งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Thalassemia screening test

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Thalassemia screening test"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Thalassemia screening test
Pichanee Chaweekulrat MD.

2 Thalassemia and abnormal Hb
1. ความผิดปกติเชิงปริมาณ ทำให้มีการผลิต globin chain ชนิดใดชนิดหนึ่ง (หรือมากกว่าหนึ่งชนิด) ลดลง เรียกว่า thalassemia สร้าง α-globin ลดลง เรียกว่า α-thalassemia สร้าง β-globin ลดลง เรียกว่า β-thalassemia

3 Thalassemia and abnormal Hb
ความผิดปกติของ Hb แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 2. ความผิดปกติเชิงคุณภาพ ทำให้มี abnormal Hb ที่พบบ่อยและสำคัญในประเทศไทย คือ Hb E เกิดจาก missense mutation ของ β-globin gene เกิด Hb E ที่ไม่เสถียร และมีการสร้าง β-globin ลดลง

4 Thalassemia and abnormal Hb
มีอาการแสดงที่หลากหลาย ตั้งแต่ไม่มีอาการ, ภาวะซีดเล็กน้อย, ภาวะซีดรุนแรง ร่วมกับตัวเหลือง ตับม้ามโต หรือ เสียชีวิต Hydrops fetalis

5 Thalassemia screening test
เพื่อคัดแยกผู้ที่เป็นพาหะออกจากคนปกติ วิธีที่นิยมใช้ในปัจจุบันมี 3 วิธี ดังนี้ 1. การตรวจค่าดัชนีเม็ดเลือดแดง 2. DCIP precipitation test 3. One tube osmotic fragility test (OF Test) การตรวจคัดกรองในปัจจุบันจะใช้ 2 วิธีร่วมกันคือ MCV หรือ OF Test ร่วมกับ DCIP

6 Thalassemia screening test
1. การตรวจค่าดัชนีเม็ดเลือดแดง ที่สำคัญคือ MCV (mean corpuscular volume) ซึ่งบอกขนาดของเซลล์เม็ดเลือดแดง ผู้ป่วยและส่วนใหญ่ของผู้ที่เป็นพาหะธาลัสซีเมีย จะมีค่า MCV น้อยกว่า 80 fL (normal fL) ภาวะโลหิตจางอื่นๆ ที่ทำให้เม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็กลง เช่น ภาวะขาดธาตุเหล็ก จะทำให้มีค่า MCV ต่ำได้เช่นเดียวกัน ค่า MCV ห้อง lab พยาธิวิทยาคลินิคจะวิเคราะห์ให้

7 Lab ที่ต้องทำวันนี้ Thalassemia screening test subject 1 คน/โต๊ะ
unknown 2 หลอด/ห้อง (unknown 1, unknown 2)

8 Lab ที่ต้องทำวันนี้ Thalassemia screening test DCIP precipitation test
One tube osmotic fragility test (OF Test)

9 Blood sample preparation
Subject 1 คน/โต๊ะ เจาะเลือดจากปลายนิ้วโดยใช้ lancing device ใส่ใน capillary tube อุปกรณ์ที่ใช้ - lancing device และ lancet Capillary tube (hematocrit tube) 2 หลอด Eppendorf tube ถุงมือ สำลีแห้ง 70% alcohol ที่ทิ้งขยะ lancet lancing device

10 Blood sample preparation
วิธีการประกอบ lancing device และ lancet 1 2 ปรับความลึก (ระดับ 3-4) ใส่ lancet เข้าที่ปลายของ lancing device 4 3 ดึง lever ขึ้น ถอดปลอก lancet ออก 5 จรดที่ปลายนิ้วแล้วเจาะเลือดโดยกดปุ่ม push

11 Blood sample preparation
Subject 1 คน/โต๊ะ เจาะเลือดจากปลายนิ้วโดยใช้ lancing device ใส่ใน capillary tube - ใช้สำลีชุบแอลกอฮอล์เช็ดบริเวณปลายนิ้ว ที่จะทำการเจาะเลือด รอจนแห้ง - ใช้ lancing device เจาะเลือดจากนิ้วกลาง หรือนิ้วนางห่างจากปลายเล็บประมาณ 4-5 มม. แล้วเช็ดเลือดหยดแรกออกด้วยสำลีแห้ง - ค่อยๆบีบไล่เลือดไปที่บริเวณปลายนิ้ว ให้เข้า ไปใน capillary tube ให้ได้ 2 หลอด (ปริมาณ~ 3/4 ของหลอด) - ใช้สำลีกดห้ามเลือดบริเวณปลายนิ้ว ประมาณ 5 นาที

