งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Evidence-based การประชุมชี้แจงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and transparency assessment – ita) ประจำปีงบประมาณ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Evidence-based การประชุมชี้แจงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and transparency assessment – ita) ประจำปีงบประมาณ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Evidence-based การประชุมชี้แจงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and transparency assessment – ita) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ วันศุกร์ที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ณ ห้องประชุมเตมียาเวส โรงเรียนนายร้อยตำรวจ

2 แบบสำรวจ Evidence - based
ชี้แจงการตอบคำถาม/ ค่าคะแนน แบบสำรวจ Evidence - based ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ค่าคะแนนแบบสำรวจ Evidence-based ตามมติที่ประชุมคณะทำงานกลั่นกรองการดำเนินงานโครงการ ITA ครั้งที่ ๑๘-๙/๒๕๕๘ (สำนักงาน ป.ป.ช.) เมื่อวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๘

3 คะแนนเต็ม ๔,๓๐๐ คะแนน EB ๑๒ (๑๐๐ คะแนน) จำนวนข้อคำถาม๑๑ EB
๔๒ ข้อย่อย (๔,๒๐๐ คะแนน) EB ๑๒ (๑๐๐ คะแนน) เป็นข้อมูลที่ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ถูก สำนักงาน ป.ป.ช. หรือสำนักงาน ป.ป.ท. ชี้มูลความผิด คะแนนแบบสำรวจ Evidence-based ตามมติที่ประชุมคณะทำงานกลั่นกรองการดำเนินงานโครงการ ITA (สำนักงานป.ป.ช.)ครั้งที่ ๑๘-๙/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๘

4 แยกคำถามเป็น ๘ ประเด็น ๑๑ EB ๔๒ ข้อย่อย
๑. การจัดชื้อจัดจ้าง EB ๑ – EB ๓ ๒. มาตรฐานการปฏิบัติงาน EB ๔ ๓. ความเป็นธรรม/ไม่เลือกปฏิบัติ EB ๕ ๔. การมีส่วนร่วมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย EB ๖ EB ๔ - EB ๗ คำถามเกี่ยวกับ ภารกิจหลัก ๕. การเข้าถึงข้อมูล EB ๗ ๖. ระบบการร้องเรียนขององค์กร EB ๘ ๗. ผลประโยชน์ทับซ้อน EB ๙ ๘. การดำเนินการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต EB ๑๐- EB ๑๑ ข้อคำถามที่ไม่ได้ระบุภารกิจหลัก ให้ใช้การดำเนินงานภาพรวมของหน่วยงาน

5 ประเด็นที่ ๑ เรื่อง การจัดชื้อจัดจ้าง (EB ๑ - ๓ จำนวน ๑๑ ข้อ)
(๑) รายงานผลการจัดชื้อจัดจ้าง (๑๐๐คะแนน) (๒) รายงานวิเคราะห์ผลการจัดชื้อจัดจ้าง (๑๐๐ คะแนน) (๓) วิเคราะผลการจัดชื้อจัดจ้างลักษณะดังนี้ (๓.๑) ร้อยละของโครงการจำแนกตามวิธีการจัดชื้อจัดจ้าง (๕๐ คะแนน) (๓.๒) งบประมาณ จำแนกตามวิธีการจัดชื้อจัดจ้าง) (๕๐ คะแนน) พ.ศ. ๒๕๕๗ การจัดชื้อจัดจ้าง งบประมาณปี พ.ศ. ๒๕๕๙ นำผลการวิเคราะห์การจัดชื้อจัดจ้างปีงบประมาณที่ผ่านๆ มามาปรับปรุงแผนปฎิบัติการจัดชื้อจัดจ้าง ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ EB ๓ (๔) (๑๐๐ คะแนน) การเผยแพร่ข้อมูลการ จัดชื้อจัดจ้างอย่างเป็นระบบ ชื่อโครงการ/งบประมาณ/ ผู้ชื้อซอง/ผู้ยื่นซอง/ผู้ได้รับคัดเลือก (โครงการที่ดำเนินการจัดชื้อจัดจ้างแล้ว ณ วันที่หน่วยงานส่งข้อมูลตามแบบ Evidence Based ให้ที่ปรึกษา) EB ๑ (๒) (๕๐๐ คะแนน) มีการประกาศ เผยแพร่ข้อมูลผลการจัดชื้อจัดจ้างแต่ละโครงการ (ผ่าน Web หรือสื่ออื่นๆ) (๑)การจัดชื้อจัดจ้างล่วงหน้าไม่น้อยกว่าระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด (๒) หลักเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือก (๓) การคำนวณราคากลาง (๔) รายชื่อผู้เสนองาน/ผู้มีสิทธิคัดเลือก (๕) รายงานผลการจัดชื้อจัดจ้างผระบุวิธีจัดชื้อจัดจ้าง+เหตุผลที่ใช้ตัดสินในการจัดขื้อจัดจ้าง) (กรณีจัดชื้อจัดจ้างมากกว่า ๕ โครงการให้แสดงโครงการที่มีงบประมาณสูงสุด กรณีมีน้อยกว่า ๕ โครงการให้จัดส่งทั้งหมด) EB (๒) (๕๐๐ คะแนนข้อละ ๑๐๐ คะแนน) ประกาศเผยแพร่แผนปฏิบัติการจัดชื้อจัดจ้าง (ตามที่ คตง กำหนด) (ภายใน ๓๐ วันทำการ หลังจากที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๙) EB๑ (๑) (๑๐๐ คะแนน)

