งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
งานควบคุมโรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน

2 โรคไข้เลือดออก

3 สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 56 – วันที่ 20 กรกฎาคม 56 พบผู้ป่วยทั้งสิ้น 36 ราย คิดเป็น ต่อแสนประชากร กระจายอยู่ใน 13 ตำบล จากทั้งหมด 15 ตำบล ตำบลที่มีอัตราป่วยสูงสุด คือ ตำบลดอนข่อยตำบลห้วยขวาง และตำบลสระสี่มุม ตามลำดับ เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี และผู้ป่วยในปี 2555 ยังคงอยู่ในระดับที่ต่ำกว่า

4 แผนภูมิเปรียบเทียบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก อำเภอกำแพงแสน ปี 56
กับค่ามัธยฐาน และ ปี 2555

5 แผนภูมิเปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2551 - 2556

6 แนวทางการดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออก
รายงานผล สสอ. กำแพงแสน ดำเนินการประสานงาน/ สอบสวน/ สนับสนุน และอื่นๆ กิจกรรมเชิงรุก - ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ - ให้ความรู้/ ประชาสัมพันธ์ - นำชุมชนมีส่วนร่วม พัฒนาศักยภาพ - อสม.เชี่ยวชาญ - จนท./ อปท. -นักเรียน การป้องกัน รับทราบนโยบาย/ วางแผนการดำเนินงาน MOU ทุกภาคส่วน(มหาดไทย, สาธารณสุข, ศึกษาธิการ) ควบคุมป้องกันพื้นที่เกิดโรคครั้งทื่ 1 ควบคุมป้องกันพื้นที่เกิดโรคครั้งทื่ 2 ตรวจรักษา/ ปฐมพยาบาลเบื้องต้น/ สุขศึกษา เตรียมความพร้อมของบุคลากร สถานที่ อุปกรณ์ และเวชภัณฑ์ รักษาพยาบาล Refer รายงาน Case เฝ้าระวัง/ควบคุม กรณีการเกิดโรค เฝ้าระวัง/ติดตามสถานการณ์/ รณรงค์ 4 ไตรมาส ชุมชนแจ้ง รับรายงาน ค้นหา/ สอบสวน ความรู้/ สุขศึกษา บันทึกการ

7 มาตรการที่ดำเนินการของเจ้าหน้าที่
1.แจ้งข่าวให้พื้นที่ทราบเร็วที่สุดเมื่อพบผู้ป่วย ใน โรงพยาบาลหรือได้รับแจ้งจาก สสจ. SRRT อำเภอ จะแจ้ง SRRT ตำบล และประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วย ทางโทรศัพท์และโทรสาร 2.SRRT ตำบลเข้าถึงพื้นที่ทันทีที่ได้รับแจ้ง พร้อมสเปรย์พ่นทำลายยุงตัวแก่ในบ้านผู้ป่วยและยาทากันยุงแก่ผู้ป่วยและญาติในบ้าน 3.ประสาน อสม. ในพื้นที่ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในละแวกใกล้เคียงทั้งหมด ในรัศมี 200 เมตร อาจมากกว่าหากมีความเสี่ยง 4.SRRT ตำบล ทำรายงานสอบสวนโรคเบื้องต้น ส่ง สสอ ภายใน 24 ชั่วโมง และ ฉบับสมบูรณ์ภายใน 2 สัปดาห์หลังได้รับแจ้ง

8 มาตรการที่ดำเนินการในโรงเรียน
1.กิจกรรมให้ความรู้หน้าเสาธงกับนักเรียนทุกโรงเรียนโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ 2.กิจกรรมให้ความรู้แก่แกนนำนักเรียน ทุกโรงเรียนในการควบคุมป้องกันโรคและสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและพื้นที่เสี่ยงในโรงเรียนและบ้านของตนเอง โดยใช้หลัก 5 ป 1 ข 3.ทุกโรงเรียนสำรวจลูกน้ำยุงลายพร้อมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ทุก 7 วัน พร้อมส่งรายงานผลการสำรวจให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 4.โรงเรียนเป็นหน่วยเฝ้าระวังหากมีนักเรียนป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ต้องแจ้งให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ทราบ โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการรักษาจากสถานพยาบาลของรัฐ

9 มาตรการที่ดำเนินการในชุมชน
1.ประชุมเตรียมความพร้อมร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินการที่เข้มข้นโดยมีท่านนายอำเภอเป็นประธาน เน้นย้ำเรื่องมาตรการต่างๆ โดยเฉพาะการควบคุมโรคอย่างเร่งด่วนเมื่อมีผู้ป่วยในพื้นที่ 2. ดำเนินการลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายขนาดใหญ่ในชุมชนหรือบริเวณที่เป็นพื้นที่สาธารณะ และ ท้องถิ่น ส่งเสริม กิจกรรมจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านเรือน โดยเน้นหลัก 5 ส 3.อบรม อสม.เชี่ยวชาญการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ทุกหมู่บ้านพร้อมกำชับเรื่องการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ในชุมชน

10 กิจกรรมให้ความรู้/การควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน

11 กิจกรรมสำรวจ/ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

12 กิจกรรมประชุม/ ลงนาม ร่วมดำเนินการควบคุมป้องกันโรค
จากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

