งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หน่วยที่ 19 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หน่วยที่ 19 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หน่วยที่ 19 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-1 หน่วยที่ 19 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า   เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

2 เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-2 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลมีข้อดีกว่าเครื่องวัดไฟฟ้า แบบอนาลอก อย่างไรบ้าง เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

3 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล หมายถึงอะไร?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-3 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล หมายถึงอะไร? เครื่องวัดไฟฟ้าที่ทำหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้า แบบอนาลอกที่ทำการวัดให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าแบบดิจิตอลแล้วแสดงผลการวัดเป็นเลขฐานสิบที่ภาคแสดงผล เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

4 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-4 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล มีโครงสร้างอย่างไร? ภาครับสัญญาณอนาลอก (Input Unit) ภาครับประมวลผล (Processing Unit) ภาคแสดงผล (Output Unit Or Display Unit) เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

5 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล มีหลักการทำงานอย่างไร?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-5 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล มีหลักการทำงานอย่างไร? รับสัญญาณอนาลอก ที่ต้องการวัด เปลี่ยนสัญญาณอนาลอกให้เป็นสัญญาณดิจิตอลที่มีค่าเทียบเท่ากันแล้วจึง ทำการประมวลผล แปลงเป็นเลขฐานสิบ ที่ภาคแสดงผล เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

6 การแสดงผลเลขฐานสิบ ทำได้อย่างไร?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-6 การแสดงผลเลขฐานสิบ ทำได้อย่างไร? 1. ด้วยแอลซีดี (Liquid Cristal Display: LCD) 2. ด้วยไดโอดเปล่งแสง (Lighting Emitter Diode: LED) ชนิดเจ็ดส่วน (Seven Segment readout) เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

7 เปล่งแสงชนิดเจ็ดส่วน
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-7 การแสดงผลด้วยไดโอด เปล่งแสงชนิดเจ็ดส่วน ทำได้อย่างไร? c a b d e f g เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

8 การแสดงผล 3 หลักกับ 3 1/2 หลัก ต่างกันอย่างไร?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-8 การแสดงผล 3 หลักกับ 3 1/2 หลัก ต่างกันอย่างไร? ภาคแสดงผล 1 ตัว เรียกว่า 1 หลักถ้า 3 ตัว เรียกว่า 3 หลัก แต่ละหลักสามารถแสดงผล ได้ตั้งแต่ 0 ถึง 9 ดังนั้นทั้ง 3 หลัก จึง แสดงผลได้ตั้งแต่ 0 ถึง 999 หน่วยนับ เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

9 ถ้าภาคแสดงผลมี 4 หลักและหลักซ้ายสุด สามารถแสดงผลได้เพียงเลข 1 กับไม่
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-9 ถ้าภาคแสดงผลมี 4 หลักและหลักซ้ายสุด สามารถแสดงผลได้เพียงเลข 1 กับไม่ แสดงผลใดๆ (ดับมืด) ดังนั้นจึงเรียกทั้ง 4 หลักนี้ว่า ภาคแสดงผลชนิด 3 1/2 หลัก ซึ่งจะสามารถแสดงผลได้ตั้งแต่ 0 ถึง 1999 หน่วยนับ เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

10 ถ้าภาคแสดงผลมี 4 หลักและหลักซ้ายสุด สามารถแสดงผลได้เป็นเลข 1,2 กับไม่
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-10 ถ้าภาคแสดงผลมี 4 หลักและหลักซ้ายสุด สามารถแสดงผลได้เป็นเลข 1,2 กับไม่ แสดงผลใดๆ (ดับมืด) ดังนั้นจึงเรียกทั้ง 4 หลักนี้ว่า ภาคแสดงผลชนิด 3 3/4 หลัก ซึ่งจะสามารถแสดงผลได้ตั้งแต่ 0 ถึง 2999 หน่วยนับ เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

11 ถ้าภาคแสดงผลมี 4 หลักและหลักซ้ายสุด สามารถแสดงผลได้เป็นเลข 1,2,3,4,5
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-11 ถ้าภาคแสดงผลมี 4 หลักและหลักซ้ายสุด สามารถแสดงผลได้เป็นเลข 1,2,3,4,5 กับไม่แสดงผลใดๆ (ดับมืด) ซึ่งจะสามารถ แสดงผลได้ตั้งแต่ 0 ถึง 5999 หน่วยนับ เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

12 ประยุกต์สร้าง เป็นเครื่องวัดไฟฟ้า อะไรบ้าง?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-12 ประยุกต์สร้าง เป็นเครื่องวัดไฟฟ้า อะไรบ้าง? 1. โวลต์มิเตอร์แบบดิจิตอล 2. แอมมิเตอร์แบบดิจิตอล 3. เครื่องวัดกระแสไฟฟ้า แบบคล้องแบบดิจิตอล 4. มัลติมิเตอร์แบบดิจิตอล 5. เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า แบบดิจิตอล 6. เครื่องวัดฉนวน ฯลฯ เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

