ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPravat Charoenkul ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11 วันพฤหัสบดีที่ 22 ก. ค. 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11 วันพฤหัสบดีที่ 22 ก. ค. 2553
2
ประเด็น เนื้อหา : ทบทวนเรื่องเดิม : แนวคิดในการคำนวณ ต้นทุนผลผลิต, วัตถุประสงค์ และ ประโยชน์ที่ได้รับ การดำเนินการเกี่ยวกับต้นทุนผลผลิตของ สชป.11 ตามบันทึกกองการเงินและบัญชี วันที่ 15 ก. ค. 2553 การคำนวณต้นทุนผลผลิตกิจกรรมย่อย ระดับโครงการ ( หลักการ ) www.themegallery.com
3
แนวคิดในการคำนวณต้นทุนผลผลิต 1 ให้สำนัก / กอง มีกิจกรรมย่อยซึ่งทำให้ เกิดผลผลิตย่อย สามารถจับกลุ่มเข้า กิจกรรมหลักและผลผลิตหลักได้ 2 ให้สำนัก / กอง จัดทำข้อมูลต้นทุนและการ รายงานต้นทุน โดยจัดทำถึงระดับโครงการ 3 การคำนวณต้นทุนผลผลิต จะทำการแยก ต้นทุนรวม (Full Cost) ของกรมฯ เข้าสู่ สำนัก / กอง ( Cost Center) ซึ่งสามารถ เชื่อมโยงไปสู่ผลผลิตหลัก (Output) โดย ผ่านกิจกรรมย่อย (Activities) ที่แต่ละ สำนัก / กอง
4
วิธีการจัดทำต้นทุนผลผลิตในปีงบประมาณ พ. ศ.2553 เงินเดือน งบดำเนินงาน
5
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของพระราชกฤษฏี กาว่าด้วย “ หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ. ศ.2546” (Good Governance) ที่กำหนดให้ส่วนราชการจัดทำบัญชีต้นทุนและ รายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะ เพื่อ เปรียบเทียบมูลค่าที่คิดเป็นตัวเงินได้ระหว่างปัจจัย นำเข้ากับผลผลิตที่เกิดขึ้น ซึ่งจะเป็นการกระตุ้น ให้ส่วนราชการเกิดการแข่งขันด้านต้นทุนต่อ หน่วยผลผลิตในงานบริการสาธารณะที่เหมือนกัน ภายใต้คุณภาพเดียวกัน 2. เพื่อเป็นข้อมูลทางการเงินประกอบการตัดสินใจ ของผู้บริหาร ในการบริหาร จัดการงาน
6
วัตถุประสงค์ 3. เพื่อความรับผิดชอบต่อสาธารณะ (Accountability) 4. เพื่อเป็นข้อมูลในการวัดผลการดำเนินงาน การ วางแผนและการควบคุมทางการเงิน ต่อการวางแผนการใช้จ่ายเงินของส่วนราชการใน ปัจจุบันอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อประกอบการพิจารณาของบประจำปี
7
ประโยชน์ที่ ได้รับ 1. ทราบถึงประสิทธิภาพใน กระบวนการปฏิบัติงาน 2. สร้างความเข้าใจในความสัมพันธ์ระหว่าง กิจกรรมต่างๆในการสร้างผลผลิตของ หน่วยงาน 3. ได้รับข้อมูลการจัดสรรงบประมาณที่ ยุติธรรม และเสมอภาค 4. มีข้อมูลช่วยในการตัดสินใจในเรื่องการ จัดสรรและการจัดการทรัพยากร 5. มีข้อมูลใช้สำหรับกำหนดราคา ผลผลิตของหน่วยงาน 6. ทำให้การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในหน่วยงาน มีความโปร่งใสมากขึ้น
8
ประโยชน์ที่ ได้รับ 7. ใช้เป็นฐานข้อมูลและการ วิเคราะห์แนวโน้มค่าใช้จ่าย 8. เป็นข้อมูลค่าใช้จ่ายระดับกิจกรรมย่อย ผลผลิต ย่อย กิจกรรมหลัก และผลผลิตหลัก อันจะนำไปใช้ในการกำหนดราคาในการจัดซื้อ บริการ หรือขายบริการ ในอนาคต 9. การพิจารณางบประมาณของส่วนราชการ เป็นไปอย่างมีระบบ สอดคล้องกับ ทรัพยากร กิจกรรมและเป้าหมาย 10. การจัดทำงบประมาณมีประสิทธิภาพ สามารถจัดทำได้ในเวลารวดเร็ว เป็น เหตุเป็นผล 11. สามารถเชื่อมโยงระบบงบประมาณเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ได้ทุกระดับ
9
ประโยชน์ที่ ได้รับ 12. เป็นข้อมูลในการตัดสินใจของผู้บริหารเกี่ยวกับ การกำหนดราคาและค่าธรรมเนียม การจัดสรรงบประมาณได้ครอบคลุมต้นทุน ณ ระดับปริมาณ คุณภาพและเวลาที่กำหนด การเปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่ไม่ใช่ ต้นทุน ( ปริมาณ คุณภาพและเวลา ) กับผล การดำเนินงานด้านต้นทุน การประเมินเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ในการ นำส่งผลผลิต (Strategic Delivery Target : SDT) การเปรียบเทียบต้นทุนของกิจกรรมย่อย ผลผลิตย่อย กิจกรรมหลักหรือผลผลิตหลัก ที่ คล้ายคลึงกัน (Benchmarking)
10
ประโยชน์ที่ได้รับ ( เป็นไป ได้ ) การเปรียบเทียบต้นทุน ของกิจกรรมย่อย ผลผลิต ย่อย กิจกรรมหลักหรือ ผลผลิตหลัก ของ หน่วยงานเองในแต่ละ ปีงบประมาณ จัดทำแผนเพิ่ม ประสิทธิภาพของ หน่วยงาน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.