13 อบรม อสม. เชี่ยวชาญ “ สาขาควบคุมป้องกันโรคติดต่อ ”

14 โรค มือ เท้า ปาก

15 สถานการณ์ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 56 – วันที่ 20 กรกฎาคม 56 พบผู้ป่วยทั้งสิ้น 37 ราย คิดเป็นอัตราป่วย ต่อแสนประชากร พื้นที่ที่พบผู้ป่วย โรคมือเท้าปาก ในอำเภอกำแพงแสน เดือน ก.ค. 56 ห้วยขวาง ทุ่งบัว ดอนข่อย ห้วยหมอนทอง ทุ่งกระพังโหม ทุ่งขวาง ห้วยม่วง กําแพงแสน รางพิกุล

16 สถานการณ์ ศูนย์เด็กเล็กที่พบผู้ป่วย
ศูนย์เด็กเล็กกระดี่อ้อ ตำบลห้วยม่วง พบผู้ป่วยสงสัย 4 ราย หยุดเรียน วันที่ 8-14 ก.ค. 56 ศูนย์เด็กเล็กโรงเรียนบ้านหนองไม้งาม ตำบลทุ่งบัว พบผู้ป่วยสงสัย 2 ราย หยุดเรียน วันที่ ก.ค. 56 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งลูกนก ต.ทุ่งลกนก ป่วย 5 สงสัย 6 หยุดเรียน วันที่ 15 – 23 ก.ค. 56 ณ วันนี้เปิดเรียน ปกติทุกแห่ง

17 แผนภูมิแสดงจำนวนผู้ป่วยโรค มือ เท้า ปาก
อำเภอกำแพงแสน ปี 2556 แยกรายเดือน

18 แผนภูมิแสดงจำนวนผู้ป่วยโรค มือ เท้า ปาก
อำเภอกำแพงแสน ปี 2556 แยกรายตำบล

19 แนวทางการดำเนินการควบคุมโรค มือ เท้า ปาก
แจ้งผู้ปกครองรับกลับ ตรวจรักษา รพ.สต./ รพ. แจ้งเจ้าหน้าที่ รพ.สต. กรณีมีเด็กป่วย/ เกิดการระบาด - ให้สุขศึกษากลุ่มเสี่ยง/ กลุ่มป่วย - บริการเบื้องต้น - refer - ค้นหา/ สอบสวน แจ้งทีม SRRT สสอ.กำแพงแสน ดำเนินการประสานงาน/ สอบสวน/ ควบคุม/ สนับสนุน และอื่นๆ คัดกรอง/แยกเด็ก แยกเด็ก ในสถานศึกษา ในชุมชน ในสถานบริการ แนะนำ/ สุขศึกษา/ สังเกตอาการผิดปกติ/ ทำลายเชื้อ - บริการเบื้องต้น - ให้สุขศึกษา - refer - ค้นหา/ สอบสวน/ เฝ้าระวัง รับทราบนโยบาย/ เฝ้าระวัง พัฒนาศักยภาพ (อสม. / จนท.สธ./ศพด.) ประสานทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (รพ.สต./ อปท./ ชุมชน/ รพ. /รร./ ศพด./ สสจ.นฐ.)

20 ให้ความรู้/คัดกรอง/สอบสวนโรค กลุ่มเสี่ยง-กลุ่มป่วย
ภาพกจิกรรม ให้ความรู้/คัดกรอง/สอบสวนโรค กลุ่มเสี่ยง-กลุ่มป่วย ใน ศพด./ โรงเรียน /ชุมชน ภาพกิจกรรม ทำความสะอาดฆ่าเชื้อโรค ใน ศพด./ โรงเรียน /ชุมชน

21 มาตรการการควบคุมป้องกัน โรค มือ เท้าปาก
เฝ้าระวัง 1.โรงเรียนและศูนย์เด็กเล็กคัดกรองเด็กก่อนเข้าชั้นเรียนทุกวัน หากมีผู้ป่วยสงสัยจ้ง รพ.สต.ในพื้นที่ตรวจสอบทันที หากพบมากกว่า 2 รายในชั้นเดียวกัน ให้ ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้สั่งหยุดเรียน และ ทำความสะอาดห้องเรียน 2.SRRT ตำบลรายงานให้ SRRT อำเภอทราบทางโทรศัพท์และแบบรายงาน 3.ในชุมชนให้ความรู้เรื่องโรคโดยเจ้าหน้าที่และ อสม. หากพบผู้ป่วยสงสัยให้ รีบมาหาหมอ พร้อมทำความสะอาดที่พักอาศัย 4.คัดกรองผู้ป่วยโดยเจ้าหน้าที่ในพื้นที่เสี่ยง เช่น ได้รับแจ้งผู้ป่วยสงสัยจาก อสม. หรือ พื้นที่ที่พบผู้ป่วยยืนยัน

22 มาตรการการควบคุมป้องกัน โรค มือ เท้าปาก
จัดอบรม ทบทวนความรู้และมาตรการการควบคุมป้องกันโรค มือ เท้า ปาก ให้กับครูและผู้ดูแลเด็กในศูนย์เด็กเล็ก ทุกแห่ง วันที่ 1 สิงหาคม 2556

23

24


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google