลูกหนี้แต่ละรายและ ผู้เกี่ยวข้อง =< 50 ล้านบาท

Credit Risk : Standardised Approach (SA) Risk Management Department Credit Risk : Standardised Approach (SA) น้ำหนักความเสี่ยง : กรณีเป็นสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ สินทรัพย์ด้อยคุณภาพ หมายถึง สินเชื่อจัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน สงสัย สงสัยจะสูญ และสูญ

Credit Risk : Standardised Approach (SA) Risk Management Department Credit Risk : Standardised Approach (SA) การคำนวณสินทรัพย์เสี่ยง สินทรัพย์สุทธิ น้ำหนักเสี่ยง = ยอดคงค้างของสินทรัพย์ - Specific Provision - Credit Risk Mitigation

Credit Risk Mitigation : CRM Risk Management Department Credit Risk Mitigation : CRM การปรับลดความเสี่ยงด้านเครดิต (Credit Risk Mitigation) เพื่อวัตถุประสงค์ในการดำรงเงินกองทุนมี 3 วิธี CRM Collateral On-balance sheet netting Guarantee and Credit derivatives หลักประกันทางการเงิน การหักกลบหนี้ในงบดุล การค้ำประกันและอนุพันธ์ด้านเครดิต

การปรับลดความเสี่ยงด้วย Collateral Comprehensive Approach Risk Management Department การปรับลดความเสี่ยงด้วย Collateral Collateral Simple Approach Comprehensive Approach

กรณีใช้ Comprehensive Approach Risk Management Department ประเภท Collateral เงินสด เงินฝากธนาคาร หรือ บัตรเงินฝากที่ออกโดยสง.ผู้ให้กู้, Credit linked notes ที่ออกโดย สง.ผู้ให้กู้ โดยมีเงินสดเป็นหลักประกัน ทองคำ ตราสารหนี้ที่มีผู้ออกตราสารและ rating grade ดังนี้ ตราสารหนี้ที่ไม่มี External Rating แต่ ผู้ออกเป็น สง. จดทะเบียนในตลาดรองตราสารหนี้ที่เป็นที่ยอมรับ มีฐานะไม่ด้อยสิทธิ มีลักษณะอื่นตามที่ ธปท.กำหนด ตราสารทุน รวมถึงหุ้นกู้แปลงสภาพที่รวมอยู่ใน main index หน่วยลงทุนที่ลงทุนในตราสารที่เป็นหลักประกันทางการเงินข้างต้น และ เปิดเผยราคาตลาดทุกวัน กรณีใช้ Comprehensive Approach ตราสารทุกประเภทที่อนุญาตใน Simple Approach ** อ้างอิงตาราง Rating grade ที่ธปท.กำหนด ตราสารทุน รวมถึง หุ้นกู้แปลงสภาพที่ไม่อยู่ใน main index แต่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ที่เป็นที่ยอมรับ หน่วยลงทุนที่ลงทุนในตราสารทุน รวมถึง หุ้นกู้แปลงสภาพข้างต้น

การปรับลดความเสี่ยงด้วย Collateral Risk Management Department การปรับลดความเสี่ยงด้วย Collateral วิธี Comprehensive Approach ยอดหนี้ส่วนที่ไม่มี หลักประกันทางการเงิน ยอดหนี้ส่วนที่มี หลักประกันทางการเงิน หมายถึง ยอดหนี้สุทธิหลังหัก หลักประกันที่ปรับลดค่าแล้ว มีมูลค่าเทียบเท่าเงินสด (หลังจากปรับค่า haircut แล้ว) RW = น้ำหนักความเสี่ยงของ คู่สัญญา RW = 0%

Comprehensive Approach : การคำนวณค่า Haircut Risk Management Department Comprehensive Approach : การคำนวณค่า Haircut ค่า Haircut ธปท. กำหนด (Standard Supervisory Haircuts) สง. คำนวณเอง (Own Estimates for Haircuts)

