งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทบาทของผู้บริหารรัฐวิสาหกิจที่มีต่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทบาทของผู้บริหารรัฐวิสาหกิจที่มีต่อ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทบาทของผู้บริหารรัฐวิสาหกิจที่มีต่อ
ระบบประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ โดย ผู้แทนสำนักกำกับและประเมินผลรัฐวิสาหกิจ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๔

2 ความเป็นมาของระบบประเมินผลฯ
ปี 2538 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบให้นำระบบประเมินผล การดำเนินงานรัฐวิสาหกิจมาใช้ เพื่อติดตามและกำกับดูแลประสิทธิภาพการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ โดยมีการเชื่อมโยงเข้ากับระบบแรงจูงใจของพนักงานและคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ โดยให้เริ่มใช้ตั้งแต่ปี 2539 และทยอยใช้กับรัฐวิสาหกิจจนครบทุกแห่ง และให้แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลงานรัฐวิสาหกิจ เพื่อรับผิดชอบการดำเนินงานตามระบบประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ ปี 2547 คณะกรรมการประเมินผลฯ ได้พิจารณาปรับปรุงระบบประเมินผลฯ โดยกำหนดเกณฑ์การประเมินผลในหัวข้อการบริหารจัดการองค์กรขึ้น เพื่อผลักดันให้รัฐวิสาหกิจพัฒนาระบบการบริหารจัดการในด้านต่างๆ ให้ทัดเทียมกับมาตรฐานการบริหารจัดการองค์กรระดับสากล และได้มีการพัฒนาหลักเกณฑ์ให้มีความเหมาะสมมาอย่างต่อเนื่อง 2 4

3 หลักการของระบบประเมินผลฯ
1. เป็นเครื่องมือของภาครัฐในการผลักดันประสิทธิภาพ การดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาล 2. มุ่งเน้นให้คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจเป็นผู้รับผิดชอบในการกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจให้ดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ให้มีการจัดทำบันทึกข้อตกลงประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจตอนต้นปี และมีการประเมินผลตอนสิ้นปี โดยเป็นการประเมินผลดำเนินงานของทั้งองค์กร 4. การกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายตามบันทึกข้อตกลงฯ จะมุ่งเน้นให้รัฐวิสาหกิจมีการปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงาน และยกระดับการบริหารจัดการให้เทียบเคียงได้กับ Industry Norm หรือมาตรฐานสากล 5. ผลการประเมินจะเชื่อมโยงกับระบบแรงจูงใจ ซึ่งมีทั้งที่เป็น ตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน

4 บันทึกข้อตกลงการประเมินผลฯ (Performance Agreement)
บันทึกข้อตกลงระหว่างรัฐบาลกับรัฐวิสาหกิจ เพื่อกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายในการประเมิน ผลการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจในแต่ละปี การกำหนดตัวชี้วัดการประเมินผลงาน (Performance Criteria) เพื่อวัดประสิทธิภาพการดำเนินงานของ รัฐวิสาหกิจตามกรอบในการประเมินผลฯ และน้ำหนัก ในแต่ละตัวชี้วัด

5 คณะกรรมการประเมินผลงานรัฐวิสาหกิจ
คณะกรรมการประเมินผลงานรัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วย คณะกรรมการโดยตำแหน่งจากภาครัฐ 5 คน ปลัดกระทรวงการคลัง (ประธานกรรมการฯ) เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวนไม่เกิน 12 คน

6 คณะกรรมการประเมินผลงานรัฐวิสาหกิจ (ต่อ)
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการประเมินผลฯ (ปัจจุบัน) จำนวน 12 คน ประกอบด้วย นายเขมทัต สุคนธสิงห์ นายจิตเกษม แสงสิงแก้ว นายชัยณรงค์ อินทรมีทรัพย์ นายชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ นายเทียนฉาย กีระนันทน์ นายประวิตร นิลสุวรรณากุล นายปรัชญา เวสารัชช์ นายปิยะบุตร ชลวิจารณ์ หม่อมหลวงผกาแก้ว บุญเลี้ยง นายสมภพ อมาตยกุล นายสุทธิพร ปทุมเทวาภิบาล นายอนุมงคล ศิริเวทิน หมายเหตุ: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้มีคำสั่งกระทรวงการคลัง ที่ 624/2553 ลงวันที่ 1 มิถุนายน 2553

7 คณะกรรมการประเมินผลงานรัฐวิสาหกิจ
คณะอนุกรรมการต่างๆ ในระบบประเมินผลฯ คณะอนุกรรมการจัดทำบันทึกข้อตกลง และประเมินผล การดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ (รายสาขา) Sub Pac แบ่งเป็น 9 สาขา คณะกรรมการประเมินผลงานรัฐวิสาหกิจ ภาพรวม Board Risk IC IA IS HR คณะอนุกรรมการพิจารณาประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ ด้านการบริหาร จัดการองค์กร คณะอนุกรรมการพิจารณาแนวทาง การแก้ปัญหาสำหรับรัฐวิสาหกิจ ที่ปิดบัญชีล่าช้า คณะอนุกรรมการดูแลการประเมินผลคุณภาพรัฐวิสาหกิจ คณะอนุกรรมการเพิ่มมูลค่ารัฐวิสาหกิจ

8 ภาพรวมระบบประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ
ประเทศ - ประชาชน โดย หน่วยงานกำกับ ยุทธศาสตร์/ทิศทางประเทศ ยุทธศาสตร์/ทิศทางรัฐวิสาหกิจ ผู้ถือหุ้น SOD ยุทธศาสตร์/ทิศทางของหน่วยงานกำกับ คาดหวังผลตอบแทน คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ คณะกรรมการบริษัท ชี้นำวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ - ยุทธศาสตร์ ผู้บริหาร วิเคราะห์ผลการประเมิน พัฒนาและปรับปรุงระบบประเมินผลฯ (ระบบประเมินคุณภาพ รส. (SEPA) โครงการ Mentor) นำ Management tools ใหม่มาใช้ (EVM) ผู้บริหาร แผนปฏิบัติ ใครทำ /ทำอะไร /เสร็จเมื่อไร Statement Of Direction: SOD แผนปฏิบัติ กลุ่ม/ประเภท เกณฑ์และน้ำหนักประเมินผล รัฐวิสาหกิจที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ผลการดำเนินงาน (EVM/Industry Norm) การบริหารจัดการองค์กร (Board, Risk, IT, IA/IC และ HR) คะแนน คะแนน รัฐวิสาหกิจที่ไม่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ การดำเนินงานตามนโยบาย (บริหารงบลงทุน, EVM, ปิดบัญชี, การฟื้นฟูกิจการ อื่นๆ) (ผลการดำเนินงานด้านการเงินและไม่ใช่การเงิน) 20 (+10) คะแนน 50 (+10) คะแนน ระดับ คะแนน ผลงาน 5 ดีมาก (ดำเนินการได้ดีกว่าแผนมาก) 4 ดีขึ้น (ดำเนินการได้ดีกว่าแผน) 3 ปกติ (ดำเนินการได้ตามแผน) 2 ต่ำ (ดำเนินการได้ต่ำกว่าแผน) 1 ต่ำมาก (ดำเนินการได้ต่ำกว่าแผนมาก) KPIs 3.2 Risk Management นโยบายรัฐบาล 3.1 บทบาท Board 3.3 Control & Audit 2.2 KPI (Non-Financial) 2.1 KPI (Financial 3.5 HR Management 3.4 ระบบสารสนเทศ ผลการประเมิน ระบบแรงจูงใจ ที่เชื่อมโยงกับผลงาน แรงจูงใจด้านการเงิน เช่น โบนัส แรงจูงใจที่ไม่ใช่การเงิน เช่น ผ่อนคลายกฎระเบียบ งานมอบรางวัล รส ดีเด่นประจำปี (ภาพรวม, Board, Management, CSR, Improvement)