6 แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ตามข้อ EB ๑ (๑) หมายถึง
แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างตามที่ คตง. กำหนด ซึ่ง คตง. กำหนดให้จัดทำ แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างเฉพาะงบลงทุน (ค่าครุภัณฑ์ และที่ดินสิ่งก่อสร้าง) ค่าครุภัณฑ์ ตั้งแต่ 100,000 บาท ขึ้นไป (ใช้กับทุกหน่วยงาน) ดินและสิ่งก่อสร้าง - ตั้งแต่ 2,000,000 บาท ขึ้นไป (หน่วยงานระดับกรม และกรุงเทพมหานคร) - ตั้งแต่ 1,000,000 บาท ขึ้นไป (ส่วนราชการประจำจังหวัด) กรณีที่หน่วยงานไม่อยู่ในข่ายที่ต้องจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างตามที่ คตง. กำหนด ให้เขียนคำอธิบายพร้อมเหตุผลในช่องอื่นๆ (โปรดระบุ) ในแบบสำรวจ Evidence - based

7 EB 1 (2) มีการเผยแพร่ข้อมูลอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ในปี พ.ศ. 255๙ ดังต่อไปนี้หรือไม่ EB 1 (2) มีการเผยแพร่ข้อมูลอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างใน ปี พ.ศ ดังต่อไปนี้หรือไม่ ๒.๑ ชื่อโครงการ ๒.๒ งบประมาณ ๒.๓ ผู้ซื้อซอง ๒.๔ ผู้ยื่นซอง ๒.๕ ผู้ได้รับคัดเลือก ในการตอบข้อคำถามนี้ หมายถึง การจัดซื้อจัดจ้างของบประมาณทุกประเภท เช่น งบดำเนินงาน งบลงทุน (ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) และงบรายจ่ายอื่น รวมทั้งเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ งบพัฒนาจังหวัด งบกลุ่มจังหวัด ฯลฯ รวมทั้งงบประมาณที่มีการกันไว้จ่ายเหลื่อมปีที่มีการจัดซื้อจัดจ้าง ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ฯลฯ กรณีที่โครงการใดไม่สามารถมีหลักฐานครบตามข้อ ๒.๑ - ๒.๕ ให้ชี้แจงเหตุผลประกอบ เช่น กรณี การจ้างโดยวิธีพิเศษ การจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลง จะไม่สามารถตอบข้อ ๒.๓ และ ๒.๔ ได้ สำหรับการตอบข้อคำถามข้อนี้ ไม่ต้องรอจนสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ให้หน่วยรับประเมินจัดทำข้อมูลเท่าที่มีการ จัดซื้อจัดจ้างแล้วเสร็จในช่วงไตรมาสที่ ๒ หรือ ๓ ของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ลงเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน

