ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTheerapatpong Paithoonbuathong ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
2
ฟิล์ม
3
ฐานฟิล์มเป็นเซลลูโลส อาซิเตต (Cellulose acetate) สารไวแสงเป็นซิลเวอร์ไนเตรตและโปแตสเซียมโบรไมด์ หลังโดนแสงจะเปลี่ยนเป็นซิลเวอร์โบรไมด์ ต้องเลือกฟิล์มให้เหมาะกับงาน ฟิล์มบางชนิดไวแสงมาก บางชนิดไวแสงน้อย บางชนิดทำปฏิกิริยากับแสงหลายสี บางชนิดทำปฏิกิริยากับแสงสีเดียว
4
Resistant coating Light sensitive crystal Adhesive Acetate Adhesive Antihalation coating
5
ส่วนโค้ง H and D เฮทเตอร์และดริฟฟิลด์ (Hurter & Driffield) เป็นคนแรกที่วัด ความดำ (Density) โดยให้ density อยู่ในเทอมของ logarithm โอแพสซิตี (Opacity) opacity คือ อัตราส่วนของแสงที่ตกกระทบฟิล์มกับแสงที่ทะลุผ่านฟิล์ม ต่อมาพบว่า density เป็นสัดส่วนกับ common log ของเอ็กโพเซอร์
6
รูปที่ 1 D log e cure Lo g e Den sity
7
ส่วนโค้งจะมีอยู่ 3 ส่วน คือ ตอนเริ่มต้น เรียกว่า โท (toe) ส่วนตรงกลางเป็นเส้นตรง (straight line section) ส่วนตรงยอดเรียกว่า โชเดอร์ (shoulder) ตรงจุดที่แสงน้อยที่สุดที่ฟิล์มเริ่มดำ เรียกว่า จุดมัว (fog)
8
ค่าความไวแสงของฟิล์ม Density D = 0.1 รูปที่ 2 Threshold criterion of speed รูปที่ 3 DIN speed criterion
9
– ความไวแสงของฟิล์ม ( film speed ) – เนื้อฟิล์ม ( Graininess ) – ความไวต่อแสงสี ( colour sensitivity ) – ความไวต่อแสงสีน้ำเงิน ( Blue sensitive ) – ฟิล์มออร์โธโครมาติก ( Orthochromatic film ) – ฟิล์มแพนโครมาติก ( Panchromatic film ) คุณสมบัติทั่วไปของ ฟิล์ม
10
การเก็บรักษาฟิล์ม 1. อย่าเปิดกลักหรือกล่องฟิล์มจนกว่าจะใช้ 2. เก็บไว้ในที่เย็น แห้ง และไม่มีความชื้น 3. ถ่ายภาพและล้างฟิล์มก่อนหมดอายุ 4. ถ่ายภาพและล้างให้เร็วที่สุดหลังจากเปิด package และถ้าเปิดแล้วยังไม่ได้นำไป ถ่ายภาพควรเก็บไว้ โดยปิดอย่างสนิทและ เก็บในที่แห้งและเย็น 5. อย่าให้โดน x - ray หรือ รังสีต่างๆ และ สารระเหย เช่น ไอระเหยของสารฟอมอลดี ไฮด์ ( Formaldehyde vapor ) 6. หมุนฟิล์มช้าๆ เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิด ไฟฟ้าสถิต 7. เก็บเนกาทีฟในซองที่แห้ง สะอาด และเย็น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.