งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ลักษณะพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีนนอกนิวเคลียส (Extrachromosomal Inheritance)
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2 ลักษณะพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีนที่มีตำแหน่งอยู่บนโครโมโซมในนิวเคลียส เรียกลักษณะพันธุกรรมเหล่านี้ว่า ‘Mendelian inheritance’ ยีนที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมไม่ได้มีตำแหน่งอยู่บนโครโมโซมในนิวเคลียส แต่อยู่ในไซโตพลาสซึม เรียกลักษณะพันธุกรรมเหล่านี้ว่า ‘Extrachromosomal inheritance’

3 หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีนนอกนิวเคลียส
ลักษณะใดก็ตามเมื่อมีการผสมระหว่างพ่อแม่ทั้งสายผสมตรงและสายผสมสลับพ่อแม่ ลูกผสมที่ได้ของทั้ง 2 สาย มีอัตราส่วนไม่เท่ากัน และพิสูจน์ได้ว่าไม่ใช่ลักษณะพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีนบนโครโมโซมเพศแล้ว แสดงว่า ลักษณะนั้นควบคุมด้วยยีนนอกนิวเคลียส ลักษณะใดก็ตามเมื่อมีการผสมระหว่างพ่อแม่ทั้งสายผสมตรงและสายผสมสลับพ่อแม่ ลูกผสมที่ได้ของทั้งสองสาย แสดงลักษณะออกมาเหมือนกับฝ่ายแม่ตลอดเวลา (maternal inheritance) แสดงว่าลักษณะดังกล่าวควบคุมด้วยยีนนอกนิวเคลียส

4 ถ้ายีนควบคุมลักษณะใดก็ตามไม่สามารถจะกำหนดได้ว่ามีตำแหน่งอยู่บนโครโมโซมใดในนิวเคลียสและอยู่ชิดกับยีนใดบนโครโมโซม ลักษณะใดก็ตามถ้ายีนที่ควบคุมลักษณะนั้นไม่มีการแยกตัวของยีน หรือมีการแยกตัวของยีน แต่ไม่เป็นไปตามกฎเมนเดล ลักษณะใดก็ตามที่มีการถ่ายทอดลักษณะดังกล่าวจากชั่วอายุหนึ่งไปยังอีกชั่วอายุหนึ่ง โดยปราศจากการถ่ายทอดทางโครโมโซมในนิวเคลียส ถ้ายีนที่ควบคุมลักษณะใดก็ตามมีการเปลี่ยนแปลงหรือกลายพันธุ์ไป แต่ไม่ใช่การกลายพันธุ์ของยีนบนโครโมโซม

5 อิทธิพลของฝ่ายแม่ (maternal effect)
ลักษณะที่ปรากฏของลูกเป็นผลมาจากอิทธิพลของพันธุกรรมของฝ่ายแม่ ลักษณะที่ปรากฏในลูกนี้อาจจะเกิดชั่วคราว หรือเกิดแบบถาวรก็ได้

6 อิทธิพลของแม่ในหอย (maternal effect in snail : Limnaea peregra)
D:เวียนขวา d:เวียนซ้าย อิทธิพลของแม่ในหอย (maternal effect in snail : Limnaea peregra) ที่มา

7 ตัวอย่างของลักษณะพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีนนอกนิวเคลียส
พันธุกรรมของสีในพลาสติด (inheritance of color in plastids) พลาสติดเป็นออร์แกเนลล์ที่อยู่ในไซโตพลาสซึม แบ่งตัวเอง และสามารถถ่ายทอดทางไซโตพลาสซึมได้ คลอโรพลาสต์ (chloroplast) เป็นพลาสติดที่มีสีเขียว เนื่องจากมีคลอโรฟิลล์ทำหน้าที่เกี่ยวกับการสังเคราะห์แสงของพืช ลิวโคพลาสต์ (leucoplast) เป็นพลาสติดที่มีสีขาว เกิดจากคลอโรพลาสต์สูญเสียคลอโรฟิลล์ ทำหน้าที่ในการสะสมอาหาร

8 X X X แม่ ใบลาย ยีโนไทป์ ijij ใบสีเขียว พ่อ IjIj แม่ ใบสีเขียว IjIj
ใบลาย พ่อ ijij X X Ijij Ijij Ijij ใบสีเขียว ใบสีขาว ใบลาย IjIj ใบสีเขียวทั้งหมด F1 F1 ใบลาย ยีโนไทป์ Ijij ใบสีเขียว พ่อ IjIj X ลูก IjIj IjIj IjIj Ijij Ijij Ijij ใบสีเขียว ใบสีขาว ใบลาย ใบสีเขียว ใบสีขาว ใบลาย Rhoades (1943)

9 การเป็นหมันของดอกตัวผู้ (male sterility)
การเป็นหมันของดอกตัวผู้ที่ควบคุมด้วยยีนในนิวเคลียส (genetic male sterility) msms Msms X Msms msms male fertile male sterile

10 X การเป็นหมันของดอกตัวผู้ที่ควบคุมด้วยยีนในไซโตพลาสซึม
(cytoplasmic male sterility) S F X male sterile male fertile S male sterile

11 การเป็นหมันของดอกตัวผู้ที่ควบคุมด้วยยีนในไซโตพลาสซึมและยีนในนิวเคลียส (cytoplasmic genetic male sterility) S F X rr Rr S S rr Rr male sterile male fertile


ดาวน์โหลด ppt อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google