8 ข้อคำถาม EB ๒ การเปิดเผยผลข้อมูลการจัดชื้อจัดจ้าง ในปีงบประมาณ พ. ศ
ข้อคำถาม EB ๒ การเปิดเผยผลข้อมูลการจัดชื้อจัดจ้าง ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน ข้อคำถาม EB ๒ การเปิดเผยผลข้อมูลการจัดชื้อจัดจ้างในปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๕๘ ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน การตอบข้อคำถาม EB ๒ (๑) - (๕) หมายถึง การจัดซื้อจัดจ้างของงบประมาณทุกประเภท ได้แก่ งบดำเนินงาน งบลงทุน (ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) และงบรายจ่ายอื่น รวมทั้งเงินอุดหนุนทั่วไป เงิน อุดหนุนเฉพาะกิจ งบพัฒนาจังหวัด งบกลุ่มจังหวัด ฯลฯ รวมทั้งงบประมาณที่มีการกันไว้จ่ายเหลื่อมปีที่มี การจัดซื้อจัดจ้างในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ด้วย โดยกรณีที่หน่วยงานมีการจัดซื้อจัดจ้างจำนวนมากกว่า ๕ โครงการ ในปี พ.ศ. 255๙ ให้คัดเลือกเพียง 5 โครงการที่มีงบประมาณสูงสุด ที่สามารถแสดงหลักฐานได้ครบถ้วนตามข้อ (๑) – (๕) หากหน่วยงานมีการจัดซื้อจัดจ้างไม่ถึง ๕ โครงการ ให้แสดงหลักฐานของทุกโครงการ กรณีโครงการใดใช้ วิธีการจัดซื้อจัดจ้างที่ไม่ใช่วิธีประกวดราคาหรือสอบราคา ซึ่งทำให้ไม่สามารถตอบได้ทุกข้อคำถามให้ หน่วยงานชี้แจงเหตุผลประกอบ เช่น การจ้างโดยวิธีพิเศษ การจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลง เป็นต้น สำหรับการตอบข้อคำถามข้อนี้ ไม่ต้องรอจนสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 255๙ ให้หน่วยรับประเมินจัดทำข้อมูล เท่าที่มีการจัดซื้อจัดจ้างแล้วเสร็จในช่วงไตรมาสที่ ๒ หรือ ๓ ของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยพิจารณาตามความเหมาะสมของงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรของแต่ละหน่วยงานที่มีงบประมาณการ จัดชื้อจัดจ้างสูงสุด

9 ข้อ EB ๓ วิเคราะห์แผนและกระบวนการจัดชื้อจัดจ้าง ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลการจัดชื้อจัดจ้างประจำปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๕๘ ให้แสดงหลักฐานรายงานการวิเคราะห์โดยทำการวิเคราะห์ทุกรายจ่ายที่มีการจัดชื้อจัดจ้าง ทั้งงบดำเนินงาน งบลงทุน (ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) และงบรายจ่ายอื่น รวมทั้งเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ งบพัฒนาจังหวัด งบกลุ่มจังหวัด ฯลฯ รวมทั้งงบประมาณที่มีการกันไว้จ่ายเหลื่อมปีที่มีการจัดซื้อจัดจ้างในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ด้วย

10 ข้อมูลการจัดชื้อจัดจ้างในการตอบข้อ EB ๑ (๒) – EB ๓
หมายถึง การจัดซื้อจัดจ้างของงบประมาณทุกประเภท ได้แก่ งบดำเนินงาน งบลงทุน (ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) และงบรายจ่ายอื่น รวมทั้ง เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ งบพัฒนาจังหวัด งบกลุ่มจังหวัด ฯลฯ รวมทั้ง งบประมาณที่มีการกันไว้จ่ายเหลื่อมปีที่มีการจัดซื้อจัดจ้างในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ด้วย ยกตัวอย่างกรณี ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมจังหวัด (ทสจ.) ได้รับจัดสรรงบ พัฒนาจังหวัดหรืองบกลุ่มจังหวัด ในการจัดชื้อจัดจ้าง เป็นอำนาจอนุมัติของ ผวจ. หรือ ผู้ที่ ผวจ. มอบอำนาจ แต่กระบวนการจัดชื้อจัดจ้าง ทสจ. เป็นหน่วยดำเนินการทั้งหมด เพราะนั้น ทสจ. ต้องนำงบในส่วนนี้มาเป็นข้อมูลในการตอบคำถามของ EB๑(๒) – EB๓ ด้วย

11 ประเด็นคำถามเกี่ยวกับเกี่ยวกับ ภารกิจหลัก EB ๔-EB ๗ จำนวน ๑๔ ข้อ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน EB ๔ ความเป็นธรรมไม่เลือกปฎิบัติ EB ๕ ภารกิจหลัก การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย EB ๖ การเข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน EB ๗