Comprehensive Approach : ค่า Haircut ที่กำหนดโดย ธปท. Risk Management Department Comprehensive Approach : ค่า Haircut ที่กำหนดโดย ธปท. ให้ใช้ค่าปรับลดมาตรฐานตามประเภทของผู้ออกตราสาร อายุตราสาร และอันดับเครดิตที่ได้รับจากสถาบันภายนอก ดังตาราง ภายใต้เงื่อนไข มีการประเมินมูลค่ายุติธรรมของตราสาร(remargining) ทุกวัน ระยะเวลาถือครองตราสารเท่ากับ 10 วันทำการ

Credit Risk Mitigation : CRM Risk Management Department Credit Risk Mitigation : CRM CRM Collateral On-balance sheet netting Guarantee and Credit derivatives

การปรับลดความเสี่ยงด้วยการค้ำประกัน และ Credit deviratives Risk Management Department การปรับลดความเสี่ยงด้วยการค้ำประกัน และ Credit deviratives Guarantee and Credit derivatives ประเภทของผู้ค้ำประกันหรือผู้ขาย Credit derivatives รัฐบาล ธนาคารเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ สง. และ บล. ที่ได้รับความเสี่ยงต่ำกว่าคู่สัญญา ธุรกิจเอกชนที่ได้รับอันดับเครดิตตั้งแต่ A- ขึ้นไป โดยรวมถึง บริษัทแม่ บริษัทย่อยและบริษัทร่วมที่ได้รับน้ำหนักความเสี่ยงต่ำ กว่าคู่สัญญา

การปรับลดความเสี่ยงด้วย Credit derivatives Risk Management Department การปรับลดความเสี่ยงด้วย Credit derivatives Credit Default Swap Loan A Swap premium Protection Buyer Protection Seller Contingent payment (if credit event occurs)

Credit Risk Mitigation : CRM Risk Management Department Credit Risk Mitigation : CRM แผนภาพการปรับลดความเสี่ยงสำหรับวิธี Standardised Approach ส่วนที่มี CRM ส่วนที่ไม่มี CRM ส่วนที่มีหลักประกัน ทางการเงิน ส่วนที่มีการค้ำประกัน หรืออนุพันธ์ด้านเครดิต Comprehensive Approach Simple น้ำหนักความเสี่ยง ร้อยละ 0 ของหลักประกัน น้ำหนักความเสี่ยงของ ผู้ประกันความเสี่ยง ของสินทรัพย์นั้น ขึ้นอยู่กับประเภทและคุณภาพสินทรัพย์

Risk Management Department Market Risk

หลักการคำนวณความเสี่ยงด้าน Market Risk Risk Management Department หลักการคำนวณความเสี่ยงด้าน Market Risk Market Risk = Price risk + Reserve risk ประเภทความเสี่ยง กรมการประกันภัย ธนชาตประกันชีวิต Reserve risk Reserve Reserve - (Held to Maturity + Available for Sale) Price risk Trading + Available for Sale + Held to Maturity Trading + Available for Sale

แนวทางการประยุกต์ใช้เทคนิคของกรมการประกันภัย Risk Management Department แนวทางการประยุกต์ใช้เทคนิคของกรมการประกันภัย เป็นไปใน แนวทางเดียวกับ ธปท. ที่ ธปท.สนส. (21) ว.2738/2546 (และ ร่าง Basel II) รวมทั้งใช้ค่าพาราเตอร์เดียวกัน ที่มา : เอกสารบรรยาย Risk-Based Supervision สำหรับความเสี่ยงทางด้านสินทรัพย์และด้านปฏิบัติการ ศาสตราจารย์ ดร.อัญญา ขันธวิทย์

นโยบายกำกับความเสี่ยงด้านตลาด Risk Management Department นโยบายกำกับความเสี่ยงด้านตลาด ได้กำหนดหลักเกณฑ์ที่สำคัญ 8 เรื่องได้แก่ การประเมินปริมาณธุรกรรมในบัญชีเพื่อการค้า การควบคุมภายในสำหรับการบริหารความเสี่ยงด้านตลาด การจัดทำนโยบายการบริหารฐานะในบัญชีเพื่อการค้า การดำรงเงินกองทุนสำหรับความเสี่ยงด้านตลาด การประเมินความเสี่ยงด้านตลาดตามวิธีมาตรฐาน การประเมินความเสี่ยงด้านตลาดตามวิธีแบบจำลอง การประเมินความเสี่ยงด้านตลาดตามวิธีผสม การจัดทำข้อมูลและแบบรายงานที่เกี่ยวข้อง