13 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล แบ่งออกได้เป็นอะไรบ้าง?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-13 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล แบ่งออกได้เป็นอะไรบ้าง? 1. สำหรับห้องปฏิบัติการ มีความแม่นยำมากที่สุด มีตั้งแต่ 7 1/2 หลักขึ้นไป 2. แบบตั้งโต๊ะ มีความแม่นยำรองลงมา มี 5 1/2 หลักลงมา 3. แบบพกพา มี 3 1/2 หลัก-4 1/2 หลัก เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

14 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล มีรูปร่างอย่างไรบ้าง?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-14 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล มีรูปร่างอย่างไรบ้าง? เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

15 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล มีข้อดีและข้อเสียอย่างไร?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-15 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล มีข้อดีและข้อเสียอย่างไร? 1. อ่านค่าได้ง่าย 2. มีความแม่นยำสูง 3. มีความละเอียดสูง (High Resolution) 4. แสดงขั้วอัตโนมัติ 5. ดูแลรักษาง่ายและทนต่อ แรงกระแทก 6. ไม่สามารถวัดค่ากระแส เริ่มเดินของมอเตอร์ได้ 7. การทำงานต้องอาศัย พลังงานไฟฟ้าเลี้ยงวงจร เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

16 การบำรุงรักษาเครื่องวัด
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-16 การบำรุงรักษาเครื่องวัด ไฟฟ้าหมายถึงอะไร? การกระทำใดๆ ที่ทำให้เครื่องวัดไฟฟ้าอยู่ในสภาพที่ดีหรือทำงานได้ตามปกติและเพื่อทำให้อายุการใช้งานของเครื่องวัดไฟฟ้ายาวนานขึ้น A ~ 300 200 150 50 V ~ 300 200 150 50 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

17 มิเตอร์ต้องทำอย่างไร?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-17 V ~ 300 200 150 50 การบำรุงรักษาโวลต์ มิเตอร์ต้องทำอย่างไร? 1. ศึกษาคู่มือให้ละเอียด 2. ต้องต่อขนานกับภาระไฟฟ้า 3. เลือกย่านวัดให้สูงก่อนเสมอ 4. ต่อขั้วให้ถูกต้อง (กรณีไฟฟ้า กระแสตรง) 5. ควรเก็บในกล่องหรือตู้ป้องกันฝุ่น 6. ควรเก็บในตู้ไม้ป้องกันสนามแม่ เหล็กถาวรเสื่อมอายุเร็วเกินไป 7. อย่าให้ได้รับการกระเทือนอย่าง รุนแรงแกนหมุนจะหลุด 8. วางให้ถูกต้องตามสัญลักษณ์ 9. ควรปรับเทียบทุก 1 ปี /เมื่อจำเป็น เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

18 แอมมิเตอร์ต้องทำอย่างไร?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-18 A ~ 300 200 150 50 การบำรุงรักษา แอมมิเตอร์ต้องทำอย่างไร? 1. ศึกษาคู่มือให้ละเอียด 2. ต้องต่ออนุกรมกับภาระไฟฟ้า 3. เลือกย่านวัดให้สูงก่อนเสมอ 4. ต่อขั้วให้ถูกต้อง (กรณีไฟฟ้า กระแสตรง) 5. ควรเก็บในกล่องหรือตู้ป้องกันฝุ่น 6. ควรเก็บในตู้ไม้ป้องกันสนามแม่ เหล็กถาวรเสื่อมอายุเร็วเกินไป 7. อย่าให้ได้รับการกระเทือนอย่าง รุนแรงแกนหมุนจะหลุด 8. วางให้ถูกต้องตามสัญลักษณ์ 9. ควรปรับเทียบทุก 1 ปี หรือเมื่อจำเป็น เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

19 มิเตอร์ต้องทำอย่างไร?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-19 a 3 2 6 9 W COM + การบำรุงรักษาโอห์ม มิเตอร์ต้องทำอย่างไร? 1. ศึกษาคู่มือให้ละเอียด 2. ต้องต่อขนานกับภาระไฟฟ้าโดย ต้องแน่ใจว่าไม่มีแรงดันไฟฟ้าหรือ กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 3. เลือกย่านวัดให้เหมาะสม 4. ต้องปรับตำแหน่ง 0W ก่อนทุกครั้ง 5. ควรเก็บในกล่องหรือตู้ป้องกันฝุ่น 6. ควรเก็บในตู้ไม้ป้องกันสนามแม่ เหล็กถาวรเสื่อมอายุเร็วเกินไป 7. อย่าให้ได้รับการกระเทือนอย่าง รุนแรงแกนหมุนจะหลุด 8. วางให้ถูกต้องตามสัญลักษณ์ 9. ควรปรับเทียบทุก 1 ปี/เมื่อจำเป็น เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