12 แนวทางการตอบข้อคำถาม EB 4- EB 7
เลือกภารกิจหลักของหน่วยงานมาเพียง ๑ ภารกิจหลัก เพื่อตอบข้อคำถาม EB ๔-EB ๗ หากข้อใด ที่หน่วยยังไม่มี ก็สามารถดำเนินการในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ เพื่อมาประกอบหลักฐาน

13 ประเด็นที่ ๒. มาตรฐานการปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก EB ๔
คู่มือ/แนวทาง/หนังสือ สั่งการเพื่อให้เกิดมาตรฐานการปฏิบัติงานตาม ภารกิจหลัก (๑๐๐ คะแนน) EB ๔ (๒) รายงานผลการปฏิบัติงานตามคู่มือ/แนวทาง/หนังสือสั่งการตาม ภารกิจหลัก (๑๐๐ คะแนน)

14 ประเด็นที่ ๓. ความเป็นธรรมไม่เลือกปฏิบัติตามภารกิจหลัก EB ๕
ระบบ เกณฑ์ หรือเครื่องมือการปฏิบัติงานที่มีความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ เป็นมาตรฐานเดียวกัน โปร่งใส มีประสิทธิภาพ ภารกิจหลัก (๑๐๐ คะแนน) EB ๕(๒) มีการแสดงขั้นตอนการปฏิบัติงานหรือ การให้บริการ อัตราค่าบริการ ( ถ้ามี) ระยะเวลาให้ผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทราบ อย่างชัดเจน ภารกิจหลัก (๑๐๐คะแนน) EB ๕(๓) ระบบการป้องกันหรือตรวจสอบเพื่อป้องกันการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ (ระบบ /ระเบียบ ฯลฯ ) ภารกิจหลัก (๑๐๐ คะแนน)

15 ประเด็นคำถามเกี่ยวกับภารกิจหลัก
 ในการตอบคำถามที่เกี่ยวกับภารกิจหลัก ให้ เลือก ภารกิจ ของหน่วยงาน ๑ ภารกิจ เพื่อเป็นแกนหลักในการตอบ คำถาม ในทุกข้อที่ถามที่ถามถึงภารกิจหลัก ประเด็นคำถามเกี่ยวกับภารกิจหลัก (๑.) มาตรฐานการปฏิบัติงาน (๒) ความเป็นธรรมไม่เลือกปฏิบัติ (๓) การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (๔) การเข้าถึงข้อมูล เช่น สำนักงานจังหวัดเลือกภารกิจของสำนักการช่าง เกี่ยวกับการขออนุญาตใบอนุญาตปลูกสร้างอาคาร ท่านต้อง เอาภารกิจการขออนุญาตใบอนุญาตปลูกสร้างอาคาร มาตอบคำถามตั้งแต่ ข้อ EB ๔ – ข้อ EB ๗ ยกตัวอย่าง หลักฐานเพื่อประกอบข้อคำถาม ดังนี้ EB ๔ (๑) คู่มือกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เกี่ยวกับการขออนุญาตใบอนุญาตปลูกสร้างอาคาร EB ๔ (๒) เอกสารรายงานผลการปฏิบัติงานตามคู่มือเกี่ยวกับการขออนุญาตใบอนุญาตปลูกสร้างอาคาร  EB ๕ (๑) ระบบ เกณฑ์ เครื่องมือ ที่แสดงให้เห็นว่า การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เกี่ยวกับการขออนุญาต ใบอนุญาตปลูกสร้างอาคาร ไม่เลือกปฏิบัติ เป็นมาตรฐานเดียวกัน โปร่งใส มีประสิทธิภาพ EB ๕ (๒) การเผยแพร่ แผนผัง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน อัตราค่าบริการ ระยะเวลาในการดำเนินเกี่ยวกับการขอ อนุญาตใบอนุญาตปลูกสร้างอาคาร โดย Print Screen หน้า Website ที่มีระบุวัน/เดือน/ปี ที่ทำการเผยแพร่ มาเพื่อประกอบเป็นหลักฐาน

