งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มอาชีวอนามัย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มอาชีวอนามัย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ จากการประกอบอาชีพ ภาคอุตสาหกรรม ปีงบประมาณ 2560
กลุ่มอาชีวอนามัย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 2 พฤศจิกายน 2559

2 กรอบการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ปีงบฯ 2560
การดำเนินงานฯ ภาคอุตสาหกรรม ปี 60 1. สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพสำคัญ 7 กลุ่มโรค 2. สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพด้านโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือสุขภาพจิต 3. สถานประกอบการที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับการขนส่งหรือมีรถขนส่งจำนวนมาก เช่น บริษัทรถทัวร์ เป็นต้น สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข การจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร ตัวชี้วัดระดับเขตมาตรการ 2.1 สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาส รับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพสำคัญ มีการจัดบริการ อาชีวอนามัยครบวงจร อย่างน้อยจังหวัดละ 2 แห่ง (ยอดสะสม) ตัวชี้วัดระดับเขต (สคร.) มาตรการ 1.1 จำนวนสถานประกอบการเข้าร่วมโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา อย่างน้อยจังหวัดละ 5 แห่ง มาตรการ 1.2 สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการฯ ผ่านเกณฑ์ อย่างน้อย จังหวัดละร้อยละ 10 (ยอดสะสม)

3 ความเป็นมาของโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข

4 หัวข้อการนำเสนอ ผลการดำเนินงานของโครงการสถานประกอบการปลอดโรคฯ ปีงบประมาณ 2559 1 การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ จากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ปีงบประมาณ 2560 สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข สถานประกอบการมีการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร 2

5 ผลการดำเนินงานของโครงการสถานประกอบการฯ ปีงบประมาณ 2559
ตัวชี้วัดกลุ่มวัยทำงานระดับกระทรวง 1. ร้อยละ 5 ของจำนวนสถานประกอบการ/สถานที่ทำงานทั้งหมดในแต่ละจังหวัดสามารถเข้าถึง/ได้รับข้อมูลการดำเนินงานของโครงการฯ จุดเน้นกรมควบคุมโรคระดับสคร. 1.ร้อยละ 10 ของ สถานประกอบการกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพที่สำคัญได้รับบริการอาชีวอนามัยครบวงจรหรืออย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง 2. ร้อยละ 5 ของสถานประกอบการกลุ่มเสี่ยงสูงมีการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพผ่านเกณฑ์ ที่กำหนด

6 ผลการดำเนินงาน ปีงบฯ 2559 แยกราย สคร.

7 1) สรุปจำนวนสถานประกอบการที่เข้าถึง/รับทราบข้อมูลของโครงการฯ <ภาพรวม>
x ระดับกระทรวง ร้อยละ 5 ของจำนวนสถานประกอบการ/สถานที่ทำงานทั้งหมดในแต่ละจังหวัดสามารถเข้าถึง/ได้รับข้อมูลการดำเนินงานของโครงการฯ 2) สรุปจำนวนสถานประกอบการที่เข้าถึง/รับทราบข้อมูลของโครงการฯ <แยกรายสคร.> เป้า หมาย ข้อมูล วันที่ 25 ตุลาคม 2559

8 โครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย
1) สรุปจำนวนสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการฯ ปีงบประมาณ 2559 ระดับ สคร. 625 1. สถานประกอบการ เข้าร่วม โครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข 2) สรุปจำนวนสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการฯ ปีงบประมาณ ข้อมูล วันที่ 25 ตุลาคม 2559

9 ระดับสคร.  2. ร้อยละ 5 ของสถานประกอบการกลุ่มเสี่ยงสูงมีการดูแลสุขภาพ
1) สรุปจำนวนสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน <ภาพรวม> 2. ร้อยละ 5 ของสถานประกอบการกลุ่มเสี่ยงสูงมีการดูแลสุขภาพ ผู้ประกอบอาชีพผ่านเกณฑ์ที่กำหนด 2) สรุปจำนวนสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์การประเมินของโครงการฯ <แยกราย สคร.> ข้อมูล วันที่ 27 ตุลาคม 2559

10 การดำเนินงานของสำนักฯ ปีงบประมาณ 2559
ลำดับ การดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1 การสนับสนุนสื่อวิชาการ สื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานให้กับหน่วยงานเครือข่าย ประกอบด้วย สำนักงานป้องกันควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ศูนย์อนามัยและ ศูนย์สุขภาพจิต 1. คู่มือ/สื่อวิชาการ สื่อประชาสัมพันธ์ สำหรับ สคร. สสจ. ศูนย์สุขภาพจิตและศูนย์อนามัย (แจกจ่าย 30 ต.ค. 58) ประกอบด้วย 1.1 แนวทางการดำเนินงาน สปก. จำนวน 3,000 เล่ม 1.2 แนวทางการดำเนินงาน วสห. จำนวน 1,000 เล่ม 1.3 แผ่นพับ สปก. จำนวน 4,000 บาท 1.4 แผ่นพับ วสห. จำนวน 3,000 บาท 1.5 คู่มือผู้ตรวจประเมิน จำนวน 1,900 เล่ม และสนับสนุนคู่มือ/สื่อวิชาการ สื่อประชาสัมพันธ์ สำหรับ สคร. ตามการร้องขอเป็นกรณีพิเศษ 2 การจัดอบรมผู้ตรวจประเมินในโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข ผู้ตรวจประเมินในโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข จำนวน 50 คน 3 การจัดอบรมพัฒนาศักยภาพของทีมพี่เลี้ยง (Facilitator) ในโครงการสถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข พี่เลี้ยง (Facilitator) โครงการสถานประกอบการปลอดโรคฯ จำนวน 60 คน