12 Blood sample preparation
2. นำเลือดใส่ลงในหลอดบรรจุสารตัวอย่าง (eppendorf tube)

13 Blood sample preparation

14 Thalassemia screening test
1. DCIP precipitation test ใช้ทดสอบ Hb ผิดปกติชนิดต่างๆ โครงสร้างของ Hb E ไม่แข็งแรง Hb E ทำปฏิกิริยากับ DCIP reagent ได้ง่ายและเร็วกว่า Hb ชนิดอื่น ถูกออกซิไดซ์ได้เป็นโกลบินสายเดี่ยวที่มีหมู่ sulfhydryl (-SH) เกิดเป็นตะกอน ให้ผลบวกกับ test นี้ 100% Hb H(4), Hb Bart’s(4) อาจทำให้ขุ่นเล็กน้อยได้

15 Thalassemia screening test
1. DCIP precipitation test : Kit reagent ที่ใช้ KKU-DCIP-Clear Reagent Kit KKU-DCIP reagent 2 ml Clearing solution

16 Thalassemia screening test
1. DCIP precipitation test : วิธีที่ทดสอบ ใช้ automatic pipette ดูดเลือด 20 μl ใส่ใน KKU-DCIP reagent 2 ml ผสมโดยพลิกกลับไปมา 2-3 รอบให้เข้ากัน แช่ใน water bath ที่ 37°C นาน 15 นาที เติม clearing solution 20 μl แล้วทิ้งไว้ 3 นาที จึงอ่านผล

17 Thalassemia screening test
2. DCIP precipitation test : การอ่านผล ผลบวก สารละลายขุ่น ผลลบ สารละลายใส

18 Thalassemia screening test
2. One tube osmotic fragility test (OF Test) วัดปริมาณการแตกของเม็ดเลือดแดงใน hypotonic saline solution (0.36% NaCl) การแตกของเม็ดเลือดแดง(Osmotic fragility) ขึ้นอยู่กับ อัตราส่วนของพื้นที่ผนังเซลล์ต่อปริมาตรเซลล์ หรือ surface-to-volume ratio เม็ดเลือดแดงปกติ จะแตกหมด แต่เม็ดเลือดแดงของผู้ป่วย หรือผู้ที่เป็นพาหะ จะแตกไม่หมด ไม่สามารถแยกธาลัสซีเมียออกจากภาวะโลหิตจางจากการธาตุเหล็กได้

19 Thalassemia screening test
2. One tube osmotic fragility test (OF Test) : ผลการทดสอบ Positive ผู้ป่วยโรค thalassemia และ homozygous Hb E ให้ผลบวก 100% β-thalassemia trait ให้ผลบวก 90% α-thalassemia 1 trait ให้ผลบวก 93% พบในภาวะอื่นที่เม็ดเลือดแดงมีการติดสีจางเช่นเดียวกับโรคธาลัสซีเมีย เช่น ภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก False Positive มีผลบวกลวงกับคนปกติ 5%

20 Thalassemia screening test
2. One tube osmotic fragility test (OF Test) : วิธีทดสอบ ใช้ automatic pipette ดูดเลือด 20 μl ใส่ใน KKU-OF reagent 2 ml ผสมโดยพลิกกลับไปมา 2-3 รอบให้เข้ากัน ตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง 30 นาที แล้วอ่านผล

21 Thalassemia screening test
2. One tube osmotic fragility test (OF Test) : การอ่านผล ผลบวก สารละลายขุ่น ส่วนใหญ่ของเม็ดเลือดแดงผู้ป่วยแตกไม่หมด ผลลบ สารละลายใสสีแดง เม็ดเลือดแดงคนปกติแตกหมด

22 Confirmatory test Hemoglobin typing
Iron studies : serum ferritin, serum iron, total iron binding capacity (TIBC)

23 Thalassemia screening test
OF + DCIP DCIP positive OF positive DCIP negative OF negative DCIP negative แยกจากภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก Hb typing normal

24 Thalassemia screening test
MCV + DCIP DCIP positive MCV < 80 fL DCIP negative MCV > 80 fL DCIP negative แยกจากภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก Hb typing normal

25 Thalassemia screening test
บันทึกผลการทดลองของ subject และ unknown ลงในคู่มือปฏิบัติการของตนเอง ดูค่าดัชมีเม็ดเลือดแดงของ unknown จากอาจารย์ประจำห้อง แล้วแปรผล กรอกข้อมูลลงในตารางบันทึกผลการทดลองประจำห้อง (ตามความสมัครใจ)

26 Timeline 8.00 – 8.40 น. Talk lab และทำ lab
8.40 – 8.50 น แบบฝึกหัด (ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มละ 2 โต๊ะ+แจกใบงานชุดที่ 1) 8.50 – 9.15 น ให้นักศึกษาในแต่ละห้องปฏิบัติการนำแบบฝึกหัดมา อภิปรายร่วมกัน 9.15 – น. KSA blood protein and hemoglobin


ดาวน์โหลด ppt Thalassemia screening test

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google