9 แนวนโยบายของผู้ถือหุ้นภาครัฐ
ความหมายและวัตถุประสงค์ “แนวนโยบายผู้ถือหุ้นภาครัฐ” หรือที่เรียกว่า Statement of Directions : SOD หมายถึง ความคาดหวังของภาครัฐในฐานะผู้ถือหุ้นที่มีต่อรัฐวิสาหกิจภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ของประเทศ ยุทธศาสตร์กระทรวงเจ้าสังกัด วัตถุประสงค์การจัดตั้ง ภารกิจและบทบาทของรัฐวิสาหกิจในปัจจุบัน เพื่อให้ภาครัฐนำไปใช้เป็นแนวทางในการกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจในระยะสั้นถึงปานกลาง เพื่อให้รัฐวิสาหกิจมีความชัดเจนในทิศทางการดำเนินงาน สามารถใช้เป็นกรอบ/แนวทางในการกำหนดยุทธศาสตร์ขององค์กรให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐและยุทธศาสตร์ประเทศ และคณะกรรมการประเมินผลงานรัฐวิสาหกิจได้นำไปใช้ในการประเมินและติดตามผล การดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ SOD แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ภาพรวม รายสาขา และรายแห่ง

10 แนวนโยบายของผู้ถือหุ้นภาครัฐ (SOD)
สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง ภาพรวม: เป็นกลไกขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ บนพื้นฐานการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล รายสาขา: เป็นเครื่องมือของภาครัฐในการยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกร รายแห่ง: เร่งรัดปรับโครงสร้างองค์กรรองรับการควบรวมกิจการกับ อ.ส.ย. เพื่อการส่งเสริมและ สงเคราะห์เกษตรกรสวนยางอย่างเป็นระบบครบวงจร 1. ปรับโครงสร้างการดำเนินงานให้รองรับกับการควบรวมเพื่อเป็นการยางแห่งประเทศไทย 2. ปรับปรุงกระบวนงานให้มีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาบริการรูปแบบใหม่ให้มีนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการแก่เกษตรกรอย่างต่อเนื่อง

11 การกำหนดตัวชี้วัดการประเมินผลงาน
การกำหนดตัวชี้วัดการประเมินผลงาน (Key Performance Indicator: KPI) กระทรวงการคลังและผู้รับผิดชอบระบบประเมินผลฯ ประสานกับหน่วยงานภาครัฐที่มี หน้าที่กำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ (สศช. ก.เจ้าสังกัด และหน่วยงานกำกับอื่นๆ) เพื่อจัดทำ แนวนโยบายผู้ถือหุ้นภาครัฐ (Statement of Directions: SOD) ที่มีต่อรัฐวิสาหกิจ แต่ละแห่ง ตัวชี้วัด (KPIs) และเป้าหมาย (Targets) ของรัฐวิสาหกิจแต่ละแห่งถูกกำหนดให้ สอดคล้องและตอบสนองต่อ SOD ของภาครัฐ 1 2

12 เกณฑ์และน้ำหนักประเมินผล
เกณฑ์การกำหนดตัวชี้วัด (KPI) กลุ่ม/ประเภท เกณฑ์และน้ำหนักประเมินผล รัฐวิสาหกิจที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ผลการดำเนินงาน (EVM/Industry Norm) การบริหารจัดการองค์กร (Board, Risk, IA,IC, IS และ HR) คะแนน คะแนน รัฐวิสาหกิจที่ไม่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ การดำเนินงานตามนโยบาย (บริหารงบลงทุน, EVM, ปิดบัญชี, การฟื้นฟูกิจการ อื่นๆ) (ผลการดำเนินงานด้านการเงินและไม่ใช่การเงิน) (Board, Risk, IA,IC, IS และ HR) 20 (+10) คะแนน 45 (+10) คะแนน ระดับ คะแนน ผลงาน 5 ดีมาก (ดำเนินการได้ดีกว่าแผนมาก) 4 ดีขึ้น (ดำเนินการได้ดีกว่าแผน) 3 ปกติ (ดำเนินการได้ตามแผน) 2 ต่ำ (ดำเนินการได้ต่ำกว่าแผน) 1 ต่ำมาก (ดำเนินการได้ต่ำกว่าแผนมาก) 12

13 การประเมินผลด้านการบริหารจัดการองค์กร
หัวข้อ น้ำหนัก (ร้อยละ) 1. บทบาทของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ 6 2. การบริหารความเสี่ยง 7 3. การควบคุมภายใน 4 4. การตรวจสอบภายใน 5. การบริหารจัดการสารสนเทศ 6. การบริหารทรัพยากรบุคคล รวม 35

14 บทบาทของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ
วัตถุประสงค์  เพื่อส่งเสริมให้คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจมุ่งเน้นในเรื่องการกำกับ ดูแลที่ดี (Good Corporate Governance) และการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility)  เพื่อให้คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบให้ครบถ้วน และมีประสิทธิผล แนวทางการประเมิน ประยุกต์จากแนวทางการกำกับดูแลกิจการที่ดีของรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง  แนวทางการกำกับดูแลที่ดีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

15 การเปรียบเทียบเกณฑ์การประเมิน ปี 2553 และ 2554
100 รวม น้ำหนัก (%) 20 1.7 การส่งเสริมการดำเนินงานด้าน CG และ CSR 4 6 10 90 2553 2.2 การส่งเสริมความรู้ ความสามารถ 2.1 การประเมินตนเองของคณะกรรมการ 2. การพัฒนาตนเองของคณะกรรมการ 1.6 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 1.5 การบริหารจัดการประชุม คณะกรรมการ/อนุกรรมการ 1.4 การประเมินผลงานของผู้บริหารระดับสูงและผู้บริหารสูงสุด 1.3 การดูแลติดตามผลการดำเนินงาน 1.2 การติดตามและทบทวนความเพียงพอของระบบงานที่สำคัญ 1.1 การกำหนดให้มีแผน ทิศทาง กลยุทธ์ นโยบายและเป้าหมายที่สำคัญ บทบาทและการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ 2554 ประเด็นพิจารณา เกณฑ์ประเมิน เกณฑ์ การพิจารณา ประกอบ พิจารณาในกรณีที่มีเหตุการณ์สำคัญขององค์กร (Incident) ที่เกิดขึ้นในรอบปี และส่งผลกระทบในเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มาพิจารณาหักคะแนนเพิ่มเติม ( คะแนน)