11 การดำเนินงานของสำนักฯ ปีงบประมาณ 2559 (ต่อ)
ลำดับ การดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ 4 การตรวจประเมินสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข ระดับประเทศ ร่วมกับคกก. ตรวจประเมินสถานประกอบการปลอดโรค ฯ ระดับประเทศ จำนวน 97 แห่ง 5 การร่วมเป็นวิทยากรกับหน่วยงานเครือข่ายในการชี้แจงการดำเนินงาน/เกณฑ์การพัฒนา/แนวทางการตรวจประเมินฯ การร่วมเป็นวิทยากรกับหน่วยงานเครือข่ายจำนวน 4 ครั้ง ประกอบด้วย 5.1 การร่วมเป็นวิทยากรกับ สคร. 6 ชลบุรี 5.2 การร่วมเป็นวิทยากรกับ รพ.กำแพงแพชร 5.3 การร่วมเป็นวิทยากรกับ สสจ.สงขลา 5.4 การร่วมเป็นวิทยากรกับ สปคม. 6 การให้คำแนะนำการดำเนินงานแก่สำนักงานป้องกันควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและหน่วยงานอื่นๆ ทางโทรศัพท์และทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( ) การให้คำแนะนำการดำเนินงานตลอดปีงบประมาณ 2559 9 การร่วมประชุมกับหน่วยงานเครือข่ายเพื่อดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการสำคัญที่จำเป็นต้องพัฒนาแผนงานในกลุ่ม NATION และวิชาการ ร่วมประชุมกับหน่วยงานเครือข่าย จำนวน 10 ครั้ง

12 การดำเนินงานของสำนักฯ ปีงบประมาณ 2559 (ต่อ)
ลำดับ การดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ 10 การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหน่วยงานเครือข่ายภายใต้โครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข ในระดับเขต จังหวัดและพื้นที่ ประจำปีงบประมาณ 2558 จำนวนเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานเครือข่ายและผู้ประกอบการ เข้าร่วมงาน จำนวน 300 คน 11 การพัฒนาแนวทางการดำเนินงานโครงการสถานประกอบการปลอดโรคฯ : ตามเกณฑ์การพัฒนาปี 2561 แนวทางการดำเนินงานโครงการสถานประกอบการปลอดโรคฯ จำนวน 1 เรื่อง

13 หัวข้อการนำเสนอ ผลการดำเนินงานของโครงการสถานประกอบการปลอดโรคฯ ปีงบประมาณ 2559 1 การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ จากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ปีงบประมาณ 2560 สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข สถานประกอบการมีการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร 2

14 พื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย
พื้นที่เป้าหมาย : 76 จังหวัด (ยกเว้น กรุงเทพฯ) กลุ่มวัย : ผู้ประกอบอาชีพในสถานประกอบการ (เน้น สถานประกอบการที่มีคนงาน ตั้งแต่ 20 คนขึ้นไป) (หมายความรวมถึงสถานประกอบการและ วิสาหกิจชุมชน)

15 พื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย
พื้นที่ดำเนินการ (Setting) : สถานประกอบการทุกประเภทที่สนใจสมัครเข้าร่วมโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข โดยเบื้องต้นมุ่งเน้นในกลุ่มเป้าหมาย ดังต่อไปนี้ 1. สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคจากการประกอบอาชีพที่สำคัญ 7 กลุ่มโรค ประกอบด้วย 1) โรคซิลิโคสิส (silicosis) 2) โรคพิษตะกั่ว 3) โรคที่เกิดจากแร่ใยหิน (Asbestosis) 4) โรคประสาทหูเสื่อมจากเสียงดัง 5) โรคกระดูกและกล้ามเนื้อ 6) การบาดเจ็บจากการทำงาน 7) โรคพิษสารทำละลายอินทรีย์ 2. สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพด้านโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือสุขภาพจิต 3. สถานประกอบการที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับการขนส่งหรือมีรถขนส่งจำนวนมาก เช่น บริษัทรถทัวร์ เป็นต้น

16 กรอบการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ปีงบฯ 2560
การดำเนินงานฯ ภาคอุตสาหกรรม ปี 60 1. สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพสำคัญ 7 กลุ่มโรค 2. สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพด้านโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือสุขภาพจิต 3. สถานประกอบการที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับการขนส่งหรือมีรถขนส่งจำนวนมาก เช่น บริษัทรถทัวร์ เป็นต้น สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข การจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร ตัวชี้วัดระดับเขตมาตรการ 2.1 สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาส รับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพสำคัญ มีการจัดบริการ อาชีวอนามัยครบวงจร อย่างน้อยจังหวัดละ 2 แห่ง (ยอดสะสม) ตัวชี้วัดระดับเขต (สคร.) มาตรการ 1.1 จำนวนสถานประกอบการเข้าร่วมโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา อย่างน้อยจังหวัดละ 5 แห่ง มาตรการ 1.2 สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการฯ ผ่านเกณฑ์ อย่างน้อย จังหวัดละร้อยละ 10 (ยอดสะสม)

17 รายละเอียดการดำเนินงาน หลักฐาน/เอกสารประกอบการประเมิน
ตัวชี้วัด การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพผู้ประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ปี 2560 ตัวชี้วัดมาตรการที่ 1.1 จำนวนสถานประกอบการเข้าร่วมโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา อย่างน้อยจังหวัดละ 5 แห่ง เกณฑ์การให้คะแนน: กำหนดเป็นระดับขั้นตอนของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ขั้นตอน โดยพิจารณาจากความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ รายละเอียดการดำเนินงาน หลักฐาน/เอกสารประกอบการประเมิน 1 1.1 สำรวจข้อมูลสถานประกอบการและวิเคราะห์ความต้องการเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของเครือข่ายในการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพในสถานประกอบการ (0.5 คะแนน) รายงานผลการวิเคราะห์สถานการณ์ของสถานประกอบการฯ ในภาพรวมของปีที่ผ่านมา หรือเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 1.2 ประชุมชี้แจงหรือถ่ายทอดการดำเนินงานโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข ปี 2560 แก่เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง (0.5 คะแนน) สรุปการประชุมชี้แจง /การถ่ายทอดแนวทาง การดำเนินงานโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข ปี 2560 2 สนับสนุน พัฒนาศักยภาพ/สร้างความร่วมมือหน่วยงานเครือข่าย ( สคร., สสจ.,รพ., เครือข่ายสถานประกอบการ) หรือประสานความร่วมมือหน่วยงานเครือข่ายในการดำเนินงานสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข(0.5 คะแนน) หลักฐานการสนับสนุนการดำเนินงาน เช่น หนังสือเชิญเป็นวิทยากรหรือหนังสือตอบรับคำเชิญเป็นวิทยากร, การสนับสนุนสื่อวิชาการ, หนังสือหรืออีเมลให้คำปรึกษา, สรุปผลการดำเนินงานสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข เป็นต้น