นโยบายกำกับความเสี่ยงด้านตลาด การจัดกลุ่มสินทรัพย์ Risk Management Department นโยบายกำกับความเสี่ยงด้านตลาด การจัดกลุ่มสินทรัพย์ บัญชีเพื่อการค้า (Trading Book) บัญชีเพื่อการธนาคาร (Banking Book)

นโยบายกำกับความเสี่ยงด้านตลาด Risk Management Department นโยบายกำกับความเสี่ยงด้านตลาด บัญชีเพื่อการค้า (Trading Book) ฐานะของเครื่องมือทางการเงินที่ถือครองไว้โดยมีเจตนาเพื่อการค้า ถือไว้ระยะสั้น เพื่อขายต่อ เพื่อหาประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงของราคา เพื่อหากำไรจากความแตกต่างของราคาในหลายตลาด (arbitrage) ปริมาณธุรกรรมในบัญชีเพื่อการค้าระดับที่มีนัยสำคัญ (Threshold) เท่ากับ 3,000 ล้านบาท

นโยบายกำกับความเสี่ยงด้านตลาด Risk Management Department นโยบายกำกับความเสี่ยงด้านตลาด ประเภทความเสี่ยงในบัญชีเพื่อการค้า ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk) ความเสี่ยงด้านราคาตราสารทุน (Equity Price Risk) ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน (Foreign Exchange Rate Risk) ความเสี่ยงด้านราคาสินค้าโภคภัณฑ์ (Commodity Price Risk)

นโยบายกำกับความเสี่ยงด้านตลาด Risk Management Department นโยบายกำกับความเสี่ยงด้านตลาด Market Risk Standardised Approach General Market Risk Specific Risk + ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในปัจจัยด้านตลาด เช่น ความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย ความผันผวนของตลาดตราสารทุน ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในปัจจัยอื่นๆ นอกเหนือจากปัจจัยตลาด (General Market Risk) ที่สัมพันธ์กับผู้ออกตราสารนั้น เช่น การเปลี่ยนแปลงในระดับความน่าเชื่อถือของผู้ออกตราสาร Internal Model Approach

การกำหนดค่าความเสี่ยงของตราสารทุน Risk Management Department การกำหนดค่าความเสี่ยงของตราสารทุน

อัตราค่าความเสี่ยงของตราสารทุน Risk Management Department อัตราค่าความเสี่ยงของตราสารทุน *หากเป็นดัชนีให้ใช้ อัตราค่าความเสี่ยง SR ที่ร้อยละ 2.00 ที่มา : เอกสารบรรยาย Risk-Based Supervision สำหรับความเสี่ยงทางด้านสินทรัพย์และด้านปฏิบัติการ ศาสตราจารย์ ดร.อัญญา ขันธวิทย์

การกำหนดค่าความเสี่ยงของตราสารหนี้ Risk Management Department การกำหนดค่าความเสี่ยงของตราสารหนี้

อัตราค่าความเสี่ยงของตราสารหนี้ ข. Specific Risk เดิมจาก ธปท. 2546 Risk Management Department อัตราค่าความเสี่ยงของตราสารหนี้ ข. Specific Risk เดิมจาก ธปท. 2546

Risk Management Department อัตราค่าความเสี่ยงของตราสารหนี้ ข. Specific Risk ใหม่จาก ธปท. ร่าง Basel II 2548

Risk Management Department อัตราค่าความเสี่ยงของตราสารหนี้ ก. General Market Risk (Maturity Method)

Risk Management Department อัตราค่าความเสี่ยงของตราสารหนี้ ก. General Market Risk (Maturity Method)

การหักล้างกันของค่าความเสี่ยง GMR Risk Management Department การหักล้างกันของค่าความเสี่ยง GMR

Risk Management Department Question & Answer