16 แนวทางการพิจารณาหักคะแนนจากเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบเชิงลบ อย่างมีนัยสำคัญของ รส. ที่เกิดขึ้นในรอบปี
พิจารณาในกรณีที่มีเหตุการณ์สำคัญขององค์กร (Incident) ที่เกิดขึ้นในรอบปี และส่งผลกระทบในเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญต่อ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยอาจพิจารณาหักคะแนน คะแนน เหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญ/รุนแรง เช่น 1. การกำกับดูแลและความโปร่งใส (Good Governance) 2. การปฏิบัติงาน (Operation) การทุจริต หรือการประพฤติมิชอบ ที่ส่งผลกระทบในเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญต่อความน่าเชื่อถือ ความเชื่อมั่น ความไว้วางใจของ ลูกค้า ประชาชน ตลอดจนสังคมและสิ่งแวดล้อม เหตุการณ์ความผิดพลาดจากการปฏิบัติงาน เช่น ระบบงานสำคัญ (Risk, IC, IA, IS, HR) การปฏิบัติงานตามภารกิจ/ธุรกิจประจำวัน การผลิต การให้บริการ การปฏิบัติงานตามแผนงานสำคัญของ รส. เป็นต้น โดยความผิดพลาดนั้น ส่งผลกระทบเชิงลบต่อองค์กรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นอกองค์กรอย่างรุนแรงและมีนัยสำคัญ

17 แนวทางการประเมินผลฯ ปีบัญชี 2554
1. ศึกษา และวิเคราะห์แบบสอบถามและเอกสาร/หลักฐานอ้างอิงของ รส. 4. การสนทนา/อภิปราย กับ กรรมการ รส. 2. เข้าเยี่ยมชม (Visit) และสุ่มตรวจการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการผ่านกิจกรรม/สัมมนาของ รส. ประจำปี เพื่อสนทนา/อภิปราย ในประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้อง/ กระทบ รส. และ บทบาท การทำหน้าที่ของคณะกรรมการ รส. เพื่อ Confirm กรณีที่ รส มีการเปลี่ยนแปลงของผล การดำเนินงานทั้งเชิงบวกและเชิงลบที่มีนัยสำคัญ 3. สัมภาษณ์ผู้บริหาร/หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อยืนยันผลประเมิน

18 แนวทางการประเมินผลฯ ปีบัญชี 2554 (ต่อ)
แนวทางการสนทนา/อภิปรายกับคณะกรรมการ รส. เพื่อเป็นข้อมูล ประกอบการพิจารณาประเมินผลฯ ปีบัญชี 2554 สรุปได้ดังนี้ 1. รส. นำเสนอวันนัดสนทนา/อภิปรายของกรรมการ รส. ภายในระยะเวลา รัฐวิสาหกิจ ระยะเวลาการเข้า สนทนา/อภิปรายกับกรรมการ รส. รัฐวิสาหกิจ ปีงบประมาณ วันที่ 21 พ.ย. 54 – 15 ธ.ค. 54 รัฐวิสาหกิจ ปีปฏิทิน วันที่ 21 ก.พ. 55 – 15 มี.ค. 55 รัฐวิสาหกิจ ปีพิเศษ สิ้นสุด 31 มี.ค. วันที่ 1 พ.ค. 55 – 15 พ.ค. 55

19 สรุปผลการประเมิน “บทบาทของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ”
ประจำปี 2553 ผลประเมินบทบาทของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร ประจำปี 2553 ผลประเมินบทบาทของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ ของ สกย. ประจำปี ระดับคะแนน ระดับคะแนน

20 สรุปผลการประเมิน “บทบาทของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ” ประจำปี 2553 
เกณฑ์การประเมิน ปี 2552 ปี 2553 ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปีก่อน  เพิ่มขึ้น ,  ลดลง ,  ไม่เปลี่ยนแปลง I. บทบาทและการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ ข้อ 1.1 การกำหนดแผนงาน  คณะกรรมการ สกย. มีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทาง กลยุทธ์ และนโยบายมากกว่า ปีก่อน แต่ยังขาดรายละเอียดของการจัดทำแผนที่ครบถ้วนในบางส่วน ข้อ 1.2 การทบทวนระบบงาน  คณะกรรมการ สกย. มีส่วนร่วมในการทบทวนระบบงานด้าน HR และ IA ที่เร็วกว่าปีก่อน แต่ยังขาดการทบทวนในระบบ Risk IC และ IS ข้อ 1.3 การติดตามผลการดำเนินงาน  คณะกรรมการ สกย. มีการติดตามผลการดำเนินงานอย่างสม่ำเสมอ แต่ยังขาดการมอบข้อสังเกตและแนวทางในการแก้ไขปัญหา ข้อ 1.4 การประเมินผู้บริหาร  คณะกรรมการ สกย. มีการประเมินผู้บริหารสูงสุดอย่างเป็นรูปธรรม ข้อ 1.5 การบริหารการประชุม  คณะกรรมการ สกย. มีส่วนร่วมในการประชุมและดำเนินการตามวาระประชุมที่ได้แจ้งไว้ล่วงหน้าครบถ้วนค่อนข้างมาก เช่นเดียวกับปีบัญชี 2552 ข้อ 1.6 การเปิดเผยข้อมูล  มีการเปิดเผยข้อมูลผ่านหน้า Website ลดลงกว่าปีก่อน ข้อ 1.7 การส่งเสริมให้องค์กร มี CG และ CSR  คณะกรรมการ สกย. มีบทบาทในการติดตามการดำเนินงานด้าน CG และ CSR ค่อนข้างน้อย ควรจัดให้มีคณะอนุกรรมการและหน่วยงานด้าน CG รวมถึงการนำเสนอผลการดำเนินงานด้าน CG และ CSR ให้คณะกรรมการพิจารณาอย่างสม่ำเสมอทั้งปี II. การพัฒนาตนเองของคณะกรรมการ ข้อ 2.1 การประเมินตนเอง  คณะกรรมการ สกย. มีการประเมินตนเองเช่นเดียวกับปีก่อน ข้อ 2.2 การจัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้  สกย. ไม่มีกรรมการชุดใหม่ในปี 2553 แต่มีการจัดให้มีกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความรู้ความสามารถของคณะกรรมการมากขึ้นกว่าปีก่อน คะแนนรวม 2.3048 2.4916  หัวข้อที่มีคะแนน < 3.00 คะแนน  หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่ 3.00 คะแนน แต่น้อยกว่า 4.00 คะแนน  หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่ 4.00 คะแนน

21 ส่วนที่ 2 : คะแนนถ่วงน้ำหนัก Linkage between risk and policy
การบริหารความเสี่ยง ระดับ 1 - 3 เกณฑ์เพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนระบบการบริหารความเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ระดับ 4 - 5 ส่วนที่ 2 : คะแนนถ่วงน้ำหนัก Linkage between risk and policy Revise Culture Value Enhancement Incentive Risk Result Value Creation IT&ITG Portfolio View of Risk GRC ผ่านการประเมิน ระดับที่3 การบริหารความเสี่ยงที่ดีตามองค์ประกอบหลักของ COSO ERM และ เกณฑ์การพิจารณาอื่น ที่มีความสำคัญ ส่วนที่ 1 : ระดับ