18 รายละเอียดการดำเนินงาน หลักฐาน/เอกสารประกอบการประเมิน
ตัวชี้วัด การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพผู้ประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ปี 2560 ตัวชี้วัดมาตรการที่ 1.1 จำนวนสถานประกอบการเข้าร่วมโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา อย่างน้อยจังหวัดละ 5 แห่ง ขั้นตอนที่ รายละเอียดการดำเนินงาน หลักฐาน/เอกสารประกอบการประเมิน 3 3.1 ร่วมในกระบวนการสนับสนุนการดำเนินงานให้สถานประกอบการเข้าร่วมโครงการสถานประกอบการปลอดโรคฯ กับทีมเครือข่ายในพื้นที่ (0.5 คะแนน) หลักฐานการเข้าร่วมในกระบวนการสนับสนุนให้สถานประกอบการเข้าร่วมโครงการสถานประกอบการปลอดโรคฯ กับทีมเครือข่ายในพื้นที่ 3.2 ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน (0.5 คะแนน) บันทึกการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน หรือหลักฐานการประสานงานอื่นๆ เช่น อีเมล หนังสือราชการ เป็นต้น 4 รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานการเข้าร่วมของสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข รายไตรมาส 2,3 (0.5 คะแนน) รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานการเข้าร่วมของสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข พร้อมปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ รายไตรมาส 2,3 ไปยังสำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ ภายในวันที่ 20 ของสิ้นไตรมาส 5 จำนวนสถานประกอบการที่เข้าร่วมสถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข (2 คะแนน) *** สูตรการให้คะแนน ดังนี้ แบบรายงานผลสถานประกอบการที่ผ่านการตรวจประเมิน ตามเกณฑ์กำหนด พร้อมปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ภายในวันที่ 31 สิงหาคม (แบบฟอร์ม ) ปี 2560 (แบบฟอร์ม 2) ปี 2560

19 ระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) เป้าหมาย การดำเนินงาน
ตัวชี้วัด การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพผู้ประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ปี 2560 สูตรการให้คะแนนในขั้นตอนที่ 5 คะแนน 1.2 1.4 1.6 1.8 2 เป้าหมาย ระดับ สคร. (จำนวน จังหวัดx5)-2 จังหวัดx5)-1 จังหวัดx5) จังหวัดx5)+1 จังหวัดx5)+2 เกณฑ์การให้คะแนน: กำหนดเป็นระดับขั้นตอนของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ขั้นตอน ระดับคะแนน ระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) เป้าหมาย การดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 1 รอบ 6 เดือน 1.5 รอบ 9 เดือน 2.5 3 รอบ 12 เดือน 5

20 รายละเอียดการดำเนินงาน หลักฐาน/เอกสารประกอบการประเมิน
ตัวชี้วัด การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพผู้ประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ปี 2560 ตัวชี้วัดมาตรการที่ 1.2 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนให้สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการสถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข มีการดำเนินงานผ่านเกณฑ์ ที่กำหนด เกณฑ์การให้คะแนน: กำหนดเป็นระดับขั้นตอนของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ขั้นตอน โดยพิจารณาจากความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ รายละเอียดการดำเนินงาน หลักฐาน/เอกสารประกอบการประเมิน 1 1.1 วิเคราะห์ความต้องการเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของเครือข่ายในการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพในสถานประกอบการในพื้นที่ (0.5 คะแนน) รายงานผลการวิเคราะห์สถานการณ์ของสถานประกอบการในภาพรวมของพื้นที่ 1.2 ประชุมชี้แจง หรือถ่ายทอดการดำเนินงานสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุขในปี 2560 (0.5 คะแนน) สรุปการประชุมชี้แจง /การถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงานสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุขในปี 2560 2 สนับสนุน พัฒนาศักยภาพ/สร้างความร่วมมือหน่วยงานเครือข่าย (สสจ.,เครือข่ายสถานประกอบการ) หรือประสานความร่วมมือหน่วยงานเครือข่าย ใน การดำเนินงานและการตรวจประเมินสถานประกอบการตามเกณฑ์ที่กำหนด (0.5 คะแนน) หลักฐานการสนับสนุนการดำเนินงาน เช่น หนังสือเชิญเป็นวิทยากรหรือหนังสือตอบรับคำเชิญเป็นวิทยากร, การสนับสนุนสื่อวิชาการ, หนังสือหรืออีเมลให้คำปรึกษา, สรุปผลการร่วมตรวจประเมินฯ เป็นต้น