20 มัลติมิเตอร์ต้องทำอย่างไร?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-20 a 3 2 6 9 VAW COM + การบำรุงรักษา มัลติมิเตอร์ต้องทำอย่างไร? 1. ศึกษาคู่มือให้ละเอียด 2. ก่อนใช้ต้องสำรวจตำแหน่งสวิตช์ เลือกหน้าที่และเลือกย่านวัดให้ ถูกต้องและเหมาะสมทุกครั้ง 3. ควรถอดแบตเตอรี่ออกเมื่อหยุดใช้ 4. ควรเปลี่ยนแบตฯ เมื่อปรับตำแหน่ง 0W ที่ย่านวัด Rx1 ไม่ได้ 5. วัดค่ากระแสสลับได้เฉพาะรูปไซน์ 6. ควรเก็บในตู้ไม้ป้องกันสนามแม่ เหล็กถาวรเสื่อมอายุเร็วเกินไป 7. การเปลี่ยนฟิวส์ไม่ใหญ่เกินพิกัด 8. บิดไปตำแหน่ง Off หรือ 100Vac 9. ควรปรับเทียบทุก 1 ปี/เมื่อจำเป็น เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

21 การบำรุงรักษาดิจิตอล มัลติมิเตอร์ทำอย่างไร?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-21 การบำรุงรักษาดิจิตอล มัลติมิเตอร์ทำอย่างไร? 1. ศึกษาคู่มือให้ละเอียด 2. ก่อนใช้ต้องสำรวจตำแหน่งสวิตช์ เลือกหน้าที่และเลือกย่านวัดให้ ถูกต้องและเหมาะสมทุกครั้ง 3. ควรถอดแบตเตอรี่ออกเมื่อหยุดใช้ 4. ควรจัดเก็บไว้ในกล่องป้องกันฝุ่น 5. การเปลี่ยนฟิวส์ไม่ใหญ่เกินพิกัด 6. บิดไปตำแหน่ง Off เมื่อไม่ใช้งาน เพื่อยืดอายุการใช้งานแบตเตอรี่ 7. ควรปรับเทียบทุก 1 ปี หรือเมื่อจำเป็น เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

22 วัตต์มิเตอร์ต้องทำอย่างไร?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-22 10 6 8 4 2 Watt N * V A การบำรุงรักษา วัตต์มิเตอร์ต้องทำอย่างไร? 1. ศึกษาคู่มือให้ละเอียด 2. เมื่อนำไปวัดกำลังไฟฟ้าที่มีค่า กระแสไฟฟ้าและหรือแรงดันไฟฟ้า เกินพิกัดของวัตต์มิเตอร์ควรใช้ร่วม กับหม้อแปลงกระแสและหรือ หม้อแปลงแรงดันไฟฟ้า 3. วัตต์มิเตอร์โดยทั่วไปเป็นชนิดอิเล็ก ทรอไดนามิกไม่ควรนำไปวัดบริเวณ ที่มีสนามแม่เหล็กหนาแน่นสูง 4. จากข้อ 3 วัดค่าได้ถูกต้องในย่าน ความถี่ Hz เท่านั้น 5. การเปลี่ยนฟิวส์ไม่ใหญ่เกินพิกัด 6. ควรปรับเทียบทุก 1 ปี/เมื่อจำเป็น เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ

23 การบำรุงรักษาเครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้าต้องทำอย่างไร?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 19 แผ่นที่ 19-23 การบำรุงรักษาเครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้าต้องทำอย่างไร? 1. ศึกษาคู่มือให้ละเอียด 2. ควรจัดเก็บในกล่อง/ตู้ ป้องกันฝุ่น 3. เมื่อนำไปวัดกระแสสูงควรใช้ร่วม กับหม้อแปลงกระแสไฟฟ้า 4. อย่าให้ได้รับการกระเทือนอย่าง รุ่นแรงโดยเฉพาะขณะทำงาน ไส้หลอดอาจขาดได้ 5. ควรเลือก V/Div ให้มีค่าสูงไว้ก่อน 6. ไม่ควรหมุน V/Div หรือ T/Div อย่างรุนแรง หน้าสัมผัสจะชำรุด 7. ไม่ควรปิด/เปิดสวิตช์หลายครั้ง ในช่วงเวลาเดียวกันอาจทำให้ ไส้หลอดเสื่อมไว อายุใช้งานจะสั้น 8. ควรปรับเทียบทุก 1 ปี/เมื่อจำเป็น เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า มงคล ธุระ


ดาวน์โหลด ppt หน่วยที่ 19 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google