22 การวัดระดับการบริหารความเสี่ยง
ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 - 5 การบริหารความเสี่ยง น้อยมาก : บริหารเชิงรับเป็นส่วนใหญ่ ไม่มีคณะทำงานเพื่อจัดการความเสี่ยงในรูปแบบบูรณาการ มีองค์ประกอบในการบริหารความเสี่ยงไม่ครบถ้วน ไม่มีคู่มือการบริหารความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง เบื้องต้นที่มีระบบ: มีการบริหารเป็นกลยุทธ์ระยะสั้น (15%) มีคณะทำงาน/กอง/งาน/ฝ่ายเพื่อจัดการความเสี่ยงในรูปแบบบูรณาการ (10%) มีองค์ประกอบในการบริหารความเสี่ยงที่ดีครบถ้วน โดยมีการวิเคราะห์ระดับความรุนแรง (I/L) ที่ชัดเจนเป็นระบบ (55%) มีคู่มือการบริหารความเสี่ยงตามเกณฑ์ และเผยแพร่ให้พนักงานทุกระดับ (20%) การบริหารความเสี่ยง ในเชิงบูรณาการ: มีการดำเนินงานครบถ้วนในระดับที่ 2 มีการบริหารความเสี่ยงที่เป็นกลยุทธ์หรือการดำเนินงานที่ต่อเนื่องทั้งองค์กร(20%) มีคณะทำงาน/กอง/งาน/ฝ่ายเพื่อจัดการความเสี่ยง มีแผนงานที่ชัดเจน รวมถึงสามารถบรรลุเป้าหมายในแผนงานได้ครบถ้วน (20%) มีการกำหนดเกณฑ์ระดับความรุนแรงแยกรายปัจจัยเสี่ยง กำหนดเป้าหมายในเชิงระดับความรุนแรงที่คาดหวัง และสามารถรายงานระดับความรุนแรงของแต่ละปัจจัยเสี่ยงรายไตรมาส (20%) มีการกำหนด Risk Appetite และ Risk Tolerance ทุกปัจจัยเสี่ยง (20%) มีการบริหารความเสี่ยงแบบบูรณาการ (20%) มีการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดี มีกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงที่เชื่อมโยงกับการกำหนดนโยบาย/กลยุทธ์/การวางแผน/ การลงทุน มีการทบทวนและปรับปรุงการบริหารความเสี่ยงสม่ำเสมอ จัดให้มีบรรยากาศและวัฒนธรรมที่สนับสนุนการบริหารความเสี่ยง มีการสนับสนุนการบริหารฯเพื่อเพิ่มมูลค่า กระบวนการบริหารความเสี่ยงเป็นกิจกรรมประจำวันของทุกหน่วยงานและสัมพันธ์กับค่าตอบแทน การบริหารความเสี่ยงเป็นการสนับสนุนการบริหารเพื่อสร้างสรรค์มูลค่าให้กับองค์กร (Value Creation) ผลการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจริง Portfolio View of Risk Integrated Governance, Risk and Compliance

23 สรุปผลการประเมิน “การบริหารความเสี่ยง”
ประจำปี 2553 ผลประเมินการบริหารความเสี่ยง ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร ประจำปี 2553 ผลประเมินการบริหารความเสี่ยง ของ สกย. ประจำปี ระดับคะแนน ระดับคะแนน

24 สรุปผลการประเมิน “การบริหารความเสี่ยง” ประจำปี 2553 ?
เกณฑ์การประเมิน ปี 2552 ปี 2553 ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปีก่อน  เพิ่มขึ้น ,  ลดลง ,  ไม่เปลี่ยนแปลง ระดับที่ 1 การบริหารความเสี่ยงน้อยมาก มีแนวทางในการบริหารความเสี่ยง ในระดับเบื้องต้น  สกย. มีการจัดทำและปรับปรุงคู่มือการบริหารความเสี่ยง สกย. มีองค์ประกอบหลักในการบริหารความเสี่ยงครบถ้วน สกย. มีการกำหนดผู้รับผิดชอบเพื่อจัดการความเสี่ยงในระดับองค์กร ระดับที่ 2 การบริหารความเสี่ยงเบื้องต้นที่มีระบบ มีแนวทางในการบริหารความเสี่ยง ในระดับเบื้องต้นอย่างมีระบบ สกย. มีการจัดทำแผนการบริหารความเสี่ยงที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการประจำปี  สกย. มีการติดตามผลการบริหารความเสี่ยง (check and balance)  สกย. มีการจัดทำ ปรับปรุง และเผยแพร่คู่มือการบริหารความเสี่ยงผ่าน Website ขาดการนำฐานข้อมูลในอดีตมาใช้ในการกำหนดโอกาสและผลกระทบ เพื่อกำหนดปัจจัยเสี่ยงให้มีความครบถ้วน ขาดการกำหนดระดับความรุนแรงที่องค์กรยอมรับได้ในแต่ละปัจจัยเสี่ยง ให้มีความครบถ้วน ระดับที่ 3 การบริหารความเสี่ยงในเชิงบูรณาการ มีแนวทางในการบริหารความเสี่ยง ในอย่างมีระบบในเชิงบูรณาการ ? มีการระบุแผนงานและเป้าหมายของการดำเนินงานตามแผนอย่างชัดเจน มีการกำหนดเกณฑ์ ระดับความรุนแรงแยกรายปัจจัยเสี่ยง มีการรายงานผลการดำเนินการตามแผนอย่างน้อยเป็นรายไตรมาส มีการกำหนด Risk Appetite Risk Tolerance ทุกปัจจัยเสี่ยง มีการพิจารณาความสัมพันธ์ของความเสี่ยงใน Risk Map คะแนนรวม 1.3000 1.4000 (หักคะแนนเชิงคุณภาพ 0.5 คะแนน)  หัวข้อที่มีคะแนน < 3.00 คะแนน  หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่ 3.00 คะแนน แต่น้อยกว่า 4.00 คะแนน  หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่ 4.00 คะแนน

25 การควบคุมภายใน ประเด็นที่ปรับปรุง :
เกณฑ์การประเมิน 1.1 สภาพแวดล้อมของ การควบคุม (34%) 1.3 กิจกรรมการ ควบคุม (42%) 1.5 การติดตาม ประเมินผล (24%) ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ไม่มีการเปลี่ยนแปลง มีการเปลี่ยนแปลง ประเด็นที่ปรับปรุง : ปรับลดน้ำหนักการจัดทำรายงานต่างๆ ตามระเบียบ คตง. และจัดส่งให้ สตง. ทันตามกำหนด จาก ร้อยละ 3 เหลือร้อยละ 1 เนื่องจาก รายงานที่จัดส่งให้ สตง. มีจำนวนลดลง และรัฐวิสาหกิจสามารถดำเนินการได้ทุกแห่ง (ยกเว้น องค์การสวนยาง) ปรับเพิ่มน้ำหนักการติดตาม และการประเมินผลการควบคุมภายใน รวมถึง การพิจารณาผลจาก การติดตามฯ จากร้อยละ 6 เป็นร้อยละ 8 เพื่อผลักดันให้รัฐวิสาหกิจมีความตระหนักถึงความสำคัญของการติดตามและประเมินผลการควบคุมภายใน 25