21 รายละเอียดการดำเนินงาน หลักฐาน/เอกสารประกอบการประเมิน
ตัวชี้วัด การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพผู้ประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ปี 2560 ตัวชี้วัดมาตรการที่ 1.2 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนให้สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการสถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข มีการดำเนินงานผ่านเกณฑ์ ที่กำหนด ขั้นตอนที่ รายละเอียดการดำเนินงาน หลักฐาน/เอกสารประกอบการประเมิน 3 3.1 ร่วมในกระบวนการตรวจประเมินสถานประกอบการกับทีมของจังหวัด (0.5 คะแนน) หลักฐานการเข้าร่วมในกระบวนการตรวจประเมินสถานประกอบการกับทีมจังหวัด 3.2 ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน (0.5 คะแนน) บันทึกการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานหรือหลักฐานการประสานงานอื่นๆ เช่น อีเมล เป็นต้น 4 รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานการผ่านเกณฑ์ของสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข รายไตรมาส 2,3 (0.5 คะแนน) รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานการผ่านเกณฑ์ของสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข พร้อมปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ รายไตรมาส 2,3 ไปยังสำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ ภายในวันที่ 20 ของสิ้นไตรมาส 5 ร้อยละสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการสถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข มีการดำเนินงานผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (2 คะแนน) *** สูตรการให้คะแนน ดังนี้ แบบรายงานผลสถานประกอบการที่ผ่านการตรวจประเมิน ตามเกณฑ์กำหนด พร้อมปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2560 (แบบฟอร์ม 3-1, 3-2) ปี 2560

22 ตัวชี้วัด การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพผู้ประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ปี 2560
ตัวชี้วัดมาตรการที่ 1.2 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนให้สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการสถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข มีการดำเนินงานผ่านเกณฑ์ ที่กำหนด ให้คิดคะแนนตามสูตรในขั้นที่ 5 ดังนี้ สูตร = (A/B)*100 โดยกำหนดให้ : X = จำนวนสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข ตั้งแต่ระดับจังหวัดขึ้นไป Y = จำนวนสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการฯทั้งหมด ตารางเทียบคะแนน ร้อยละ 8 9 10 11 12 คะแนน 0.4 0.8 1.2 1.6 2.0

23 ระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) เป้าหมาย การดำเนินงาน
ตัวชี้วัด การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพผู้ประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ปี 2560 เกณฑ์การให้คะแนน: กำหนดเป็นระดับขั้นตอนของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ขั้นตอน ระดับคะแนน ระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) เป้าหมาย การดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 1 รอบ 6 เดือน 1.5 รอบ 9 เดือน 2.5 3 รอบ 12 เดือน 5

24 รายละเอียดการดำเนินงาน หลักฐาน/เอกสารประกอบการประเมิน
ตัวชี้วัด การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพผู้ประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ปี 2560 ตัวชี้วัดมาตรการที่ 2.1 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนให้สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพสำคัญมีการจัดบริการอาชีวอนามัย ครบวงจร (อย่างน้อยจังหวัดละ 2 แห่ง) เกณฑ์การให้คะแนน: กำหนดเป็นระดับขั้นตอนของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ขั้นตอน โดยพิจารณาจากความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ รายละเอียดการดำเนินงาน หลักฐาน/เอกสารประกอบการประเมิน 1 1.1 วิเคราะห์ความต้องการเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของเครือข่ายในการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพในสถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพสำคัญ (0.5 คะแนน) รายงานผลการวิเคราะห์สถานการณ์ สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพสำคัญ ในภาพรวมของพื้นที่ 1.2 ประชุมชี้แจง หรือถ่ายทอดการดำเนินงานการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจรในสถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงฯ ปี 2560 (0.5 คะแนน) สรุปการประชุมชี้แจง /การถ่ายทอด แนวทางการดำเนินงานการจัดบริการ อาชีวอนามัยครบวงจรในสถานประกอบการฯ ปี 2560 2 สนับสนุน พัฒนาศักยภาพ/สร้างความร่วมมือหน่วยงานเครือข่าย ( สคร., สสจ.,รพ., เครือข่ายสถานประกอบการ) หรือประสานความร่วมมือหน่วยงานเครือข่าย ในการดำเนินงานให้มีการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจรในสถานประกอบการ (0.5 คะแนน) หลักฐานการสนับสนุนการดำเนินงาน เช่น หนังสือเชิญเป็นวิทยากร, การสนับสนุนสื่อวิชาการ, หนังสือหรืออีเมลให้คำปรึกษา, สรุปผลการดำเนินงานการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจรในสถานประกอบการ เป็นต้น

25 รายละเอียดการดำเนินงาน หลักฐาน/เอกสารประกอบการประเมิน
ตัวชี้วัด การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพผู้ประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ปี 2560 ตัวชี้วัดมาตรการที่ 2.1 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนให้สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพสำคัญมีการจัดบริการอาชีวอนามัย ครบวงจร (อย่างน้อยจังหวัดละ 2 แห่ง) ขั้นตอนที่ รายละเอียดการดำเนินงาน หลักฐาน/เอกสารประกอบการประเมิน 3 3.1 ร่วมในกระบวนการสนับสนุนการดำเนินงานการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจรในสถานประกอบการฯ กับทีม สสจ. และ รพ. (0.5 คะแนน) หลักฐานการเข้าร่วมในกระบวนการสนับสนุนการดำเนินงานการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจรในสถานประกอบการฯ กับทีม สสจ. และ รพ. 3.2 ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน (0.5 คะแนน) บันทึกการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานหรือหลักฐาน การประสานงานอื่นๆ เช่น อีเมล หนังสือราชการ เป็นต้น 4 รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจรในสถานประกอบการฯ รายไตรมาส 2,3 (0.5 คะแนน) รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจรในสถานประกอบการฯ พร้อมปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ รายไตรมาส 2,3 ไปยังสำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ ภายในวันที่ 20 ของสิ้นไตรมาส 5 จำนวนสถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพสำคัญ มีการจัดบริการ อาชีวอนามัยครบวงจรกำหนด (2 คะแนน) *** สูตรการให้คะแนน ดังนี้ แบบรายงานผลสถานประกอบการกลุ่มเสี่ยงสูงฯที่มีการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจรผ่านเกณฑ์กำหนด พร้อมปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2560 (แบบฟอร์ม ) ปี 2560 (แบบฟอร์ม 2) ปี 2560 (แบบฟอร์ม 3-1, 3-3) ปี 2560

