งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 5 แผ่นที่ 5-1 หน่วยที่ 5 การขยาย ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ โวลต์มิเตอร์   การขยายย่านวัดแรงดันไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ มงคล ธุระ

2 เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 5 แผ่นที่ 5-2 1 .6 .8 .4 .2 V COM + ~ ถ้านำโวลต์มิเตอร์ขนาด 1 V ไปวัดแรงดันไฟฟ้าที่มีค่ามากกว่า 1 V จะสามารถ ทำได้หรือไม่ และถ้าได้ จะต้อง ทำอย่างไรบ้าง ? การขยายย่านวัดแรงดันไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ มงคล ธุระ

3 การขยายย่านวัดของโวลต์มิเตอร์ มีหลักการอย่างไร?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 5 แผ่นที่ 5-3 การขยายย่านวัดของโวลต์มิเตอร์ มีหลักการอย่างไร? Rm Rs Im Vm นำตัวต้านทานไฟฟ้าต่ออนุกรม (Series: Rs) กับเครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่ การขยายย่านวัดแรงดันไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ มงคล ธุระ

4 Im: Vm: Rm หมายถึงอะรไ? Im: กระแสไฟฟ้าที่ทำให้เข็มชี้ เต็มสเกล
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 6 แผ่นที่ 6-3 Im: Vm: Rm หมายถึงอะรไ? Rm Rs Im Vm Im: กระแสไฟฟ้าที่ทำให้เข็มชี้ เต็มสเกล Vm: แรงดันไฟฟ้าที่ทำให้ เข็มชี้เต็มสเกล Rm: ความต้านทานไฟฟ้าของ ขดลวดเคลื่อนที่ การขยายย่านวัดกระแสไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ มงคล ธุระ

5 เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 5 แผ่นที่ 5-4 ขนาดความต้านทานไฟฟ้าที่ใช้ในการขยายย่านวัดของโวลต์มิเตอร์หาค่าได้อย่างไร? Rm Rs Im Vm Rs = Vs / Is Rs = (Vt - Vm) / Im การขยายย่านวัดแรงดันไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ มงคล ธุระ

6 วงจรการขยายย่านวัดชนิดหลายย่านวัดของโวลต์มิเตอร์ มีลักษณะอย่างไร?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 5 แผ่นที่ 5-5 วงจรการขยายย่านวัดชนิดหลายย่านวัดของโวลต์มิเตอร์ มีลักษณะอย่างไร? 1. ตัวต้านทานไฟฟ้าต่อแยกกัน อย่างอิสระ Rm 100V Rs2 Rs1 Im 10V ข้อดีคือถ้าตัวต้านทานไฟฟ้าย่านวัดใดเสีย ย่านวัดอื่นๆ ยังสามารถใช้งานได้ การขยายย่านวัดแรงดันไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ มงคล ธุระ

7 เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 5 แผ่นที่ 5-6 2. ตัวต้านทานไฟฟ้าต่ออนุกรม กันทุกตัว Rm 10V 100V Rs1 Rs2 Im ข้อเสีย คือ ถ้าย่านวัดด้านในเสียย่านวัดอื่นๆ ทางด้านนอกไม่สามารถใช้งานได้ การขยายย่านวัดแรงดันไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ มงคล ธุระ

8 เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 5 แผ่นที่ 5-7 ความต้านทานไฟฟ้าที่ใช้ในการขยายย่านวัดฯ ชนิดหลายย่านวัดหาค่าได้อย่างไร? 1. ตัวต้านทานไฟฟ้าต่อแยกกัน อย่างอิสระ Rm Rs2 Rs1 Im Vt1 Vt2 Vm Rs1 = (Vt1 - Vm) / Im Rs2 = (Vt2 - Vm) / Im การขยายย่านวัดแรงดันไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ มงคล ธุระ

9 Rs1 = (Vt1 - Vm) / Im Rs2 = (Vt2 - Vt1) / Im
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 5 แผ่นที่ 5-8 2. ตัวต้านทานไฟฟ้าต่ออนุกรม กันทุกตัว Rm Vt1 Rs1 Rs2 Im Vt2 Vm Rs1 = (Vt1 - Vm) / Im Rs2 = (Vt2 - Vt1) / Im การขยายย่านวัดแรงดันไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ มงคล ธุระ


ดาวน์โหลด ppt ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google