26 สรุปผลการประเมิน “การควบคุมภายใน”
ประจำปี 2553 ผลประเมินการควบคุมภายใน ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร ประจำปี 2553 ผลประเมินการควบคุมภายใน ของ สกย. ประจำปี ระดับคะแนน ระดับคะแนน

27 สรุปผลการประเมิน “การควบคุมภายใน” ประจำปี 2553
เกณฑ์การประเมิน ปี 2552 ปี 2553 ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปีก่อน  เพิ่มขึ้น ,  ลดลง ,  ไม่เปลี่ยนแปลง 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม  สกย. ไม่มีหน่วยงานที่รับผิดชอบเรื่องร้องเรียนโดยตรง ทำให้ไม่มีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อร้องเรียน ในภาพรวม การแบ่งแยกหน้าที่งานของ สกย. ยังไม่ครบถ้วนทุกระบบงานที่สำคัญ การสื่อสารทั้ง 3 ช่องทางของ สกย. ยังไม่ครอบคลุมทั้งองค์กร มีเพียงแค่หน่วยงานที่รับผิดชอบเท่านั้น ระบบการติดตามงานระหว่างผู้บริหารระดับสูงและระดับปฏิบัติการของ สกย. ยังไม่ทันกาล ทำให้เกิด การผิดพลาดในการบันทึกข้อมูลบางส่วน ในการประชุมระดับฝ่าย/สำนักของ สกย. ควรมีการมอบข้อสังเกต ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อระบบ การควบคุมภายใน และมีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ควรจัดให้มีการประชุมระหว่างผู้บริหารระดับรอง คณะกรรมการตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบภายใน และ ผู้ตรวจสอบภายนอก 2. การประเมินความเสี่ยง - ประเมินในหัวข้อการบริหารความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม  สกย. ไม่มีการสอบทานเรื่องกรณีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ สกย. มีการควบคุมเฉพาะระบบงานไม่ครบทุกระบบงานที่จำเป็น และการใช้ประโยชน์ของระบบ ยังไม่ชัดเจน รวมทั้งยังมีข้อมูลผิดพลาดในการบันทึกข้อมูล 4. สารสนเทศและการสื่อสาร ประเมินในหัวข้อการบริหารสารสนเทศ 5. การติดตามประเมินผล  สกย. มีการติดตามและรายงานผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะที่ได้จากการประเมินการควบคุมตนเองในปีที่ผ่านมา และมีความสำเร็จในการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะที่ได้จากการประเมินการควบคุมด้วยตนเองในปีที่ผ่านมา ร้อยละ 90 คะแนนรวม 2.7600 2.9150  หัวข้อที่มีคะแนน < 3.00 คะแนน  หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่ 3.00 คะแนน แต่น้อยกว่า 4.00 คะแนน  หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่ 4.00 คะแนน

28 การตรวจสอบภายใน เกณฑ์การประเมินการตรวจสอบภายใน น้ำหนัก (ร้อยละ)
ปี 2553 ปี 2554 แนวทางปฏิบัติด้านองค์กร 40.00 1 บทบาทและความรับผิดชอบของหน่วยตรวจสอบภายใน 8.00 2 ความเป็นอิสระ 3 ความสัมพันธ์ของคณะกรรมการตรวจสอบกับหน่วยตรวจสอบภายใน ฝ่ายบริหารและผู้สอบบัญชี 4 ความสัมพันธ์ของหน่วยตรวจสอบภายในกับฝ่ายบริหาร ผู้สอบบัญชี และองค์กรกำกับดูแลอื่น 5 บุคลากร การพัฒนา และการฝึกอบรม แนวทางปฏิบัติด้านปฏิบัติงาน 60.00 6 การวางแผนการตรวจสอบเชิงกลยุทธ์ระยะยาว 12.00 10.00 7 การวางแผนในรายละเอียดและการปฏิบัติงานตรวจสอบ 14.00 8 การรายงานและการปิดการตรวจสอบ 9 ความมั่นใจในคุณภาพ 9.00 10 การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวังรอบคอบเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพพึงปฏิบัติ 15.00 น้ำหนักรวม 100

29 หลักเกณฑ์การประเมินการตรวจสอบภายใน ปีบัญชี 2554
แนวทางปฏิบัติ ด้านองค์กร (40%) บทบาทและ ความรับผิดชอบ (8%) คสพ.ของ A/C กับหน่วยตรวจสอบภายใน ฝ่ายบริหารและผู้สอบบัญชี (8%) คสพ.ของหน่วยตรวจสอบภายในกับผู้บริหาร และผู้สอบบัญชี (8%) ความเป็นอิสระ (8%) บุคลากร การพัฒนาและ การฝึกอบรม (8%) การวางแผนในรายละเอียดและการปฏิบัติงานตรวจสอบ (14%) การรายงาน และการปิดการตรวจสอบ (12%) การวางแผน เชิงกลยุทธ์ (10%) ความมั่นใจในคุณภาพ (9%) แนวทางปฏิบัติ ด้านการ ปฏิบัติงาน (60%) การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวังรอบคอบเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพพึงปฏิบัติ (15%)

30 สรุปผลการประเมิน “การตรวจสอบภายใน”
ประจำปี 2553 ผลประเมินการตรวจสอบภายใน ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร ประจำปี 2553 ผลประเมินการตรวจสอบภายใน ของ สกย. ประจำปี ระดับคะแนน ระดับคะแนน