16 ประเด็นที่ ๔. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในภารกิจหลักของหน่วยงาน EB ๖ ( รวมถึงประชาชน/หน่วยงานที่เป็นผู้รับบริการตามภารกิจหลัก ) ร่วมปรับปรุง แก้ไขพัฒนาโครงการ/การปฏิบัติราชการอย่างต่อเนื่องเมื่อสิ้นสุดโครงการภารกิจหลัก EB ๖ (๕) (๑๐๐ คะแนน) ภารกิจหลัก ร่วมตรวจสอบติดตามประเมินผลตามโครงการ/การพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขพัฒนาการปฏิบัติราชการภารกิจหลัก EB ๖ (๔) (๑๐๐ คะแนน) ร่วมดำเนินการ ตามโครงการ/การพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขพัฒนาการปฏิบัติราชการภารกิจหลัก EB ๖ (๓) (๑๐๐ คะแนน) ร่วมการจัดทำ แผน/โครงการ/การพัฒนาการปฏิบัติราชการ ภารกิจหลัก EB ๖ (๒) (๑๐๐ คะแนน) ร่วมแสดงความคิดเห็น -เกี่ยวกับการปฏิบัติราชการหรือปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัติราชการในหน่วยงาน ภารกิจหลัก EB ๖ (๑) (๑๐๐ คะแนน)

17 ประเด็นที่ ๕. การเข้าถึงข้อมูล ตามภารกิจหลักของหน่วยงาน EB ๗
(๑๐๐ คะแนน) มีข้อมูลตามภารกิจหลัก ที่กฎหมายกำหนดทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน หรือสื่อสังคม (Social Media) EB ๗ (๒) (๑๐๐ คะแนน) ระบบการให้ข้อมูลตามภารกิจหลัก ผ่านหมายเลขโทรศัพท์ ๗ หลักหรือ Call Center โดยมีระบบตอบรับ (เวลาทำการ) EB ๗ (๓) (๑๐๐ คะแนน) เผยแพร่ข้อมูลตามภารกิจหลัก ทางสื่อ ( ๑๐๐ คะแนน ) สื่อเอกสาร (นสพ. หรือวารสารหรือ จุลสารหรือแผ่นพับ (๕๐ คะแนน) สื่ออื่นๆ โทรทัศน์ หรือวิทยุหรือสื่อสังคมอื่นๆ (๕๐ คะแนน ) EB ๗ (๔)

18 ประเด็นที่ ๖ ระบบการร้องเรียนขององค์กร EB ๘
มีการเผยแพร่ผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียน ทั่วไป ระบุปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข **นำไปเผยแพร่ในเว็ปไซต์ ของสำนักงาน ***หากไม่มีการร้องเรียน ตาม (4) (5) ให้หน่วยงานเผยแพร่บนเว็บไซต์ว่า “ไม่มีการร้อยเรียน” และให้ผู้บริหารลงนามในท้ายประกาศด้วย EB ๘ (๔) (๑๐๐ คะแนน) สรุปผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียนการจัดชื้อจัดจ้าง (ระบุปัญหา/อุปสรรค +แนวทางแก้ไข) เสนอผู้บริหาร EB ๘ ( ๑ –๓) ( ๓๐๐ คะแนน ข้อละ ๑๐๐ คะแนน) อาจทำในรูปคู่มือ/แนวปฏิบัติ โดยมีรายละเอียดตามนี้ (๑) ขั้นตอน/กระบวนการ/การตอบสนองหรือรายงานให้ผู้ร้องทราบ (๒) กำหนดช่องทางการร้องเรียน (๓) กำหนดหน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบ

19 ประเด็นที่ ๗ เรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน EB ๙ ข้อคำถาม ๗ ข้อ
ให้ความรู้เรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน ประชุม/อบรม EB ๙ (๑) (๑๐๐ คะแนน) จัดทำคู่มือ/ประมวลจริยธรรมเกี่ยวกับเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน EB ๙ (๒) (๑๐๐ คะแนน) รายงานผลการให้ความรู้ ตาม EB ๙ (๒) EB ๙ (๓) (๑๐๐ คะแนน) รายงานผลการปฏิบัติงานเพื่อป้องกันผลประโยชน์ ทับซ้อน + ข้อเสนอแนะ EB ๙ (๖) (๑๐๐ คะแนน) ปรับปรุงระเบียบ/ขั้นตอนเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน EB ๙ EB ๙ (๔) (๑๐๐ คะแนน) นำข้อเสนอแนะไปปรับปรุงระบบการทำงาน EB ๙ (๗) (๑๐๐คะแนน) แนวทางปฏิบัติในการตรวจสอบบุคลากรถึงความเกี่ยวข้องกับผู้เสนองานในการจัดชื้อจัดจ้าง EB ๙ (๕) (๑๐๐ คะแนน)