26 ระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) เป้าหมาย การดำเนินงาน
ตัวชี้วัด การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพผู้ประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ปี 2560 สูตรการให้คะแนนในขั้นตอนที่ 5 คะแนน 1.2 1.4 1.6 1.8 2 เป้าหมาย ระดับ สคร. (จำนวน จังหวัดx2)-2 จังหวัดx2)-1 จังหวัดx2) จังหวัดx2)+1 จังหวัดx2)+2 เกณฑ์การให้คะแนน: กำหนดเป็นระดับขั้นตอนของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ขั้นตอน ระดับคะแนน ระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) เป้าหมาย การดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 1 รอบ 6 เดือน 1.5 รอบ 9 เดือน 2.5 3 รอบ 12 เดือน 5

27 กรอบการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ปีงบฯ 2560
การดำเนินงานฯ ภาคอุตสาหกรรม ปี 60 1. สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพสำคัญ 7 กลุ่มโรค 2. สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพด้านโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือสุขภาพจิต 3. สถานประกอบการที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับการขนส่งหรือมีรถขนส่งจำนวนมาก เช่น บริษัทรถทัวร์ เป็นต้น สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข การจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร ตัวชี้วัดระดับเขต (สคร.) มาตรการ 1.1 จำนวนสถานประกอบการเข้าร่วมโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา อย่างน้อยจังหวัดละ 5 แห่ง มาตรการ 1.2 สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการฯ ผ่านเกณฑ์ อย่างน้อย จังหวัดละร้อยละ 10 (ยอดสะสม) ตัวชี้วัดระดับเขตมาตรการ 2.1 สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาส รับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพสำคัญ มีการจัดบริการ อาชีวอนามัยครบวงจร อย่างน้อยจังหวัดละ 2 แห่ง (ยอดสะสม)

28 กระบวนการดำเนินงานสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข ปีงบฯ 2560
สมัครใจเข้าร่วมโครงการฯ พี่เลี้ยงแนะนำการดำเนินงานตามเกณฑ์การพัฒนาของโครงการฯ สถานประกอบการประเมินตนเอง คะแนนน้อยกว่า 60% พัฒนาตนเองต่อ คะแนนตั้งแต่ 60% ยื่นเรื่องประเมินระดับจังหวัด กระบวนการปี 2560 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง จะเปลี่ยนแปลงในปี 2561

29 ** แผนการดำเนินงานของโครงการฯ ภายใต้จุดเน้นกรมควบคุมโรค ปี 2560
แผนการดำเนินงานของโครงการฯ ภายใต้จุดเน้นกรมควบคุมโรค ปี 2560 ลำดับ การดำเนินงาน ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1 สำนักฯ ชี้แจงการดำเนินงานให้กับสคร.และหน่วยงานเครือข่าย 2 เปิดรับสมัครสปก./วิสาหกิจชุมชน เข้าร่วมโครงการฯ 3 สำนักฯ จัดอบรมต้นแบบ Facilitators ของโครงการฯ (1รุ่น : 50 คน) 4 สำนักฯ จัดอบรมผู้ตรวจประเมิน ของโครงการฯ (1รุ่น : 50 คน) 5 สำนักฯ สนับสนุน ติดตามงาน และตรวจประเมิน สถานประกอบการ 6 แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติงานในโครงการ สถานที่ทำงาน/ สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข W2 W3 ระดับจังหวัด ระดับประเทศ โล่ ปี 59

30 บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สำนักงานป้องกันควบคุมโรค 1) ประสานงาน/สนับสนุน/แนะนำ/ชี้แจงการดำเนินงาน ของโครงการให้กับเครือข่าย (สสจ./สสอ./คลินิกโรคฯ/ รพ.สต./สถานประกอบการ/วิสาหกิจชุมชน) 2) เป็นกรรมการตรวจประเมินระดับจังหวัด 3) รวบรวม/สรุป/รายงานผลการดำเนินงานภาพเขต สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 1) จัดทำคู่มือวิชาการของโครงการฯ ร่วมกับ คกก. 2) ปรับปรุงคู่มือ/สื่อทางวิชาการของโครงการฯ ร่วมกับ คกก. 3) ร่วมชี้แจงการดำเนินงาน/เกณฑ์/แนวทางของ โครงการฯ ให้กับ สคร. และหน่วยงานเครือข่าย 4) สนับสนุนทางวิชาการ 5) จัดอบรมผู้ตรวจประเมินและต้นแบบ Facilitator 6) เป็นกรรมการตรวจประเมินระดับประเทศร่วมกับคกก. 7) ติดตามผลการดำเนินงาน 8) สรุปสถานการณ์ของโครงการฯ ในภาพรวมของ ประเทศ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 1) ประสานงาน/สนับสนุน/แนะนำ/ชี้แจงการดำเนินงาน ของโครงการให้กับกลุ่มเป้าหมาย (สถานประกอบการ/ วิสาหกิจชุมชน) เพื่อให้รับทราบและเข้าถึงโครงการฯ 2) เป็นพี่เลี้ยงของกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้เกิดการพัฒนาตาม เกณฑ์การพัฒนาของโครงการฯ 3) สรุป/รายงานผลการดำเนินงานภาพจังหวัด

31 สิ่งสนับสนุน/กิจกรรมเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของสคร. ปีงบฯ 60
จำนวน 1. สื่อทางวิชาการ/สื่อประชาสัมพันธ์โครงการฯ รอจัดสรรงบประมาณจากกรมควบคุมโรค (ช่วง 6 เดือนหลัง) 2. การอบรมต้นแบบ Facilitators ของโครงการ สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข วันที่ 11 – 12 มกราคม (วันพุธ – วันพฤหัส) ณ กรุงเทพฯ/ปริมณฑล จำนวน 50 คน 3. การอบรมผู้ตรวจประเมินของโครงการ วันที่ 18 – 19 มกราคม (วันพุธ – วันพฤหัส) ณ กรุงเทพฯ/ปริมณฑล จำนวน 50 คน