31 สรุปผลการประเมิน “การตรวจสอบภายใน” ประจำปี 2553
เกณฑ์การประเมิน ปี 2552 ปี 2553 ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปีก่อน  เพิ่มขึ้น ,  ลดลง ,  ไม่เปลี่ยนแปลง 1. บทบาทและความรับผิดชอบของหน่วยตรวจสอบ - สกย. ไม่มีการสอบทานเกี่ยวกับจรรยาบรรณ และการบริหารความเสี่ยงขององค์กร รวมทั้งการสอบทานและประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของการควบคุมภายในในการช่วยป้องกันการทุจริต - ไม่ได้มุ่งเน้นตรวจสอบในประเด็นที่มีความเสี่ยงที่สำคัญที่มีผลกระทบต่อวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์อย่างชัดเจน 2. ความเป็นอิสระ  - ไม่มีการระบุถึงการเปิดเผยความขัดแย้งทางผลประโยชน์กรณีที่บุคคลภายนอกเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบภายใน 3. ความสัมพันธ์คณะกรรมการตรวจสอบกับหน่วยตรวจสอบภายใน ฝ่ายบริหารและผู้สอบบัญชี - คณะกรรมการตรวจสอบ ไม่ได้สอบทานแผนระยะยาว โดยแผนการตรวจสอบไม่มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และความเสี่ยงของรัฐวิสาหกิจ - คณะกรรมการตรวจสอบไม่มีการประชุมหารือกับฝ่ายบริหารเกี่ยวกับความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการกำกับดูแลอย่างเป็นทางการ - ในการประชุมร่วมกับ สตง. ไม่มีการหารือเกี่ยวกับขอบเขต และแนวทางการสอบบัญชี 4. ความสัมพันธ์กับฝ่ายบริหาร ผู้สอบบัญชี และองค์กรกำกับดูแลอื่น - ฝ่ายบริหารควรเข้าไปขอคำแนะนำจากสำนักตรวจสอบมากขึ้น 5. บุคลากร การพัฒนา และการฝึกอบรม - เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายในของ สกย. ยังขาดความรู้และทักษะในวิชาชีพบางด้าน เช่น การตรวจสอบระบบคอมพิวเตอร์ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ รวมทั้งขาดผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านในทักษะอื่นที่จำเป้นต่อองค์กร เช่น การสงเคราะห์สวนยาง - แผนการฝึกอบรมประจำปี 2553 ไม่ได้จัดตาม competency และเจ้าหน้าที่ได้รับการอบรมอย่างไม่ทัวถึง 6. การวางแผนการตรวจสอบเชิงกลยุทธ์ - ในปี 2553 ไม่มีการทบทวนแผนการตรวจสอบเชิงกลยุทธ์ และขาดความเห็นในการจัดทำแผนฯ จากผู้บริหาร 7. การวางแผนในรายละเอียดและการปฏิบัติงานตรวจสอบ - การจัดทำแผนการตรวจสอบในรายละเอียดของกิจกรรมหลัก และกิจกรรมที่เป็นงานสนับสนุนยังไม่ครบทุกกิจกรรม - การจัดทำแนวทางการตรวจสอบในการปฏิบัติงานด้านการหาและบันทึกข้อมูลเอกสารหลักฐานต่างๆ ไม่ครบทุกครั้งและไม่ได้จัดทำขึ้นตามความเสี่ยง 8. การรายงานและการปิดการตรวจสอบ - จัดให้มีการประชุมปิดการตรวจสอบร่วมกับผู้บริหารหน่วยรับตรวจอย่างเป็นทางการไม่ครบทุกเรื่อง - รายงานผลการตรวจสอบมีรายละเอียดไม่ครบถ้วน และระยะเวลาในการนำเสนอรายงานผลการตรวจสอบฉบับสมบูรณ์ต่อผู้บริหารมีความล่าช้า 9. ความมั่นใจในคุณภาพ - การสอบทานคุณภาพของงานตรวจสอบภายในยังไม่ครบทุกงาน เช่น บางแนวทางวการตรวจสอบไม่ได้รับการสอบทานและอนุมัติ 10. การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวังรอบคอบ - ไม่มีกระบวนการเปิดเผยการกระทำผิดหรือละเลยที่ก่อให้เกิดข้อผิดพลาด ความไม่มีประสิทธิภ่าพ ประสิทธิผล การสูญเสีย หรือทำให้เกิดความล้มเหลวในการปฏิบัติตามนโยบาย - รายละเอียดของรายงานไม่ครบถ้วนตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ และสรุปไม่ตรงประเด็นตามวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบที่กำหนดไว้ และไม่สามารถเชื่อมโยงกระดาษทำการกับแนวทางการตรวจสอบได้อย่างครบถ้วน และการจัดเก็บรวบรวมเอกสารหลักฐานยังไม่ครบถ้วน คะแนนรวม 2.7567 2.8667  หัวข้อที่มีคะแนน < 3.00 คะแนน  หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่ 3.00 คะแนน แต่น้อยกว่า 4.00 คะแนน  หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่ 4.00 คะแนน

32 การบริหารจัดการสารสนเทศ
วิธีการประเมิน ในการประเมินการบริหารการจัดการสารสนเทศประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก ส่วนที่ 1 : การประเมินแผนแม่บทสารสนเทศ (IT Master Plan) (น้ำหนักร้อยละ 10) ส่วนที่ 2 : การประเมินการบริหารจัดการสารสนเทศ (น้ำหนัก ร้อยละ 90) โดยมีการวิเคราะห์หรือแผนงานที่เกี่ยวข้องกับ 2.1 ถึง 2.6 ดังนี้ 2.1 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการบริหารจัดการของรัฐวิสาหกิจ 2.2 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการบริหารความเสี่ยง 2.3 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการควบคุมและการตรวจสอบภายใน 2.4 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคล 2.5 ระบบสารสนเทศที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียภายนอกองค์กร และประชาชน รวมถึงนโยบายต่างๆ ของรัฐบาล 2.6 ระบบสารสนเทศที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียภายในองค์กร

33 คะแนนการบริหารจัดการสารสนเทศ
การประเมินการบริหารจัดการสารสนเทศ น้ำหนัก ร้อยละ 10 น้ำหนัก ร้อยละ 90 A ส่วนที่ 2 : การประเมินความเพียงพอของระบบ หรือแผนงาน / โครงการ / กิจกรรม โดยมีการวิเคราะห์โครงการ หรือแผนงานที่เกี่ยวข้องกับ 2.1 ถึง 2.6 ตัวคูณ (Multiplier) : คำนวณจากระดับคะแนนที่ได้ของส่วนที่ 1 (การประเมินแผนแม่บท) โดยมีค่าระหว่าง 0.2 ถึง 1 เพื่อสะท้อนตามคุณภาพของแผนแม่บทฯ ส่วนที่ 1 : การประเมินแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ คะแนนการบริหารจัดการสารสนเทศเบื้องต้น ถ้าผล IS ปี 54 < 3.00 ถ้าผล IS ปี 54 >= 3.00 B พิจารณา Improvement คะแนนการบริหารจัดการสารสนเทศ C การส่งข้อมูลผ่านระบบ GFMIS-SOE

34 วิธีการประเมิน คะแนนของการบริหารจัดการสารสนเทศ
คะแนนเบื้องต้นจากการประเมินของส่วนที่ 2 จะนำมาคูณกับตัวคูณ(Multiplier) โดยการกำหนดตัวคูณมีหลักเกณฑ์ดังนี้ A รส. ที่ประเมินการบริหารจัดการฯ ตั้งแต่ ระดับคะแนนของส่วนที่ 1 1 2 3 4 4.5 ปี 47-52 ตัวคูณ (Multiplier) 0.2 0.5 0.7 0.9 1.0 หมายเหตุ: หากไม่มีการทบทวนแผนแม่บท จะถูกหักคะแนนร้อยละ 20 จากคะแนนประเมินสุดท้าย ปี 53 0.6 0.8 ปี 54 * ในกรณีที่ไม่มีแผนแม่บทสารสนเทศ (IT Master Plan) หรือ กรอบระยะเวลาในการดำเนินงานของแผนแม่บทหรือแผนปฏิบัติการไม่ชัดเจน >> จะได้คะแนนการบริหารจัดการสารสนเทศ เป็น “ระดับ 1” <<