20 ประเด็นที่ ๘ การดำเนินการด้านป้องกันและปราบปรามการทุจริต EB ๑๐ – EB ๑๑
วิเคราะห์แผนปฏิบัติการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ (๑๐๐ คะแนน) EB ๑๐ (๒) ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙ (ขอผลการดำเนินการตามแผนอย่างน้อย ๑ โครงการ) (๑๐๐คะแนน) EB ๑๐ (๓) จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐ (๑๐๐ คะแนน) แผน EB ๑๐ รวมกลุ่มของเจ้าหน้าที่ เพื่อการบริหารงานที่โปร่งใส *รายชื่อ/วัตถุประสงค์/แนวทางการดำเนินงาน EB ๑๑ (๑) (๑๐๐ คะแนน) *ผลการดำเนินงานของกลุ่มที่แสดงถึงความพยายามที่จะปรับปรุงการบริหารหน่วยงานให้มีความโปร่งใสยิ่งขึ้น EB ๑๑ (๒) (๑๐๐ คะแนน) การรวมกลุ่ม EB ๑๑

21 ผ่าน ๆ มา แต่ยังมีการดำเนินการต่อในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙
ข้อคำถาม EB ๘ หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเรื่องร้องเรียนอย่างไร เรื่องร้องเรียน หมายถึง เรื่องร้องเรียนทั่วไป และเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดขื้อจัดจ้าง เรื่องร้องเรียน : เรื่องร้องเรียนทั่วไป + เรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดขื้อจัดจ้าง เรื่องร้องเรียน : คือเรื่องร้องเรียนที่มีการดำเนินการในห้วงปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ เช่นการสอบข้อเท็จจริง ตั้งกรรมการสอบสวน เป็นต้น ไม่ว่าจะเป็น เรื่องที่มีผู้มาร้องเรียน หรือ หน่วยงานอื่นส่งเรื่องมา เช่น สตง. เพื่อให้หน่วยงาน ดำเนินการ อาจเป็นเรื่องที่ยังอยู่ระหว่างดำเนินการจากเรื่องร้องเรียนของปีที่ ผ่าน ๆ มา แต่ยังมีการดำเนินการต่อในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ สำหรับตอบข้อคำถามของ EB ๘ (๔) และ (๕)

22 ข้อคำถาม EB ๘ (๔) การเผยแพร่ผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียน
การจัดชื้อจัดจ้าง พร้อมระบุปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข แนวทางตอบ ให้แสดงหลักฐานการเผยแพร่ผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนจัดชื้อจัดจ้าง พร้อมระบุปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข หากกรณีหน่วยงานไม่มีเรื่อง ร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดชื้อจัดจ้าง ให้หน่วยงานเผยแพร่ถึงผลการดำเนินงาน เรื่องร้องเรียนการจัดชื้อจัดจ้าง (ระหว่างเดือน .... ถึงเดือน.... ) หน่วยงานท่าน ว่าไม่มี ร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดชื้อจัดชื้อจัดจ้าง ข้อคำถามนี้ไม่ต้องรอจนสิ้นสุดปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ หน่วยงานสามารถ สรุปก่อนได้โดยระบุ ระหว่างเดือนตุลาคม ๒๕๕๘ – เดือน ๒๕๕๙

23 ข้อเสนอแนะต่อการปรับปรุง
การตอบแบบประเมินเชิงประจักษ์

24 แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ตามข้อ EB ๑ (๑)
ประเด็นปัญหา หน่วยงานระดับภูมิภาคส่วนใหญ่จะไม่ได้รับการจัดสรรงบลงทุน จึงตอบว่าได้ส่งแผนดังกล่าวไปยังคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ซึ่งไม่ใช่เจตนารมณ์ของข้อคำถามที่ต้องการให้มีการเผยแพร่ต่อสาธารณชน

25 EB 1 (2) การเผยแพร่ข้อมูลอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง
ประเด็นปัญหา หน่วยงานส่งหลักฐานการเผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อ จัดจ้างที่ดึงมาจากระบบ e-GP ของกรมบัญชีกลาง