32 องค์ความรู้เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของสคร. ปีงบฯ 61
ระยะเวลาแล้วเสร็จ 1. คู่มือ/แนวทางการจัดการความเครียดจากการทำงาน (ดำเนินการโดยสำนักส่วนกลาง) ปีงบประมาณ 2560 2. คู่มือ/แนวทางการจัดการความเมื่อยล้าจากการขับรถขนส่ง (ดำเนินการโดยสำนักส่วนกลาง) 3. คู่มือพี่เลี้ยง (Facilitators) ในโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข (ดำเนินการโดยสำนักส่วนกลาง) 4. แนวทางการดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชนในโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข (ตามเกณฑ์การพัฒนาปี 2561 สำหรับการรับรองครั้งที่ 1) 5. แนวทางการดำเนินงานของสถานประกอบการในโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข (ตามเกณฑ์การพัฒนาปี 2561 สำหรับการรับรองครั้งที่ 1) 6. คู่มือผู้ตรวจประเมินในโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข (ตามเกณฑ์การพัฒนาปี 2561สำหรับการรับรองครั้งที่ 1) 7. คู่มือผู้ตรวจประเมินในโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข (ตามเกณฑ์การพัฒนาปี 2561 สำหรับการต่ออายุการรับรองเมื่อครบ 3 ปี)

33 ตัวอย่างใบสมัคร สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข ปีงบฯ 2560

34 กรอบการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ปีงบฯ 2560
การดำเนินงานฯ ภาคอุตสาหกรรม ปี 60 1. สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพสำคัญ 7 กลุ่มโรค 2. สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพด้านโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือสุขภาพจิต 3. สถานประกอบการที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับการขนส่งหรือมีรถขนส่งจำนวนมาก เช่น บริษัทรถทัวร์ เป็นต้น สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข การจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร ตัวชี้วัดระดับเขต มาตรการ 1.1 จำนวนสถานประกอบการเข้าร่วมโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา อย่างน้อยจังหวัดละ 5 แห่ง มาตรการ 1.2 สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการฯ ผ่านเกณฑ์ อย่างน้อย จังหวัดละร้อยละ 10 (ยอดสะสม) ตัวชี้วัดระดับเขตมาตรการ 2.1 สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาส รับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพสำคัญ มีการจัดบริการ อาชีวอนามัยครบวงจร อย่างน้อยจังหวัดละ 2 แห่ง (ยอดสะสม)

35 ผลการดำเนินงาน ปีงบฯ 2559 แยกราย สคร.

36 ระดับสคร. 1) สรุปจำนวนสถานประกอบการที่เข้าร่วมการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร<ภาพรวม> x ร้อยละ 10 ของ สถานประกอบการกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพที่สำคัญได้รับบริการอาชีวอนามัยครบวงจรหรืออย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง 2) สรุปจำนวนสถานประกอบการที่เข้าร่วมการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร<แยกราย สคร.> ข้อมูล วันที่ 25 ตุลาคม 2559

37 การจัดบริการอาชีวอนามัย ครบวงจร 6 ขั้นตอน
สถานประกอบการมีทีมงาน/ผู้ที่รับผิดชอบใน การชี้บ่งและประเมินความเสี่ยง วิเคราะห์ผลการประเมินและวางแผนการดำเนินงาน ดำเนินการป้องกัน ควบคุมความเสี่ยงตามแผนงาน ส่งต่อไปยังสถานพยาบาล/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประเมินผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน (Return to work) ติดตามและประเมินผล 1 6 2 5 3 4

38 สคร. & คลินิกโรคจากการทำงาน
สคร. & คลินิกโรคจากการทำงาน แนะนำ สนับสนุน ส่งเสริม ผลักดัน ให้ 1 2 3 สปก. มีทีมงาน/ผู้ที่รับผิดชอบในการชี้บ่งและประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพ ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมขององค์กร สปก. นำผลการประเมินความเสี่ยงฯมาวิเคราะห์และวางแผนการดำเนินงานเพื่อหาวิธีการควบคุมความเสี่ยงหรือ ลดผลกระทบของความเสี่ยง ดำเนินการป้องกัน ควบคุมการเกิดผลกระทบของความเสี่ยงฯ/ส่งเสริมกิจกรรมที่ลดผลกระทบของความเสี่ยงฯ ที่อาจเกิดขึ้น 7 กลุ่มโรค - CD - NCD - สุขภาพจิต 6 5 4 ติดตามและประเมินผล เพื่อทบทวนการดำเนินงาน ผู้ที่เกี่ยวข้องต้องมีการประเมินผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน (Return to work) การส่งต่อไปยังสถานพยาบาล/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานและผลการประเมินติดตามทบทวนการดำเนินงาน นำไปสู่การปรับปรุงให้ดีขึ้น สำหรับผู้ป่วยที่ต้องได้รับการรักษาตามโรค/ความเสี่ยงฯ ขององค์กรเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมต่อไป รวมถึงผู้ที่มีสภาพร่างกายที่ไม่เอื้อต่อการทำงานในหน้าที่เดิม เช่น กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ เป็นต้น

39 ขั้นตอนการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจรและ การเชื่อมโยงงานร่วมกับคลินิกโรคจากการทำงาน

40 การเชื่อมโยงงาน สปก. ปลอดโรคฯ & การจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร
การเชื่อมโยงรูปแบบที่ 1 การเชื่อมโยงรูปแบบที่ 2 สปก. ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข 32 ข้อ สปก. ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข 32 ข้อ อาชีวอนามัยครบวงจร 6 ขั้นตอน อาชีวอนามัยครบวงจร 6 ขั้นตอน

41 ระดับขั้นใบประกาศเกียรติบัตร
มาตรฐานบริการ อช. ในสปก. ติดตามและประเมินผล 6 ดีมาก ประเมินผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน (Return to work) 5 ส่งต่อไปยังสถานพยาบาล/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4 ดี ดำเนินการป้องกัน ควบคุมความเสี่ยง 3 พื้นฐาน วิเคราะห์ผลการประเมินและ วางแผนการดำเนินงาน 2 เริ่มต้น สถานประกอบการมีทีมงาน/ผู้ที่รับผิดชอบ ในการชี้บ่งและประเมินความเสี่ยง 1

42 แล้วใครต้องเป็นผู้รับรอง ว่าได้ใบประกาศระดับไหน???