35 ประเด็นการพิจารณาเรื่องการปรับปรุงผลงาน (Improvement)
B สำหรับ รส. ที่มีผลคะแนนปี 2553 < 3.00 จะพิจารณาเรื่อง Improvement โดยแบ่งเป็น 3 กรณี ผลคะแนนปี 2554 ลดลง จะถูกปรับคะแนนให้ลดลงร้อยละ 10 ผลคะแนนปี 2554 เพิ่มขึ้น แต่ < จะถูกปรับคะแนนให้ลดลงร้อยละ 5 ผลคะแนนปี 2554 เพิ่มขึ้น และ >= จะไม่ถูกปรับคะแนนให้ลดลง กรณี 1 2 3 ผลคะแนนเบื้องต้นปี 2553 2.8000 ผลคะแนนเบื้องต้นปี 2554 2.7335 2.9900 3.4175 การปรับปรุงผลงาน ไม่มี Improvement มี Improvement แต่ต่ำกว่าระดับ 3.00 มี Improvement และมากกว่าหรือเท่ากับระดับ 3.00 ตัวคูณ (Multiplier) 0.90 0.95 1.00 ผลประเมินก่อนหักคะแนน การส่งข้อมูลเข้าระบบ GFMIS-SOE 2.4602 2.8405

36 สรุปผลการประเมิน “การบริหารจัดการสารสนเทศ”
ประจำปี 2553 ผลประเมินการบริหารจัดการสารสนเทศ ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร ประจำปี 2553 ผลประเมินการบริหารจัดการสารสนเทศ ของ สกย. ประจำปี ระดับคะแนน ระดับคะแนน

37 สรุปผลการประเมิน “การบริหารจัดการสารสนเทศ” ประจำปี 2553  
เกณฑ์การประเมิน ปี 2552 ปี 2553 ข้อสังเกตจากการประเมิน  เพิ่มขึ้น ,  ลดลง ,  ไม่เปลี่ยนแปลง I. แผนแม่บทสารสนเทศ แผนแม่บทสารสนเทศ ควรมีการจัดเรียงกลุ่มลำดับความสำคัญของโครงการ /แผนงาน ซึ่งสามารถระบุได้ว่า จะดำเนินการเรื่องใดก่อน-หลัง รวมถึงในกรณีที่มีข้อจำกัดทางทรัพยากร เช่น มีงบประมาณที่จำกัด การจัดกลุ่มดังกล่าวสามารถคัดเลือกโครงการที่จะดำเนินการก่อนได้ ควรมีการพัฒนาค่าเป้าหมายให้อยู่ในรูปแบบเชิงปริมาณทุกเป้าหมาย เพื่อจะได้สามารถวัดผลได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น II.การบริหารจัดการสารสนเทศ 2.1 IS ที่สนับสนุนการบริหารจัดการรัฐวิสาหกิจ  ควรพัฒนาระบบ MIS และระบบ EIS เพิ่มเติม เพื่อให้สามารถรองรับและสนับสนุนการดำเนินงานขององค์กร รวมถึงเป็นเครื่องมือช่วยในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารได้ดียิ่งขึ้น 2.2 IS ที่สนับสนุนการบริหารความเสี่ยง ควรมีระบบฐานข้อมูลความเสี่ยงเพื่อช่วยวิเคราะห์ระดับความรุนแรงและโอกาสที่อาจจะเกิดในแต่ละความเสี่ยงเพื่อการบริหารความเสี่ยงขององค์กรได้ นอกจากนี้ สกย. ควรพัฒนาระบบ Early Warning ที่ช่วยแจ้งให้ทราบล่วงหน้าถึงเหตุการณ์หรือความเสี่ยงที่สำคัญ อันจะมีผลกระทบต่อการดำเนินงานในระดับองค์กร 2.3 IS ที่สนับสนุนการควบคุมและตรวจสอบภายใน  ควรดำเนินงานเกี่ยวกับ Computer Audit ภายในองค์กรให้ครบในประเด็นที่สำคัญ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 2.4 IS ที่สนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคล การอบรมความรู้ด้าน ICT ให้บุคลากรในตำแหน่งอื่นๆ ควรมีการประเมินผลภายหลังการฝึกอบรมให้ครบทุกหลักสูตร นอกจากนั้น ควรมีการประเมินผลภายหลังจากการนำไปใช้ปฏิบัติงานระยะหนึ่งว่าความรู้ที่ได้รับสามารถนำ ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อองค์กรได้อย่างไรให้ครอบคลุมทุกหลักสูตรที่อบรมเช่นกัน  หัวข้อที่มีคะแนน < 3.00 คะแนน  หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่ 3.00 คะแนน แต่น้อยกว่า 4.00 คะแนน  หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่ 4.00 คะแนน

38 สรุปผลการประเมิน “การบริหารจัดการสารสนเทศ” ประจำปี 2553 
เกณฑ์การประเมิน ปี 2552 ปี 2553 ข้อสังเกตจากการประเมิน  เพิ่มขึ้น ,  ลดลง ,  ไม่เปลี่ยนแปลง II.การบริหารจัดการสารสนเทศ 2.5 IS ที่ตอบสนองต่อความต้องการผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกองค์กร และประชาชน รวมถึงนโยบายต่างๆ ของรัฐบาล ควรมีการพัฒนาในระบบอื่นๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าให้มากขึ้น อีกทั้งควรมีการประเมินผลลัพธ์ของการนำระบบสารสนเทศที่มีในปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุง/พัฒนาระบบต่อไป ควรมีการศึกษาและปรับปรุงระบบสารสนเทศขององค์กรให้สามารถ Share ข้อมูลกับหน่วยงานภายนอกอื่นที่จำเป็นได้โดยตรงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ข้อมูลร่วมกัน 2.6 IS ที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียภายในองค์กร ควรมีการประเมินผลการลดต้นทุนเป็นมูลค่าที่ชัดเจน สำหรับการนำระบบสารสนเทศมาใช้เพื่อลดต้นทุนการผลิตหรือต้นทุนการให้บริการ หรือเพิ่มความคุ้มค่าในการดำเนินงาน คะแนนรวม 2.2565 2.6668  หัวข้อที่มีคะแนน < 3.00 คะแนน  หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่ 3.00 คะแนน แต่น้อยกว่า 4.00 คะแนน  หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่ 4.00 คะแนน

39 1. นโยบายและกลยุทธ์ด้าน HR (20%) 2.2 ระบบพัฒนาทรัพยากรบุคคล (10%)
การบริหารทรัพยากรบุคคล 1. นโยบายและกลยุทธ์ด้าน HR (20%) 2.1 ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล (30%) การสรรหาและ การจัดการอัตรากำลัง [10%] การบริหารผลตอบแทนและสิทธิประโยชน์ [10%] การวัดและประเมินผล การดำเนินงาน [10%] 2.2 ระบบพัฒนาทรัพยากรบุคคล (10%) ช่องทาง การสื่อสารและแรงงานสัมพันธ์ [8%] 3. โครงสร้างพื้นฐานฯ (40%) หลักปฏิบัติและกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง [8%] ระบบสารสนเทศ ด้าน HR [8%] ความปลอดภัย สุขอนามัย และสภาพแวดล้อม [6%] การเพิ่มศักยภาพด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล [10%] ตามมติคณะอนุกรรมการฯ เมื่อ 3 กันยายน 2553 สรุปได้ว่า ไม่มีการปรับ เพิ่ม/ลด เกณฑ์การประเมินผลฯ สำหรับเกณฑ์การประเมินผลฯ ประจำปีบัญชี 2554