26 ข้อคำถาม EB ๒ การเปิดเผยผลข้อมูลการจัดชื้อจัดจ้างผ่านเว็บไซต์ ของหน่วยงาน
ประเด็นปัญหา หลักฐานที่มาจากการ Print screen จากเว็บไซต์ไม่ชัดเจนในเรื่องของวัน เวลา ที่ทำการเผยแพร่

27 ข้อ EB ๓ วิเคราะห์แผนและกระบวนการจัดชื้อจัดจ้าง
ประเด็นปัญหา ผู้ประสานงานของหน่วยงานมีการวิเคราะห์ในรูปแบบของการรายงานผลการวิเคราะห์ แต่ส่วนใหญ่ไม่มี การนำผลการวิเคราะห์นั้นเสนอผู้บริหารหรือหัวหน้าส่วนราชการแต่อย่างใด เป็นเพียงรายงานการวิเคราะห์เพื่อจัดส่งเป็นเอกสารให้ทางโครงการเท่านั้น

28 ข้อ EB ๔ การดำเนินงานตามคู่มือกำหนดมาตรฐาน การปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก
ประเด็นปัญหา หน่วยงานส่วนใหญ่จะส่งคู่มือการให้บริการประชาชน ตาม พ.ร.บ. อำนวยความสะดวก และจัดส่งคู่มือที่มีทั้งหมดของหน่วยงานซึ่งไม่ใช่ภารกิจหลักของหน่วยงานมา เป็นหลักฐาน โดยไม่มีการเลือกภารกิจหลัก ๑ ภารกิจ

29 ข้อ EB ๕ ความเป็นธรรมในการปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก (ระบบป้องกันการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่)
ประเด็นปัญหา คำว่า “ระบบ” หน่วยงานยังขาดความเข้าใจว่าจะต้องหมายถึงทั้งกระบวนการเริ่มตั้งแต่ปัจจัยนำเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และ ผลลัพธ์ (Output) ซึ่งหน่วยงานจึงต้องแสดงให้เห็นถึงระบบที่ชัดเจน และระบบดังกล่าวต้องสอดคล้องกับภารกิจหลักตามข้อ EB ๔ (๑)

30 ข้อ EB ๖ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติราชการตามภารกิจหลักของหน่วยงาน
ประเด็นปัญหา หน่วยงานบางแห่งใช้หลักฐานการแต่งตั้งบุคคลภายนอกมาร่วมปฏิบัติงานในฐานะผู้เชี่ยวชาญ แต่ไม่ได้เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สอดคล้องกับภารกิจหลักตามข้อ EB ๔ (๑)

31 ข้อ EB ๗ ช่องทางที่ให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลตาม ภารกิจหลัก
ประเด็นปัญหา หน่วยงานบางแห่งที่ใช้หลักฐานในการตอบข้อคำถามนี้ ไม่สอดคล้องกับภารกิจหลักตามข้อ EB ๔ (๑)

32 ข้อ EB ๘ การดำเนินการเรื่องร้องเรียน
ประเด็นปัญหา หน่วยงานส่วนใหญ่จะใช้หลักฐานข้อมูลรวมการร้องเรียนของประชาชน เช่น ข้อมูลร้องเรียนของศูนย์ดำรงธรรม หรือข้อมูลร้องเรียนของประชาชนเพื่อขอความเป็นธรรม ซึ่งไม่ตรงตามเจตนารมณ์ของข้อคำถามนี้

33 ข้อ EB ๙ การดำเนินการเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน (การประชุมสัมมนาเพื่อให้ความรู้)
ประเด็นปัญหา หน่วยงานส่วนใหญ่ใช้รายงานการประชุม/สัมมนา เป็นหลักฐาน แต่เนื้อหาภายในในรายงานการประชุมยัง ไม่ชัดเจน และไม่ได้ระบุวัตถุประสงค์ว่าเป็นเนื้อหาเรื่องของผลประโยชน์ทับซ้อน

34 ข้อ EB ๙ การดำเนินการเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน (คู่มือเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน)
ประเด็นปัญหา หน่วยงานบางแห่งใช้ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน โดยไม่มีการจัดทำขึ้นมาใหม่ที่เป็นปัจจุบัน หรือหน่วยงานบางแห่งใช้ประมวลจริยธรรมที่หน่วยงานจัดทำขึ้น แต่เนื้อหาเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อนไม่ปรากฏหรือไม่ชัดเจน