43 สคร. สำนักโรคฯ คลินิกโรคฯ จัดทำใบประกาศเกียรติบัตร ส่งกลับไปยัง
ประสานงานและร่วมกันรับรอง การดำเนินงานของสปก. ร่วมกับ สำนักโรคฯ คลินิกโรคฯ สรุปผลการรับรองและรายงานมาที่

44 ** แผนการดำเนินงานการสนับสนุนให้สถานประกอบการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร ปี 2560 ลำดับ การดำเนินงาน ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1 สคร. ประสาน สสจ.เพื่อสำรวจ/ รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน จำนวน สปก. กลุ่มเป้าหมายของพื้นที่ 2 ร่วมชี้แจง/แนะนำ สปก. ที่เข้าร่วมการจัดบริการอาชีวอนามัยฯ 3 วางแผน ประสานงาน และวิเคราะห์สถานการณ์ของสถานประกอบการกลุ่มเป้าหมาย ร่วมกับเครือข่าย 4 ร่วมดำเนินการจัดบริการอาชีวฯ และดำเนินการเก็บข้อมูล เพื่อเฝ้าระวังใน สปก. กลุ่มเป้าหมาย 5 ติดตามและรับรองผลการดำเนินงานร่วมกับเครือข่าย (คลินิกโรคฯ) 6 วิเคราะห์ข้อมูล รายงานผลการดำเนินงานร่วมกับคลินิกโรคฯ 7 สรุปผลการดำเนินงานในภาพรวมของพื้นที่

45 สิ่งสนับสนุน/กิจกรรมเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของสคร. ปีงบฯ 60
จำนวน/แหล่งสืบค้น/แหล่งประสานงาน 1. สื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมฯ เว็บไซต์ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ 2. แนวทางการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพจากแร่ใยหิน (asbestos) เว็บไซต์ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ และรอการจัดพิมพ์ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพจากฝุ่นหิน (silica) 4. แนวทางการรับรองของทีมผู้รับรองการดำเนินงานการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจรของสถานประกอบการ 5. แบบประเมินตนเองสำหรับการดำเนินงานการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจรของสถานประกอบการ 6. ตรวจวัดสิ่งแวดล้อมในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับ การทำงาน ในสถานประกอบการกลุ่มเป้าหมาย ศูนย์บริการอาชีวอนามัย เบอร์โทร 7. ตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างทางห้องปฏิบัติการ ศูนย์อ้างอิงทางห้องปฏิบัติการและพิษวิทยา เบอร์โทร

46 สิ่งสนับสนุน/กิจกรรมเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของสคร. ปีงบฯ 60
จำนวน/แหล่งสืบค้น/แหล่งประสานงาน 8. ข้อมูลรายชื่อคลินิกโรคจากการทำงาน ศูนย์พัฒนาการจัดบริการ อาชีวอนามัย จังหวัดสมุทรปราการ เบอร์โทร 9. ข้อมูลหน่วยงานที่มีแพทย์ที่ผ่านการอบรมการอ่านฟิล์ม X- ray ปอด เว็บไซต์ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ องค์ความรู้เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของ สคร. ปีงบฯ 61 ระยะเวลาแล้วเสร็จ 1. แนวทางการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคพิษจากสารทำละลายอินทรีย์ ปีงบประมาณ 2560 2. แนวทางการป้องกัน ควบคุมโรคสูญเสียการได้ยินจากเสียงดัง จากการประกอบอาชีพ (โดยศูนย์บริการอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม)

47 ตัวอย่างใบสมัคร สถานประกอบการมีการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร ปีงบฯ 2560

48 การรายงานข้อมูล และ การติดตามประเมินผล
การรายงานข้อมูล และ การติดตามประเมินผล

49 Input – Process – Output
ระบบการรายงานข้อมูล ผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด : สสจ. รวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการฯ ในจังหวัดที่รับผิดชอบ (พร้อมแนบใบสมัคร) ผู้รับผิดชอบระดับเขต : สคร. รวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการฯ ในภาพรวมของเขตที่รับผิดชอบ (พร้อมแนบใบสมัคร)  รวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านการตรวจประเมินระดับจังหวัดและมีระดับคะแนนตั้งแต่ 60 – 79 คะแนน , 80 – 89 คะแนน และ ตั้งแต่ 90 คะแนนขึ้นไป และผลการดำเนินงานอาชีวอนามัยครบวงจร แบบประเมินผลกระบวนการดำเนินงานรายปีของ สคร. (Input – Process – Output) ผู้รับผิดชอบระดับประเทศ : สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค รวบรวมจำนวนและรายชื่อสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการฯ ในภาพรวมของประเทศ รวบรวมจำนวนและรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านการตรวจประเมินระดับจังหวัดและระดับประเทศ และผลการดำเนินงาน อาชีวอนามัยครบวงจรในภาพรวมของประเทศ สรุปสถานการณ์การดำเนินงานประจำปีของโครงการฯ 1 2 3 Form 1 (1-1,1-2) Form 2 Form 3 (3-1, 3-2,3-3) Input – Process – Output