40 สรุปผลการประเมิน “การบริหารทรัพยากรบุคคล”
ประจำปี 2553 ผลประเมินการบริหารทรัพยากรบุคคล ของรัฐวิสาหกิจสาขาเกษตร ประจำปี 2553 ผลประเมินการบริหารทรัพยากรบุคคล ของ สกย. ประจำปี ระดับคะแนน ระดับคะแนน

41 สรุปผลการประเมิน “การบริหารทรัพยากรบุคคล” ประจำปี 2553 
เกณฑ์การประเมิน ปี 2552 ปี 2553 ข้อสังเกตจากการประเมิน  เพิ่มขึ้น ,  ลดลง ,  ไม่เปลี่ยนแปลง I. การมีนโยบายและกลยุทธ์ด้านการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล 1.1 นโยบายและกลยุทธ์ด้านการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล  ความครบถ้วนของกลยุทธ์ด้านทรัพยากรบุคคล ควรกำหนดเพิ่มเติมสำหรับกลยุทธ์ผลผลิตประสิทธิภาพ (Productivity) และกลยุทธ์ความก้าวหน้าในสายอาชีพ ตลอดจน การนำกลยุทธ์และนโยบายไปปฏิบัติควรดำเนินการให้ครบถ้วนตามที่กำหนดไว้ในแผนแม่บท HR II. การมีระบบในการบริหารทรัพยากรบุคคล และระบบในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล 2.1 ระบบในการบริหารทรัพยากรบุคคล สำหรับการบริหารอัตรากำลัง ควรมีการวิเคราะห์ความต้องการอัตรากำลังทั้งองค์กรให้สอดคล้องกับแนวนโยบายและความต้องการขององค์กร และการดำเนินธุรกิจ (ปัจจุบันและอนาคต) รวมถึงการทบทวนกระบวนการทำงาน เวลาทำงาน และการวิเคราะห์ผลิตภาพ (Productivity) ควรมีการเชือมโยงระหว่างผลการประเมินของพนักงาน และการปรับเพิ่มเงินเดือนของพนักงาน การเลื่อนตำแหน่ง และการให้ผลตอบแทนจูงใจของพนักงานที่ชัดเจน โดยนำผลการประเมินรายบุคคล (KPI รายบุคคล) มาใช้ในการวิเคราะห์ เช่น การนำผลการดำเนินงานมาเปรียบเทียบกับเป้าหมายเพือการปรับปรุงงาน 2.2 ระบบในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ควรมีการวิเคราะห์เพิ่มเติมสำหรับสมรรถนะประจำตำแหน่ง (Functional Competency) การจัดทำแผนสืบทอดตำแหน่งเพิ่มเติม นอกจากนีควรมีการทบทวนแผนแม่บทพัฒนาทรัพยากรบุคคล ปี ให้สอดรับกับสมรรถนะหลักและสมรรถนะประจำตำแหน่งให้มากขี้น ควรจัดทำแบบแผนการฝึกอบรมรายตำแหน่ง (Training Roadmap) โดยคำนึงถึงความสอดคล้องกับลักษณะความสามารถหลักของตำแหน่งต่างๆ III. การมีโครงสร้างพืน: ฐานสนับสนุนระบบบริหารทรัพยากรบุคคล 3.1 ช่องทางการสื่อสารและแรงงานสัมพันธ์ ควรนำผลการประเมินทัศนคติ และความพึงพอใจของพนักงานมาใช้ในการกำหนดแนวทางการพัฒนาความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานให้ชัดเจนมากขึ้น 3.2 หลักปฏิบัติและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การพัฒนามาตรฐานจรรยาบรรณขององค์กรเป็นไป อย่างต่อเนื่อง และก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของพนักงานในทุกระดับอย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องของเปิดเผยความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ควรส่งเสริมให้มีการสื5อสารสองทาง (Two way communication) ให้มากขึน  หัวข้อที่มีคะแนน < 3.00 คะแนน  หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่ 3.00 คะแนน แต่น้อยกว่า 4.00 คะแนน  หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่ 4.00 คะแนน

42 สรุปผลการประเมิน “การบริหารทรัพยากรบุคคล” ประจำปี 2553
เกณฑ์การประเมิน ปี 2552 ปี 2553 ข้อสังเกตจากการประเมิน  เพิ่มขึ้น ,  ลดลง ,  ไม่เปลี่ยนแปลง III. การมีโครงสร้างพืน: ฐานสนับสนุนระบบบริหารทรัพยากรบุคคล 3.3 ระบบสารสนเทศด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล  ควรปรับปรุงฐานข้อมูลดังกล่าวให้มีความสมบูรณ์และเป็นปัจจุบัน เพื่อที่จะสามารถนำมาใช้ในการจัดทำรายงานสารสนเทศทังในด้านการปฏิบัติการทางด้านบุคคล การวางแผนจัดการภายในองค์กร และการวางแผนกลยุทธ์ได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเกิดประโยชน์ สูงสุดต่อการดำเนินงาน ขององค์กร 3.4 ความปลอดภัย สุขอนามัย และสภาพแวดล้อม ควรมีการกำหนดแผนงานระยะสันและระยะยาวด้านความปลอดภัยฯ ให้มีความเป็นรูปธรรมมากขึน, อีกทัง, ควรจัดให้ มีกิจกรรมรณรงค์ และการให้ ความรู้ด้ านความปลอดภัยฯ ให้ครอบคลุมทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ควรกำหนดให้มีมาตรฐานด้านอาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัยในการทำงานในสำนักงานและการปฏิบัติงานภาคสนาม (การตรวจสวน) เพื่อให้การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยฯ ขององค์กรในภาพรวมมีประสิทธิภาพ และสร้างความเป็นมาตรฐานทั้งองค์กร 3.5 การเพิ่มศักยภาพด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ควรมีการปรับบทบาทของฝ่าย HR กับหน่วยงานภายในองค์กร โดยมีการวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรคเชิงลึกด้าน HR ของแต่ละสายงาน เพื่อจะได้กำหนดแผนงานและแนวทาง และจะได้ให้ความช่วยเหลือได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ควรจัดให้มีการพัฒนาทักษะทางด้าน HR ให้แก่ผู้บริหารสายงานและบุคลากรด้าน HR อย่างสม่ำเสมอ เพือให้การผลักดันนโยบายและกลยุทธ์ทางด้าน HR เกิดขึนได้อย่างเป็นระบบ และประสบผลสำเร็จได้ตามเป้ าหมาย คะแนนรวม 2.4544 2.6281  หัวข้อที่มีคะแนน < 3.00 คะแนน  หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่ 3.00 คะแนน แต่น้อยกว่า 4.00 คะแนน  หัวข้อที่มีคะแนนตั้งแต่ 4.00 คะแนน

43 ขอบพระคุณ ติดต่อสอบถาม ต่อ 6709, 6732, 6736


ดาวน์โหลด ppt บทบาทของผู้บริหารรัฐวิสาหกิจที่มีต่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google