35 คู่มือป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนที่หน่วยงานพึงจัดทำ

36 ข้อ EB ๙ การดำเนินการเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน (การให้ความรู้ตามคู่มือเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน)
ประเด็นปัญหา หน่วยงานส่วนใหญ่จะอ้างอิงหลักฐานว่ามีการให้ความรู้ในการการประชุม/สัมมนาตามข้อEB๙ (๑) และใช้วิธีแจ้งเวียนโดยมีรายชื่อผู้รับทราบคู่มือ ซึ่งแทบไม่พบว่ามี การให้ความรู้ตามคู่มือ เนื่องจากคู่มือที่หน่วยงานจัดทำขึ้นไม่มีการทำการวิเคราะห์ถึงภารกิจงานที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน เพื่อนำมาสู่การจัดทำคู่มือเฉพาะของหน่วยงาน

37 ข้อ EB ๙ การดำเนินการเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน (ปรับปรุงการปฏิบัติงานเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน)
ประเด็นปัญหา หน่วยงานส่วนใหญ่ใช้หลักฐานคู่มือการให้บริการประชาชน ตาม พ.ร.บ.อำนวยความสะดวก ซึ่งแทบไม่พบข้อมูลที่มีหน่วยงานมีหลักฐานที่ชัดเจนในข้อคำถามดังกล่าว

38 ข้อ EB ๙ การดำเนินการเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน (การตรวจสอบความเกี่ยวข้องกับผู้เสนองานในการจัดซื้อจัดจ้าง) ประเด็นปัญหา หน่วยงานส่วนใหญ่ใช้หลักฐานการตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกันหรือการตรวจฮั้ว ซึ่งไม่ใช่การตรวจสอบบุคลากร

39 ข้อ EB ๙ การดำเนินการเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน (รายงานผลการปฏิบัติงานเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน)
ประเด็นปัญหา หน่วยงานส่วนใหญ่ไม่มีการแสดงหลักฐานเกี่ยวกับรายงานผลการปฏิบัติงานเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน ซึ่งเป็นลักษณะการรายงานที่วิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน พร้อมทั้งเสนอแนะวิธีการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน แต่จะเป็นการแสดงหลักฐานการปฏิบัติงานทั่วๆ ไป

40 ข้อ EB ๙ การดำเนินการเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน (การจำข้อเสนอแนะจากรายงานผลการปฏิบัติงานเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนไปปรับปรุงระบบการทำงาน) ประเด็นปัญหา หน่วยงานส่วนใหญ่ไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับการนำเอาข้อเสนอแนะและวิธีการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนจากข้อคำถามที่ ๖ มาปรับปรุง ส่วนใหญ่จะใช้หลักฐานคู่มือ การให้บริการประชาชนตาม พ.ร.บ.อำนวยความสะดวก ฯ

41 ข้อ EB ๑๐ การดำเนินการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ประเด็นปัญหา หน่วยงานส่วนใหญ่ไม่ได้ทำการวิเคราะห์ถึงปัญหาอุปสรรค และไม่ได้เสนอแนวทางแก้ไขจากการรายงานสรุปผล การดำเนินการพร้อมข้อเสนอแนะตามแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แต่เป็นเพียงการสรุปจำนวนโครงการที่จัดทำแล้วเสร็จตามแผน และหน่วยบางแห่งไม่ได้จัดทำแผนแต่ใช้หลักฐานการรายงานผลตรวจสอบภายในของหน่วยงานเป็นหลักฐานแทน

42 ข้อ EB ๑๑ การรวมกลุ่มของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานเพื่อ การบริหารงานที่โปร่งใส
ประเด็นปัญหา หน่วยงานส่วนใหญ่จะส่งภาพถ่ายการประชุมตาม ข้อ EB๑๑ (๑) โดยไม่มีรายละเอียดเนื้อหาใน การรวมกลุ่ม และปรากฏกิจกรรมที่ดำเนินงานของกลุ่ม ซึ่งไม่มีหลักฐานที่ชัดเจนถึงความพยายามที่จะให้การบริหารงานขององค์กรมีความโปร่งใส

43 กรณีศึกษา Evidence-based

44

45

46

47

48

49

50

51

52

53

54

55

56

57

58


ดาวน์โหลด ppt Evidence-based การประชุมชี้แจงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and transparency assessment – ita) ประจำปีงบประมาณ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google