50 การติดตามผลการดำเนินงาน ผลลัพธ์ที่ต้องการได้ วิธีการจัดเก็บข้อมูล
ระดับ ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ที่ต้องการได้ การติดตามผล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล รอบการส่งข้อมูล เขต ตัวชี้วัดมาตรการ 1.1 จำนวนสถานประกอบการเข้าร่วมโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา อย่างน้อยจังหวัดละ 5 แห่ง สถานประกอบการเข้าร่วมโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา อย่างน้อยจังหวัดละ 5 แห่ง 1. แบบรายงานผลการเข้าร่วมสถานประกอบการปลอดโรค และอาชีวอนามัยครบวงจร สำหรับ สสจ. (แบบฟอร์ม ) ปี 2560 2. แบบสรุปผลการเข้าร่วมสถานประกอบการปลอดโรค และอาชีวอนามัยครบวงจร สำหรับ สคร.(แบบฟอร์ม 2) ปี 2560 - ไตรมาส 1 ภายใน วันที่ 20 ธันวาคม 59 - ไตรมาส 2 ภายในวันที่ 20 มีนาคม 60 - ไตรมาส 3 ภายในวันที่ 20 มิถุนายน 60 - ไตรมาส 4 ภายในวันที่ 31 สิงหาคม 60 ตัวชี้วัดมาตรการ 1.2 สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการฯ ผ่านเกณฑ์ อย่างน้อย จังหวัดละ ร้อยละ 10 (ยอดสะสม) สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการฯ ผ่านเกณฑ์ อย่างน้อย จังหวัดละ 1. แบบรายงานผลสถานประกอบการที่ผ่านการตรวจประเมิน สำหรับ สคร. (แบบฟอร์ม 3-1,3-2) 2. แบบประเมินผลกระบวนการดำเนินงานรายปีของ สคร. (Input – Process – Output)

51 การติดตามผลการดำเนินงาน ผลลัพธ์ที่ต้องการได้ วิธีการจัดเก็บข้อมูล
ระดับ ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ที่ต้องการได้ การติดตามผล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล รอบการส่งข้อมูล เขต ตัวชี้วัดมาตรการ 2.1 สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาส รับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและ ภัยสุขภาพสำคัญ มีการจัดบริการ อาชีวอนามัยครบวงจร อย่างน้อยจังหวัดละ 2 แห่ง (ยอดสะสม) 1. แบบรายงานผลการเข้าร่วมสถานประกอบการปลอดโรค และอาชีวอนามัยครบวงจร สำหรับ สสจ. (แบบฟอร์ม 1-1 , 1-2) ปี 2560 2. แบบสรุปผลการเข้าร่วมสถานประกอบการปลอดโรค และอาชีวอนามัยครบวงจร สำหรับ สคร. (แบบฟอร์ม 2) ปี 2560 3. แบบรายงานผลสถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพสำคัญมีการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจรสำหรับ สำนักงานป้องกันควบคุมโรค ปี 2560 (แบบฟอร์ม 3-3) - ไตรมาส 1 ภายใน วันที่ 20 ธันวาคม 59 - ไตรมาส 2 ภายในวันที่ 20 มีนาคม 60 - ไตรมาส 3 ภายในวันที่ 20 มิถุนายน 60 - ไตรมาส 4 ภายในวันที่ 31 สิงหาคม 60

52 ประเด็นขอความร่วมมือในปีงบประมาณ 2560
ขอความร่วมมือกรอก/ส่งข้อมูลให้ครบถ้วนตามแบบรายงานการดำเนินงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น รายชื่อสปก. / จำนวนพนักงาน / ประเภทกิจการฯลฯ ขอความร่วมมือส่งรายชื่อสปก.ที่เข้าร่วมโครงการฯ พร้อมกับจำนวนสปก. ที่เข้าร่วมโครงการฯ ขอความร่วมมือตรวจสอบความถูกต้องของรายชื่อ สปก. เพื่อให้สามารถจัดทำใบรายงานการตรวจประเมิน/ใบประกาศเกียรติบัตรได้อย่างถูกต้อง ขอความร่วมมือส่งข้อมูลต่างๆ ตามระยะเวลาที่กำหนด

53 (ประเด็นหารือ) กระบวนการดำเนินงานสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข ปีงบฯ 2561
รูปแบบเดิม รูปแบบที่ 1 รูปแบบที่ 2 สถานประกอบการเข้าร่วมโครงการฯ สถานประกอบการเข้าร่วมโครงการฯ สถานประกอบการเข้าร่วมโครงการฯ สปก.ดำเนินการตามเกณฑ์การพัฒนาฯ ปีแรก ครบ 3 ปี สปก.ดำเนินการตามเกณฑ์การพัฒนาฯ โดยการแนะนำจากพี่เลี้ยง (Facilitators) สถานประกอบการประเมินตนเอง -คะแนนน้อยกว่า 60% พัฒนาตนเองต่อ -คะแนนตั้งแต่ 60% ยื่นเรื่องประเมินระดับจังหวัด สปก.ดำเนินการตาม เกณฑ์การพัฒนาฯ ฉบับเดิม สปก.ดำเนินการตาม เกณฑ์การพัฒนาฯ ฉบับใหม่ปี 61 พี่เลี้ยงรับรองกระบวนการพัฒนา และแจ้งสำนักฯ เพื่อจัดทำใบประกาศฯ หรือ โล่ สถานประกอบการประเมินตนเอง ตรวจประเมินระดับจังหวัด - คะแนน 60-79% ใบประกาศ (ดี) - คะแนน 80-89% ใบประกาศ (ดีเด่น) - คะแนน 90% ขึ้นไป ใบประกาศ (ดีเยี่ยม) ตรวจประเมินระดับจังหวัด มอบใบประกาศหรือโล่การเข้าร่วมกระบวนการพัฒนาฯ ให้กับ สปก. (ระยะเวลาการรับรอง 3 ปี) ตรวจประเมินระดับประเทศ ตรวจประเมินระดับประเทศ -คะแนน 80-89% โล่เงิน - คะแนน 90% ขึ้นไป โล่ทอง อนาคต - การตรวจประเมินระดับประเทศโดย สคร. - สำนักฯส่วนกลาง สุ่มตรวจสอบคุณภาพ ประกวด Best Practice (2 ปี/ครั้ง)

54 “ไม่มีเครือข่าย... ไม่มีผลผลิต...”

55


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มอาชีวอนามัย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google